SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
การจัดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ




                                                       รร.
                                                   ษ์)ม
        การจัดหมู่หนังสือ คือ การจัดแยกหนังสืออกเป็นกลุ่มหรือเป็นพวก ๆ ตามเนื้อหาวิชา
(Subject) แล้วกําหนดสัญลักษณ์ (Notation) ให้กับหนังสือแต่ละเล่มนัน เพื่อให้เป็นที่
                                                                 ้
           ั
                                         ารัก
สังเกตุได้ชดเจนว่าเป็นหนังสือประเภทใด หนังสือที่มีเนื้อหาอย่างเดียวกันจะมีสัญลักษณ์ที่เหมือนกัน
นอกจากจะแบ่งตามเนื้อหาวิชาแล้ว หนังสือบางประเภทยังแบ่งออกตามลักษณะการประพันธ์อีกด้วย
                             ณ
เช่น หนังสือวรรณคดี จะแบ่งออกเป็นร้อยกรอง บทละคร ความเรียง เป็นต้น
                         บรร

        การจัดหมู่หนังสือตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวจะมีประโยชน์ คือ ทําให้หนังสือเนือหาเดียวกัน
                                                                              ้
อยูด้วยกันหรือใกล้เคียงกัน ทําให้สามารถค้นหาเรืองที่ตองการได้สะดวกรวดเร็ว
   ่                                           ่     ้
         ยฯ(


และกว้างขวางเพราะหนังสือประเภทเดียวกันจะอยู่ดวยกัน ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ
                                             ้
ของผู้แต่งคนใดหรือ ชือเรืองอะไร การจัดหมู่หนังสือมีอยูหลายระบบ
                     ่ ่                              ่
    ักวิท




ห้องสมุดอาจเลือกระบบใดระบบหนึ่งที่เหมาะสมได้ เช่น
ระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification)
สำน




ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification)
และอื่น ๆ ในทีนี้จะกล่าวเฉพาะการจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้
              ่
-2-คู่มือการจัดหมู่หนังสือ




                                                                      รร.
การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้




                                                                  ษ์)ม
                                               ระบบทศนิยมของดิวอี้ เป็นระบบการจัดหมูหนังสือทีนยม
                                                                                    ่        ่ิ

                                                       ารัก
                                      กันอย่างแพร่หลายในห้องสมุดทัวไป โดยเฉพาะห้องสมุดประชาชน
                                                                  ่
                                      ห้องสมุดโรงเรียน และห้องสมุดวิทยาลัย ระบบการจัดหมูนคดขึน
                                      โดย เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey} 1851-1931)
                                        ณ                                               ่ ี้ ิ ้


                                      บรรณารักษ์ชาวอเมริกน และเริ่มรูจกและใช้กนอย่างแพร่หลาย
                                                         ั           ้ั       ั
                                    บรร

                                      ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1876
                  ยฯ(
             ักวิท
สำน




           การจัดหมู่ตามระบบนี้จะแบ่งความรู้หรือหนังสือออกอย่างกว้าง ๆ เป็น 10 หมวดใหญ่ (Main
  Classes) ก่อน และใช้ตัวเลข 3 หลักเป็นสัญลักษณ์แทนแต่ละหมวดนั้น โดยเริ่มตั้งแต่ 000, 100, 200, 300,
  400, 500, 600, 700, 800 และ 900 ต่อมาในแต่ละหมวดจะถูกแบ่งเป็นหมวดย่อย (Divisions) หมู่
  (Section) และหมู่ย่อยตามลําดับ และตัวเลขหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนหมวดหมู่เหล่านั้นก็จะมีการแบ่งย่อยละเอียด
  ลงไปเรื่อย ๆ เช่นกัน จนตัวเลขหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนหมวดหมู่เหล่านั้นก็จะมีการแบ่งย่อยละเอียดลงไปเรื่อย ๆ
-3-         คู่มือการจัดหมู่หนังสือ




                                                     รร.
การแบ่งหมู่ระบบทศนิยมของดิวอี้ จากหมวดใหญ่ดังนี้




                                                 ษ์)ม
      การแบ่งครั้งที่ 1 ความรู้ 10 หมวดใหญ่ มีดังนี้


          100 ปรัชญา (Philosophy)
                           ณ           ารัก
             200 ศาสนา (Religion)
                       บรร

                300 (สังคมศาสตร์ (Social Sciences)
        ยฯ(


                   400 ภาษาศาสตร์ (Language)

                       500 วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ (Science)
   ักวิท




                          600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied
สำน




                             700 ศิลปะและนันทนาการ (Art)

                                800 วรรณคดี (Literature)

                                    900 ภูมศาสตร์และประวัตศาสตร์ (History)
                                           ิ              ิ
-4-คู่มือการจัดหมู่หนังสือ




                                                           รร.
การแบ่งครั้งที่ 2 แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อย




                                                       ษ์)ม
    ตัวอย่าง หมวดวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งได้ ดังนี้
                 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Science)
                         610 แพทย์ศาสตร์
                         620 วิศวกรรมศาสตร์
                                ณ           ารัก
                         630 เกษตรศาสตร์
                            บรร

                         640 คหกรรมศาสตร์
                         650 ธุรกิจและการจัดการธุรกิจ
             ยฯ(


                         660 อุตสาหกรรมศิลป์
                         670 โรงงานอุตสาหกรรม
        ักวิท




                         680 โรงงานผลิตสิ่งเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ
                         690 การก่อสร้าง
สำน
-5-      คู่มือการจัดหมู่หนังสือ




                                                   รร.
การแบ่งครั้งที่ 3 แต่ละหมวดย่อย แบ่งออกเป็น 10 หมู่




                                               ษ์)ม
      ตัวอย่าง
                 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์
                        610 แพทย์ศาสตร์
                            ณ          ารัก
                               611 กายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์
                               612 สรีรวิทยาของมนุษย์
                        บรร

                               613 อนามัยส่วนบุคคล
                               614 สาธารณสุขศาสตร์
        ยฯ(


                               615 เภสัชศาสตร์ อายุรศาสตร์
                               616 โรคต่าง ๆ
   ักวิท




                               617 ศัลยกรรม
                               618 สูตนรีเวชวิทยา
                                      ิ
สำน




                               619 การทดลองยากับสัตว์ต่าง ๆ
-6-คู่มือการจัดหมู่หนังสือ




                                                             รร.
การแบ่งครั้งที่ 4 แต่ละหมู่แบ่งออกเป็นหมู่ย่อย โดยเลขหมู่จะเป็นเลขทศนิยม




                                                         ษ์)ม
             ตัวอย่าง
             614 สาธารณสุขศาสตร์


                        614.2 การควบคุมสิ่งบริโภค
                                    ณ            ารัก
                        614.1 การรองรับการเกิด การตาย


                        614.3 การควบคุมโรคติดต่อ ที่เกิดจาก แมลง นก และสัตว์อื่น ๆ
                                บรร

                        614.5 การควบคุมโรคเฉพาะอย่าง
                               614.51 โรคไข้หวัดใหญ่ อหิวาต์ และโรคอื่น ๆ ที่เกิดจากเชื้อ
               ยฯ(


             แบคทีเรีย
                               615.52 ไข้ผุพอง โรคขาดวิตามิน
          ักวิท




                               615.53 โรคที่เกิดจากโปรโตซัว เช่น ไข้มาลาเรีย
                               615.54 โรคอื่น ๆ
สำน




                                       615.541 ไข้เหลือง
                                       615.542 วัณโรค
                                       615.543 ไอกรน
                                       615.544 คางทูม
                                           ฯลฯ
-7-       คู่มือการจัดหมู่หนังสือ




                                                         รร.
ขั้นตอนการจัดหมู่หนังสือ




                                                     ษ์)ม
        1. แยกหนังสือที่จะจัดหมวดหมูหรือวิเคราะห์เลขหมู่ออกเป็นกลุ่มวิชากว้าง ๆ โดยดูจากชื่อ
                                    ่
เรื่องและสารบัญของหนังสือ เช่น การจัดกลุ่มหนังสือสังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์และวิทยาศาสตร์
เพื่อจะได้ดําเนินการวิเคราะห์ไปทีกลุ่มวิชา
                                              ารัก
        2. นําหนังสือไปตรวจสอบกับบัตรรายการหรือในฐานข้อมูล ว่ามีฉบับที่เหมือนกันกับที่
                               ณ
ห้องสมุดมีอยูแล้วหรือไม่ ถ้าหนังสือนันมีบตรรายการแล้วหรือมีข้อมูลในฐานข้อมูลแล้ว ให้เขียนเลข
             ่                       ้ ั
                           บรร

เรียกหนังสือไว้ดวยดินสอทีหน้าปกใน นําบัตรแจ้งหมู่ของหนังสือนั้นมาพิมพ์เลขทะเบียนเพิ่ม แล้ว
                ้        ่
ดําเนินการกับหนังสือนันในขันต่อไป โดยไม่ต้องวิเคราะห์เลขหมู่และทําบัตรรายการให้อก
                      ้ ้                                                       ี
         ยฯ(


        3. พิจารณาหนังสือที่จะวิเคราะห์เลขหมู่โดยละเอียด เพือให้ทราบว่าเป็นหนังสือเกียวกับ
                                                            ่                        ่
เรื่องอะไรและมีเนื้อหาอะไร โดยพิจารณาจากสิ่งต่อไปนี้
    ักวิท




               3.1 ชื่อเรื่อง โดยทั่วไปชือเรื่องมักเป็นชือที่มีความหมาย แสดงถึงเรืองราวภายใน
                                         ่               ่                        ่
หนังสือนัน ๆ เช่น “การปลูกผัก” จะเป็นเรืองราวการปลูกผักต่าง ๆ แต่บางครั้งชือหนังสือไม่ชวยให้
         ้                              ่                                  ่           ่
สำน




ผู้อ่านสามารถระบุได้ว่าเป็นเรืองเกี่ยวกับอะไร เช่น เรื่อง “เก็บตก” หรือ ตามใจผู้เขียน” ดังนัน
                              ่                                                             ้
บรรณารักษ์ดูรายชื่อเรืองอย่างเดียวอาจกําหนดเนือหาของหนังสือผิดไป จึงต้องพิจารณาจากส่วน
                      ่                       ้
อื่น ๆ ของหนังสือประกอบด้วย คือ
               3.2 คํานํา จะทําให้เข้าใจจุดมุ่งหมายของผู้แต่งและได้ทราบขอบเขตของเรื่อง
               3.3 สารบัญ เป็นส่วนที่บอกชื่อบทต่าง ๆ ของหนังสือ
-8-คู่มือการจัดหมู่หนังสือ


                 3.4 เนื้อเรื่อง อ่านเนือเรืองพอให้เข้าใจว่าเนื้อหาของหนังสือควรจะจัดเข้าในหมวดใด
                                        ้ ่
          4. เมื่อทราบว่าหนังสือเล่มนั้นมีเนื้อหาสาระอะไรแล้ว ให้พิจารณาว่าเรื่องนั้น ๆ ควรจะอยู่
ในหมวดใด นันคือ กําหนดเลขหมู่ให้หนังสือ โดยทําได้ดงนี้
           ่                                      ั




                                                                   รร.
                 4.1 เปิดดรรชนีสัมพันธ์ตามหัวข้อเรือง (ที่ได้จากการพิจารณาในข้อ 3) เพื่อหา
                                                   ่
เลขหมู่กว้าง ๆ




                                                               ษ์)ม
                 4.2 นําเลขหมู่ที่ได้จากดรรชนีสัมพันธ์ ไปตรวจสอบกับแผนการจัดหมู่
(Schedules) ดูคําอธิบายหลังเลขหมูนั้น ถ้ายังไม่ตรงกับเนื้อหาหนังสือทีเดียว ให้ดูเลขหมู่
                                 ่
ใกล้เคียงที่มีคาอธิบายตรงกับเนื้อหามากที่สุด
               ํ
                                                    ารัก
                 4.3 อาจต้องใช้ตารางเลข (Table) เพื่อสร้างเลขหมู่ให้มีความเฉพาะเจาะจงหรือ
                                        ณ
ตรงกับเนื้อหาตามคําอธิบาย
                                    บรร

                 4.4 เมือได้เลขหมู่แล้ว ให้เขียนเลขหมู่นั้นพร้อมอักษรตัวแรกของชื่อผูแต่ง
                        ่                                                           ้
                                (หนังสือภาษาไทย) หรืออักษรชือสกุลผู้แต่ง
                                                            ่
                 ยฯ(


                                (หนังสือต่างประเทศ)
                                เลขผู้แต่ง (เลขประจําตัวผูแต่งหนังสือภาษาไทย)
                                                          ้
            ักวิท




                                หรือเลขนามสกุลผู้แต่ง
                                (เลขประจําชือสกุลผูแต่งหนังสือต่างประเทศ)
                                            ่      ้
 สำน




                                อักษรตัวแรกของชื่อหนังสือ
-9-          คู่มือการจัดหมู่หนังสือ




การจัดหมู่หนังสือบางประเภท




                                                          รร.
          นอกจากการให้เลขหมู่หนังสือแล้ว หนังสือบางประเภท ได้แก่ หนังสืออ้างอิง หนังสือ




                                                      ษ์)ม
แบบเรียน หนังสือคู่มือครู หนังสือนวนิยาย และหนังสือเด็กและเยาวชน จะต้องมีอักษรย่อแจ้ง
ประเภทของหนังสือกํากับเหนือเลขหมู่ดังนี้

                                            ารัก
          1. หนังสืออ้างอิง ใช้อักษร อ หรือ R กํากับไว้เหนือเลขหมู่หนังสือ
          2. หนังสือคูมือครู ใช้อักษร ค กํากับไว้เหนือเลขหมู่
                      ่
                               ณ
          3. หนังสือนวนิยาย ใช้อักษร น (หรือ Fic สําหรับหนังสือภาษาต่างประเทศ) เป็น
                           บรร

สัญลักษณ์แทนเลขหมู่
          4. หนังสือสําหรับเด็กและเยาวชน ถ้าเป็นหนังสือสารคดีให้เลขหมู่เช่นเดียวกันกับหนังสือ
         ยฯ(


สารคดีโดยทัวไป แล้วเติม ย หรือ J ไว้เหนือเลขหมู่ เพื่อแสดงว่าเป็นหนังสือเยาวชน แต่ถ้าเป็น
           ่
หนังสือนิทานหรือหนังสือภาพง่าย ๆ ใช้ ย (หรือ E สําหรับหนังสือต่างประเทศ) แทนเลขหมู่
    ักวิท




หนังสือ
สำน
-10-่มือการจัดหมู่หนังสือ
                                                        คู




การจัดเรียงหนังสือบนชั้น (ระบบทศนิยมของดิวอี้)




                                                                     รร.
           หนังสือในห้องสมุดส่วนใหญ่จะมีทั้งหนังสือภาษาไทย และภาษาอังกฤษการจัดเรียงหนังสือ




                                                                 ษ์)ม
ต่างภาษากัน บางห้องสมุดจัดเรียงรวมกันแต่บางห้องสมุดจะจัดเรียงแยกกัน และการเรียงทั้งสอง
แบบยึดหลักการเรียงดังต่อไปนี้


สู่ชั้นล่าง ดังตัวอย่าง
                                   ่
                                        ณ             ารัก
           1. เรียงหนังสือจากเลขหมูน้อยไปหาเลขหมู่มาก จากซ้ายไปขวาทีละช่องชั้น จากชั้นบนลง
                                    บรร
                  004.1                        005                        005.539
                   ก17ว                      ค231ก                          ก526ห
                    ยฯ(


                  004.5                     005.349                       005.845
               ักวิท



                ว254ส                         ด547น                       ว254ส
           2. หนังสือทีเ่ ลขหมู่เหมือนกัน ให้เรียงตามเลขผู้แต่ง คือ ถ้าตัวอักษรของผู้แต่งเหมือนกัน
ให้ดูที่เลขประจําตัวผู้แต่ง ถ้าเลขประจําตัวผูแต่งเลขเดียวกันให้ดที่อักษรตัวแรกของชื่อเรือง ดัง
                                             ้                  ู                       ่
 สำน




ตัวอย่าง


            150                           150                                    150
           จ210ก                         จ341จ                               จ452ห
-11-        คู่มือการจัดหมู่หนังสือ




        3. หนังสือทีมีหลายเล่มจบ หรือหนังสือทีเ่ ป็นชุด ให้เรียงตามลําดับ เล่มที่ หรือเลขชุด
                    ่
ดังตัวอย่าง




                                                       รร.
                                                                                         750
    750                        750                            750




                                                   ษ์)ม
                                                                                         อ221ก
    อ221ก                      อ221ก                          อ221ก
    ล.1                        ล.1 ฉ.2                        ล.2

                    ่
                             ณ           ารัก
        4. หนังสือทีมีหลายฉบับ ให้เรียงตามลําดับฉบับที่ปรากฏใต้เลขหนังสือนัน ดังตัวอย่าง
                                                                           ้
                         บรร
    530                                  530                                     530

    ร111ด                                ร111ด                                   ร111ด
                                            2                                      3
         ยฯ(
    ักวิท
สำน
-12-่มือการจัดหมู่หนังสือ
                                                คู




                                                             รร.
                                   บรรณานุกรม




                                                         ษ์)ม
พัชรา ทิพยมหิงษ์. (2548). สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า. ฉะเชิงเทรา :
                                              ารัก
       คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
ไพรสิทธิ์ ศรีสุทธิเกิดพร, วาฑิตา เอื้อเจริญ, และวัชรี ปั้นนิยม. (2551).
                                   ณ
       สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า. ฉะเชิงเทรา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
                               บรร

       มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
อุทิน รวยอารี. (2538). สารนิเทศเพือการศึกษาค้นคว้า. ฉะเชิงเทรา :
                                  ่
                ยฯ(


       สถาบันฉะเชิงเทรา.
           ักวิท



เอื้อมพร ทัศนประสิทธิผล. (2542). สารนิเทศเพือการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ:
                                            ่
       สุวีรยาสาส์น
            ิ
 สำน
-13-         คู่มือการจัดหมู่หนังสือ




    คู่มือการจัดหมู่หนังสือ




                                           รร.
                                       ษ์)ม
  ที่ปรึกษา :
     นายเมธี พรมศิลา                  ผู้อํานวยการ


     นางสุรัตน์ สุทธกุล
                    ณ       ารัก
     นายไพรสิทธิ์ ศรีสุทธิเกิดพร      รองผู้อานวยการ
                                             ํ
                                      รองผู้อานวยการ
                                             ํ
                บรร

     ผู้เรียบเรียง : วาสนา เทียนกุล
      ยฯ(


     ออกแบบ        : วัชรี ปั้นนิยม
                สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 ักวิท




            มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
            422 ถ.มรุพงษ์ ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000
สำน




            โทร., โทรสาร 0 3851 7013
-14-่มือการจัดหมู่หนังสือ
                                                 คู




                                       คํานํา



                                                              รร.
                                                          ษ์)ม
       เอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ ผู้เขียนเรียบเรียงขึ้น
เพื่อใช้ประกอบการสอนครูบรรณารักษ์ และนักเรียนช่วยงานห้องสมุด และบุคคลทีมี
                                                                       ่
                                   ณ ่         ารัก
ความสนใจที่จะปฏิบัติงานในห้องสมุด เพือเป็นแนวคิดและแนวปฏิบัติ


       ผู้เรียบเรียงขอขอบพระคุณท่านเจ้าของหนังสือทุกเล่มที่นามาอ้างอิง และขอบคุณ
                                                            ํ
                               บรร

“ครูหม่อง” ที่จัดทํารูปเล่ม เอกสารฉบับนี้มีประโยชน์ยงมาก ขอยกความดีให้กับ
                                                    ั
ครู-อาจารย์ ผู้ประสิทธิประสาทวิชาให้
                       ์
                ยฯ(
           ักวิท




                                 ด้วยความเคารพอย่างสูง
 สำน




                                       วาสนา เทียนกุล
-15-   คู่มือการจัดหมู่หนังสือ




                   รร.
               ษ์)ม
         ารัก
          ณ
      บรร
      ยฯ(
 ักวิท
สำน

More Related Content

Viewers also liked

Borders2
Borders2Borders2
Borders2jprimos
 
World's Largest Wind Farms
World's Largest Wind FarmsWorld's Largest Wind Farms
World's Largest Wind FarmsWindTurbines.net
 
Fantastic Wind Turbine Locations
Fantastic Wind Turbine LocationsFantastic Wind Turbine Locations
Fantastic Wind Turbine LocationsWindTurbines.net
 
Top 10 Largest Wind Turbine Manufacturers
Top 10 Largest Wind Turbine ManufacturersTop 10 Largest Wind Turbine Manufacturers
Top 10 Largest Wind Turbine ManufacturersWindTurbines.net
 
How Wind Turbines Generate Electricity
How Wind Turbines Generate ElectricityHow Wind Turbines Generate Electricity
How Wind Turbines Generate ElectricityWindTurbines.net
 
Comparing Wind Power and Other Renewable Energy Sources
Comparing Wind Power and Other Renewable Energy SourcesComparing Wind Power and Other Renewable Energy Sources
Comparing Wind Power and Other Renewable Energy SourcesWindTurbines.net
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Lib Rru
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Lib Rru
 
โครงการTv..
โครงการTv..โครงการTv..
โครงการTv..Lib Rru
 
Trabajo Extraclasefc 5
Trabajo Extraclasefc 5Trabajo Extraclasefc 5
Trabajo Extraclasefc 5teresaarguello
 
Proyecto Canaima Educativo
Proyecto Canaima EducativoProyecto Canaima Educativo
Proyecto Canaima EducativoRaúl Araque
 
Liliana valentina galindo vesga
Liliana valentina galindo vesgaLiliana valentina galindo vesga
Liliana valentina galindo vesgalily_g_v
 
10 animais mais fieis
10 animais mais fieis10 animais mais fieis
10 animais mais fieisMeu Amigo Pet
 

Viewers also liked (20)

Borders2
Borders2Borders2
Borders2
 
World's Largest Wind Farms
World's Largest Wind FarmsWorld's Largest Wind Farms
World's Largest Wind Farms
 
History of Wind Power
History of Wind PowerHistory of Wind Power
History of Wind Power
 
Fantastic Wind Turbine Locations
Fantastic Wind Turbine LocationsFantastic Wind Turbine Locations
Fantastic Wind Turbine Locations
 
Top 10 Largest Wind Turbine Manufacturers
Top 10 Largest Wind Turbine ManufacturersTop 10 Largest Wind Turbine Manufacturers
Top 10 Largest Wind Turbine Manufacturers
 
How Wind Turbines Generate Electricity
How Wind Turbines Generate ElectricityHow Wind Turbines Generate Electricity
How Wind Turbines Generate Electricity
 
Comparing Wind Power and Other Renewable Energy Sources
Comparing Wind Power and Other Renewable Energy SourcesComparing Wind Power and Other Renewable Energy Sources
Comparing Wind Power and Other Renewable Energy Sources
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
โครงการTv..
โครงการTv..โครงการTv..
โครงการTv..
 
Fabric Patterns
Fabric PatternsFabric Patterns
Fabric Patterns
 
Trabajo Extraclasefc 5
Trabajo Extraclasefc 5Trabajo Extraclasefc 5
Trabajo Extraclasefc 5
 
Sarcina 1
Sarcina 1Sarcina 1
Sarcina 1
 
Vent
VentVent
Vent
 
Proyecto Canaima Educativo
Proyecto Canaima EducativoProyecto Canaima Educativo
Proyecto Canaima Educativo
 
Liliana valentina galindo vesga
Liliana valentina galindo vesgaLiliana valentina galindo vesga
Liliana valentina galindo vesga
 
Photographic work
Photographic workPhotographic work
Photographic work
 
10 animais mais fieis
10 animais mais fieis10 animais mais fieis
10 animais mais fieis
 
Presentacion acl low
Presentacion acl lowPresentacion acl low
Presentacion acl low
 
Pogled u zbirku
Pogled u zbirkuPogled u zbirku
Pogled u zbirku
 

Similar to book532

จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาkrujee
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาkrujee
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือsutthirat
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือkrujee
 
วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์kwanboonpaitoon
 

Similar to book532 (6)

จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือ
 
1
11
1
 
วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์
 

book532

  • 1. การจัดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ รร. ษ์)ม การจัดหมู่หนังสือ คือ การจัดแยกหนังสืออกเป็นกลุ่มหรือเป็นพวก ๆ ตามเนื้อหาวิชา (Subject) แล้วกําหนดสัญลักษณ์ (Notation) ให้กับหนังสือแต่ละเล่มนัน เพื่อให้เป็นที่ ้ ั ารัก สังเกตุได้ชดเจนว่าเป็นหนังสือประเภทใด หนังสือที่มีเนื้อหาอย่างเดียวกันจะมีสัญลักษณ์ที่เหมือนกัน นอกจากจะแบ่งตามเนื้อหาวิชาแล้ว หนังสือบางประเภทยังแบ่งออกตามลักษณะการประพันธ์อีกด้วย ณ เช่น หนังสือวรรณคดี จะแบ่งออกเป็นร้อยกรอง บทละคร ความเรียง เป็นต้น บรร การจัดหมู่หนังสือตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวจะมีประโยชน์ คือ ทําให้หนังสือเนือหาเดียวกัน ้ อยูด้วยกันหรือใกล้เคียงกัน ทําให้สามารถค้นหาเรืองที่ตองการได้สะดวกรวดเร็ว ่ ่ ้ ยฯ( และกว้างขวางเพราะหนังสือประเภทเดียวกันจะอยู่ดวยกัน ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ ้ ของผู้แต่งคนใดหรือ ชือเรืองอะไร การจัดหมู่หนังสือมีอยูหลายระบบ ่ ่ ่ ักวิท ห้องสมุดอาจเลือกระบบใดระบบหนึ่งที่เหมาะสมได้ เช่น ระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification) สำน ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) และอื่น ๆ ในทีนี้จะกล่าวเฉพาะการจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ ่
  • 2. -2-คู่มือการจัดหมู่หนังสือ รร. การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ ษ์)ม ระบบทศนิยมของดิวอี้ เป็นระบบการจัดหมูหนังสือทีนยม ่ ่ิ ารัก กันอย่างแพร่หลายในห้องสมุดทัวไป โดยเฉพาะห้องสมุดประชาชน ่ ห้องสมุดโรงเรียน และห้องสมุดวิทยาลัย ระบบการจัดหมูนคดขึน โดย เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey} 1851-1931) ณ ่ ี้ ิ ้ บรรณารักษ์ชาวอเมริกน และเริ่มรูจกและใช้กนอย่างแพร่หลาย ั ้ั ั บรร ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1876 ยฯ( ักวิท สำน การจัดหมู่ตามระบบนี้จะแบ่งความรู้หรือหนังสือออกอย่างกว้าง ๆ เป็น 10 หมวดใหญ่ (Main Classes) ก่อน และใช้ตัวเลข 3 หลักเป็นสัญลักษณ์แทนแต่ละหมวดนั้น โดยเริ่มตั้งแต่ 000, 100, 200, 300, 400, 500, 600, 700, 800 และ 900 ต่อมาในแต่ละหมวดจะถูกแบ่งเป็นหมวดย่อย (Divisions) หมู่ (Section) และหมู่ย่อยตามลําดับ และตัวเลขหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนหมวดหมู่เหล่านั้นก็จะมีการแบ่งย่อยละเอียด ลงไปเรื่อย ๆ เช่นกัน จนตัวเลขหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนหมวดหมู่เหล่านั้นก็จะมีการแบ่งย่อยละเอียดลงไปเรื่อย ๆ
  • 3. -3- คู่มือการจัดหมู่หนังสือ รร. การแบ่งหมู่ระบบทศนิยมของดิวอี้ จากหมวดใหญ่ดังนี้ ษ์)ม การแบ่งครั้งที่ 1 ความรู้ 10 หมวดใหญ่ มีดังนี้ 100 ปรัชญา (Philosophy) ณ ารัก 200 ศาสนา (Religion) บรร 300 (สังคมศาสตร์ (Social Sciences) ยฯ( 400 ภาษาศาสตร์ (Language) 500 วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ (Science) ักวิท 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied สำน 700 ศิลปะและนันทนาการ (Art) 800 วรรณคดี (Literature) 900 ภูมศาสตร์และประวัตศาสตร์ (History) ิ ิ
  • 4. -4-คู่มือการจัดหมู่หนังสือ รร. การแบ่งครั้งที่ 2 แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อย ษ์)ม ตัวอย่าง หมวดวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งได้ ดังนี้ 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Science) 610 แพทย์ศาสตร์ 620 วิศวกรรมศาสตร์ ณ ารัก 630 เกษตรศาสตร์ บรร 640 คหกรรมศาสตร์ 650 ธุรกิจและการจัดการธุรกิจ ยฯ( 660 อุตสาหกรรมศิลป์ 670 โรงงานอุตสาหกรรม ักวิท 680 โรงงานผลิตสิ่งเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ 690 การก่อสร้าง สำน
  • 5. -5- คู่มือการจัดหมู่หนังสือ รร. การแบ่งครั้งที่ 3 แต่ละหมวดย่อย แบ่งออกเป็น 10 หมู่ ษ์)ม ตัวอย่าง 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ 610 แพทย์ศาสตร์ ณ ารัก 611 กายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ 612 สรีรวิทยาของมนุษย์ บรร 613 อนามัยส่วนบุคคล 614 สาธารณสุขศาสตร์ ยฯ( 615 เภสัชศาสตร์ อายุรศาสตร์ 616 โรคต่าง ๆ ักวิท 617 ศัลยกรรม 618 สูตนรีเวชวิทยา ิ สำน 619 การทดลองยากับสัตว์ต่าง ๆ
  • 6. -6-คู่มือการจัดหมู่หนังสือ รร. การแบ่งครั้งที่ 4 แต่ละหมู่แบ่งออกเป็นหมู่ย่อย โดยเลขหมู่จะเป็นเลขทศนิยม ษ์)ม ตัวอย่าง 614 สาธารณสุขศาสตร์ 614.2 การควบคุมสิ่งบริโภค ณ ารัก 614.1 การรองรับการเกิด การตาย 614.3 การควบคุมโรคติดต่อ ที่เกิดจาก แมลง นก และสัตว์อื่น ๆ บรร 614.5 การควบคุมโรคเฉพาะอย่าง 614.51 โรคไข้หวัดใหญ่ อหิวาต์ และโรคอื่น ๆ ที่เกิดจากเชื้อ ยฯ( แบคทีเรีย 615.52 ไข้ผุพอง โรคขาดวิตามิน ักวิท 615.53 โรคที่เกิดจากโปรโตซัว เช่น ไข้มาลาเรีย 615.54 โรคอื่น ๆ สำน 615.541 ไข้เหลือง 615.542 วัณโรค 615.543 ไอกรน 615.544 คางทูม ฯลฯ
  • 7. -7- คู่มือการจัดหมู่หนังสือ รร. ขั้นตอนการจัดหมู่หนังสือ ษ์)ม 1. แยกหนังสือที่จะจัดหมวดหมูหรือวิเคราะห์เลขหมู่ออกเป็นกลุ่มวิชากว้าง ๆ โดยดูจากชื่อ ่ เรื่องและสารบัญของหนังสือ เช่น การจัดกลุ่มหนังสือสังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เพื่อจะได้ดําเนินการวิเคราะห์ไปทีกลุ่มวิชา ารัก 2. นําหนังสือไปตรวจสอบกับบัตรรายการหรือในฐานข้อมูล ว่ามีฉบับที่เหมือนกันกับที่ ณ ห้องสมุดมีอยูแล้วหรือไม่ ถ้าหนังสือนันมีบตรรายการแล้วหรือมีข้อมูลในฐานข้อมูลแล้ว ให้เขียนเลข ่ ้ ั บรร เรียกหนังสือไว้ดวยดินสอทีหน้าปกใน นําบัตรแจ้งหมู่ของหนังสือนั้นมาพิมพ์เลขทะเบียนเพิ่ม แล้ว ้ ่ ดําเนินการกับหนังสือนันในขันต่อไป โดยไม่ต้องวิเคราะห์เลขหมู่และทําบัตรรายการให้อก ้ ้ ี ยฯ( 3. พิจารณาหนังสือที่จะวิเคราะห์เลขหมู่โดยละเอียด เพือให้ทราบว่าเป็นหนังสือเกียวกับ ่ ่ เรื่องอะไรและมีเนื้อหาอะไร โดยพิจารณาจากสิ่งต่อไปนี้ ักวิท 3.1 ชื่อเรื่อง โดยทั่วไปชือเรื่องมักเป็นชือที่มีความหมาย แสดงถึงเรืองราวภายใน ่ ่ ่ หนังสือนัน ๆ เช่น “การปลูกผัก” จะเป็นเรืองราวการปลูกผักต่าง ๆ แต่บางครั้งชือหนังสือไม่ชวยให้ ้ ่ ่ ่ สำน ผู้อ่านสามารถระบุได้ว่าเป็นเรืองเกี่ยวกับอะไร เช่น เรื่อง “เก็บตก” หรือ ตามใจผู้เขียน” ดังนัน ่ ้ บรรณารักษ์ดูรายชื่อเรืองอย่างเดียวอาจกําหนดเนือหาของหนังสือผิดไป จึงต้องพิจารณาจากส่วน ่ ้ อื่น ๆ ของหนังสือประกอบด้วย คือ 3.2 คํานํา จะทําให้เข้าใจจุดมุ่งหมายของผู้แต่งและได้ทราบขอบเขตของเรื่อง 3.3 สารบัญ เป็นส่วนที่บอกชื่อบทต่าง ๆ ของหนังสือ
  • 8. -8-คู่มือการจัดหมู่หนังสือ 3.4 เนื้อเรื่อง อ่านเนือเรืองพอให้เข้าใจว่าเนื้อหาของหนังสือควรจะจัดเข้าในหมวดใด ้ ่ 4. เมื่อทราบว่าหนังสือเล่มนั้นมีเนื้อหาสาระอะไรแล้ว ให้พิจารณาว่าเรื่องนั้น ๆ ควรจะอยู่ ในหมวดใด นันคือ กําหนดเลขหมู่ให้หนังสือ โดยทําได้ดงนี้ ่ ั รร. 4.1 เปิดดรรชนีสัมพันธ์ตามหัวข้อเรือง (ที่ได้จากการพิจารณาในข้อ 3) เพื่อหา ่ เลขหมู่กว้าง ๆ ษ์)ม 4.2 นําเลขหมู่ที่ได้จากดรรชนีสัมพันธ์ ไปตรวจสอบกับแผนการจัดหมู่ (Schedules) ดูคําอธิบายหลังเลขหมูนั้น ถ้ายังไม่ตรงกับเนื้อหาหนังสือทีเดียว ให้ดูเลขหมู่ ่ ใกล้เคียงที่มีคาอธิบายตรงกับเนื้อหามากที่สุด ํ ารัก 4.3 อาจต้องใช้ตารางเลข (Table) เพื่อสร้างเลขหมู่ให้มีความเฉพาะเจาะจงหรือ ณ ตรงกับเนื้อหาตามคําอธิบาย บรร 4.4 เมือได้เลขหมู่แล้ว ให้เขียนเลขหมู่นั้นพร้อมอักษรตัวแรกของชื่อผูแต่ง ่ ้ (หนังสือภาษาไทย) หรืออักษรชือสกุลผู้แต่ง ่ ยฯ( (หนังสือต่างประเทศ) เลขผู้แต่ง (เลขประจําตัวผูแต่งหนังสือภาษาไทย) ้ ักวิท หรือเลขนามสกุลผู้แต่ง (เลขประจําชือสกุลผูแต่งหนังสือต่างประเทศ) ่ ้ สำน อักษรตัวแรกของชื่อหนังสือ
  • 9. -9- คู่มือการจัดหมู่หนังสือ การจัดหมู่หนังสือบางประเภท รร. นอกจากการให้เลขหมู่หนังสือแล้ว หนังสือบางประเภท ได้แก่ หนังสืออ้างอิง หนังสือ ษ์)ม แบบเรียน หนังสือคู่มือครู หนังสือนวนิยาย และหนังสือเด็กและเยาวชน จะต้องมีอักษรย่อแจ้ง ประเภทของหนังสือกํากับเหนือเลขหมู่ดังนี้ ารัก 1. หนังสืออ้างอิง ใช้อักษร อ หรือ R กํากับไว้เหนือเลขหมู่หนังสือ 2. หนังสือคูมือครู ใช้อักษร ค กํากับไว้เหนือเลขหมู่ ่ ณ 3. หนังสือนวนิยาย ใช้อักษร น (หรือ Fic สําหรับหนังสือภาษาต่างประเทศ) เป็น บรร สัญลักษณ์แทนเลขหมู่ 4. หนังสือสําหรับเด็กและเยาวชน ถ้าเป็นหนังสือสารคดีให้เลขหมู่เช่นเดียวกันกับหนังสือ ยฯ( สารคดีโดยทัวไป แล้วเติม ย หรือ J ไว้เหนือเลขหมู่ เพื่อแสดงว่าเป็นหนังสือเยาวชน แต่ถ้าเป็น ่ หนังสือนิทานหรือหนังสือภาพง่าย ๆ ใช้ ย (หรือ E สําหรับหนังสือต่างประเทศ) แทนเลขหมู่ ักวิท หนังสือ สำน
  • 10. -10-่มือการจัดหมู่หนังสือ คู การจัดเรียงหนังสือบนชั้น (ระบบทศนิยมของดิวอี้) รร. หนังสือในห้องสมุดส่วนใหญ่จะมีทั้งหนังสือภาษาไทย และภาษาอังกฤษการจัดเรียงหนังสือ ษ์)ม ต่างภาษากัน บางห้องสมุดจัดเรียงรวมกันแต่บางห้องสมุดจะจัดเรียงแยกกัน และการเรียงทั้งสอง แบบยึดหลักการเรียงดังต่อไปนี้ สู่ชั้นล่าง ดังตัวอย่าง ่ ณ ารัก 1. เรียงหนังสือจากเลขหมูน้อยไปหาเลขหมู่มาก จากซ้ายไปขวาทีละช่องชั้น จากชั้นบนลง บรร 004.1 005 005.539 ก17ว ค231ก ก526ห ยฯ( 004.5 005.349 005.845 ักวิท ว254ส ด547น ว254ส 2. หนังสือทีเ่ ลขหมู่เหมือนกัน ให้เรียงตามเลขผู้แต่ง คือ ถ้าตัวอักษรของผู้แต่งเหมือนกัน ให้ดูที่เลขประจําตัวผู้แต่ง ถ้าเลขประจําตัวผูแต่งเลขเดียวกันให้ดที่อักษรตัวแรกของชื่อเรือง ดัง ้ ู ่ สำน ตัวอย่าง 150 150 150 จ210ก จ341จ จ452ห
  • 11. -11- คู่มือการจัดหมู่หนังสือ 3. หนังสือทีมีหลายเล่มจบ หรือหนังสือทีเ่ ป็นชุด ให้เรียงตามลําดับ เล่มที่ หรือเลขชุด ่ ดังตัวอย่าง รร. 750 750 750 750 ษ์)ม อ221ก อ221ก อ221ก อ221ก ล.1 ล.1 ฉ.2 ล.2 ่ ณ ารัก 4. หนังสือทีมีหลายฉบับ ให้เรียงตามลําดับฉบับที่ปรากฏใต้เลขหนังสือนัน ดังตัวอย่าง ้ บรร 530 530 530 ร111ด ร111ด ร111ด 2 3 ยฯ( ักวิท สำน
  • 12. -12-่มือการจัดหมู่หนังสือ คู รร. บรรณานุกรม ษ์)ม พัชรา ทิพยมหิงษ์. (2548). สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า. ฉะเชิงเทรา : ารัก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ไพรสิทธิ์ ศรีสุทธิเกิดพร, วาฑิตา เอื้อเจริญ, และวัชรี ปั้นนิยม. (2551). ณ สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า. ฉะเชิงเทรา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บรร มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. อุทิน รวยอารี. (2538). สารนิเทศเพือการศึกษาค้นคว้า. ฉะเชิงเทรา : ่ ยฯ( สถาบันฉะเชิงเทรา. ักวิท เอื้อมพร ทัศนประสิทธิผล. (2542). สารนิเทศเพือการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ: ่ สุวีรยาสาส์น ิ สำน
  • 13. -13- คู่มือการจัดหมู่หนังสือ คู่มือการจัดหมู่หนังสือ รร. ษ์)ม ที่ปรึกษา : นายเมธี พรมศิลา ผู้อํานวยการ นางสุรัตน์ สุทธกุล ณ ารัก นายไพรสิทธิ์ ศรีสุทธิเกิดพร รองผู้อานวยการ ํ รองผู้อานวยการ ํ บรร ผู้เรียบเรียง : วาสนา เทียนกุล ยฯ( ออกแบบ : วัชรี ปั้นนิยม สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ักวิท มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 422 ถ.มรุพงษ์ ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000 สำน โทร., โทรสาร 0 3851 7013
  • 14. -14-่มือการจัดหมู่หนังสือ คู คํานํา รร. ษ์)ม เอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ ผู้เขียนเรียบเรียงขึ้น เพื่อใช้ประกอบการสอนครูบรรณารักษ์ และนักเรียนช่วยงานห้องสมุด และบุคคลทีมี ่ ณ ่ ารัก ความสนใจที่จะปฏิบัติงานในห้องสมุด เพือเป็นแนวคิดและแนวปฏิบัติ ผู้เรียบเรียงขอขอบพระคุณท่านเจ้าของหนังสือทุกเล่มที่นามาอ้างอิง และขอบคุณ ํ บรร “ครูหม่อง” ที่จัดทํารูปเล่ม เอกสารฉบับนี้มีประโยชน์ยงมาก ขอยกความดีให้กับ ั ครู-อาจารย์ ผู้ประสิทธิประสาทวิชาให้ ์ ยฯ( ักวิท ด้วยความเคารพอย่างสูง สำน วาสนา เทียนกุล
  • 15. -15- คู่มือการจัดหมู่หนังสือ รร. ษ์)ม ารัก ณ บรร ยฯ( ักวิท สำน