SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์เขอื่นแม่วงก์ 
ข้อเสียของการสร้าง 
เขอื่นแม่วงก์ 
รายชอื่ 
ข้อดีของการสร้าง 
เขอื่นแม่วงก์ 
ข้อสรุป
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ 
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจภายในอุทยานฯ 
 แก่งผานางคอย อยู่ห่างจากที่ทา การอุทยานฯ 1,400 เมตร เป็นแก่งหินลา ห้วย 
คลองขลุง จากบริเวณแก่งหินเดินขึ้นไปประมาณ 350 เมตร จะถึงน้า ตกผา 
นางคอย เป็นน้า ตกเล็ก ๆ มี 4 ชั้น และบริเวณใกล้น้า ตกสามารถกางเต็นท์พัก 
แรมได้ด้วย 
 จุดชมวิว กม.ที่ 81 จากที่ทา การอุทยานฯ ไปตามถนนคลองลาน-อุ้มผาง 
ประมาณ 16 กิโลเมตร จะถึงบริเวณหน้าผา เป็นจุดชมวิวที่สามารถมองเห็น 
ทัศนียภาพของป่ารอบ ๆ ได้อย่างสวยงาม บริเวณนี้สามารถกางเต็นท์พักแรม 
ได้
 ช่องเย็น กม.ที่ 93 อยู่ห่างจากที่ทา การอุทยานฯ 28 กิโลเมตร เป็นจุดสูงสุด 
ของถนนคลองลาน-อุ้มผาง สูง 1,340 เมตร จากระดับน้า ทะเล มีสายลมพัด 
ผ่านและหมอกปกคลุมอยู่เสมอ อากาศหนาวเย็นตลอดทั้งปี และเป็นที่ดูพระ 
อาทิตย์ตกได้อย่างสวยงามอีกจุดหนึ่ง สภาพป่าทั่วไปเป็นป่าดิบเขา มี 
กล้วยไม้หายาก เช่น สิงโตกลอกตา เฟิร์น มหาสดา มีนกหายาก เช่น นกเงือก 
คอแดง นกภูหงอนพม่า นกพญาปากกว้างหางยาว นกหัวขวานใหญ่หงอน 
เหลือง นกเหล่านี้จะพบเห็นได้บริเวณบ้านพัก บริเวณ ช่องเย็น มีบ้านพักและ 
สถานที่กางเต็นท์ไว้บริการ แต่จะต้องเตรียมอุปกรณ์มาเอง คือ ผ้าพลาสติก 
เสื้อกันหนาว ตะเกียงหรือไฟฉาย เพราะไม่มีไฟฟ้า เตาแก๊สสา หรับการปรุง 
อาหาร โลชั่นกันแมลง และถุงสาหรับนาขยะลงไปทิ้ง เพราะช่องเย็นไม่ 
สามารถกา จัดขยะได้
 ยอดเขาโมโกจูเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในอุทยานแห่งชาติแม่วงก์และสูงที่สุด 
ในผืนป่าตะวันตก ห่างจากอุทยานฯ ประมาณ 38 กิโลเมตร เป็นยอดเขาที่นัก 
นิยมการท่องเที่ยวแบบเดินป่า ปีนเขา ต้องการที่จะไปเยือนสักครั้ง ด้วยความ 
สูง 1,964 เมตร คา ว่าโมโกจูเป็นภาษากะเหรี่ยง แปลว่า เหมือนฝนจะตก 
เนื่องจากบนยอดเขามักถูกปกคลุมด้วยเมฆหมอกและมีอากาศหนาวเย็น 
ตลอดเวลา ผู้สนใจจะไปสัมผัสยอดเขาโมโกจู ต้องเตรียมความพร้อมของ 
ร่างกายเพราะจะต้องขึ้นเขาที่มีความลาดชันไม่ต่า กว่า 60 องศา ใช้เวลาใน 
การเดินทางไป-กลับ 5 วัน และต้องพักแรมในป่าตามจุดที่กา หนด 
นอกจากนั้นควรศึกษาสภาพเส้นทาง สภาพอากาศ และติดต่อเจ้าหน้าที่นา 
ทางก่อนจากทางอุทยานฯ ก่อนตัดสินใจจะไปสัมผัส โมโกจูช่วงที่จะเปิดให้ 
เดินขึ้นยอดเขาโมโกจู คือเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
 น้าตกแม่กระสา เป็นน้า ตกขนาดใหญ่ มี 9 ชั้น สูง 900 เมตร อยู่ห่างจาก 
อุทยานฯ ประมาณ 18 กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินเท้าไป-กลับ 3-4 วัน 
 น้าตกแม่รีวา อยู่ห่างจากที่ทา การอุทยานฯ ประมาณ 21 กิโลเมตร เป็นน้า ตก 
ขนาดใหญ่สวยงามมาก มี 5 ชั้น รถเข้าไม่ถึงเช่นเดียวกันต้องใช้เวลาในการ 
เดินทางไป-กลับ 2 วัน 
 น้าตกแม่กีเป็นน้า ตกที่ตั้งอยู่บริเวณเดียวกับน้า ตกแม่รีวาและน้า ตกแม่กระสา 
มีต้นกา เนิดจากเทือกเขาถนนธงชัย การเข้าไปยังน้า ตกต้องเดินเท้าเวลาไป- 
กลับ 3-4 วัน 
 น้าตกนางนวลและน้าตกเสือโคร่ง อยู่บริเวณ กม.ที่ 99 ของถนนคลองลาน- 
อุ้มผาง น้า ตกนางนวลต้องไต่เขาลงไปประมาณ 200 เมตร สา หรับน้า ตกเสือ 
โคร่ง ต้องเดินไป 1 กิโลเมตร การเดินทางเข้าไปน้า ตกทั้งสองแห่งต้องแจ้ง 
เจ้าหน้าที่ก่อนทุกครั้ง
 นอกจากนั้นอุทยานฯ ยังมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติน้า ตกนางนวล ระยะทาง 
6.4 กิโลเมตร และเส้นทางศึกษาธรรมชาติน้า ตกธารบุญมี ซึ่งใช้เวลาในการ 
เดิน 2 ชั่วโมง สามารถศึกษาพันธุ์ไม้ชนิดต่าง ๆ และพันธุ์นกต่าง ๆ ที่หาดูได้ 
ยากอีกด้วย 
 อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ มีบ้านพักและสถานที่กางเต็นท์ไว้บริการ 
นักท่องเที่ยว แต่ต้องนา เต็นท์ไปเอง สอบถามข้อมูลได้ที่ อุทยานแห่งชาติแม่ 
วงก์ กม.ที่ 65 ถนนคลองลาน-อุ้มผาง อา เภอคลองลาน จังหวัดกา แพงเพชร 
62180 โทร. (055) 719010-1
1. ข้อมูลทั่วไป: เขื่อนแม่วงก์มีลักษณะเป็น 
เขื่อนหินทิ้งแกนดินเหนียวขนาดใหญ่ 
ความยาว 730 เมตร กว้าง 10 เมตร สูง 57 
เมตร พื้นที่อ่างเก็บน้า ประมาณ 13,000 ไร่ 
อยู่ในอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จ. 
กา แพงเพชรและ จ.นครสวรรค์ ปริมาณกัก 
เก็บน้า 250 ล้านลูกบาศก์เมตร 
2. ประมาณการค่าก่อสร้างของเขื่อนแม่วงก์เมื่อปี 2525 อยู่ที่ 3,761 ล้านบาท 
2551 มีมูลค่า 7,000 ล้านบาท ในเว็บไซด์ของกรมชลประทานในวันที่ 31 
สิงหาคม 2554 ระบุว่ามีมูลค่า 9,000 ล้านบาท แต่ เมื่อมีการอนุมัติงบประมาณ 
เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2555 มีมูลค่าก่อสร้างทั้งสิ้น 13,000 ล้านบาท
3. ถึงแม้ว่าพื้นที่น้า ท่วมจะเป็นแค่ 2% ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ หรือ 
0.12% ของป่าตะวันตกทั้งหมด แต่พื้นที่ตรงนี้เป็นป่าที่ราบต่า ริมน้า ซึ่งเป็นพื้นที่ 
สา คัญในการหากินและขยายพันธุ์ของสัตว์ป่าในฤดูแล้ง ในปัจจุบันประเทศไทย 
เหลือป่าในพื้นที่ราบอยู่น้อยมาก สัตว์ป่าบางชนิด เช่น นกยูง ไม่สามารถบินขึ้น 
ไป อาศัยอยู่บนเขาได้อย่างที่นักการเมืองเข้าใจ แต่นกยูง ต้องการลานหิน ลาน 
ทราย ริมน้า เพื่อการ ป้อตัวเมีย ไม่สามารถไปกางหางอวดในป่ารกทึบได้ จาก 
การสอบถามเจ้าหน้าที่อุทยานฯพบว่าป่าที่นักการเมืองกล่าวอ้างว่าเป็นป่าใหม่มี 
อายุไม่ถึง 30 ปีมีอยู่เพียงไม่กี่พันไร่ แต่ป่าด้านใน เป็นป่าไม้ที่สมบูรณ์มาก ใน 
การสร้างเขื่อน ต้องทา การตัดไม้ออกจากพื้นที่ให้มากที่สุดเพื่อป้องกันน้า เน่าเสีย 
น่าสนใจว่าไม้ขนาดใหญ่ (ซึ่งรวมถึงต้นสักด้วย) จะตกเป็นผลประโยชน์ของ 
ใคร
4. การก่อสร้างเขื่อนแม่วงก์ จะทา ให้สูญเสียพื้นที่ป่าไม้ในเขตอุทยานแห่งชาติ 
แม่วงก์ ไม่น้อยกว่า 13,000 ไร่ เป็นไม้ใหญ่ประมาณ 500,000 ต้น ซึ่งในจา นวน 
นี้มีไม้สักประมาณ 50,000 ต้น กล้าไม้อีก 10,000 ต้น หรือเปรียบ เทียบได้ว่า 
พื้นที่ป่า 1 ไร่ ที่จะถูกน้า ท่วมจะมีไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ 80 ตน้เป็น ไม้สัก 13 ต้น 
ลูกไม้ 576 ต้น และกล้าไม้อีก 1,880 ต้น จากการคา นวณพื้นที่ป่าที่จะสูญเสียไป 
จากการสร้างเขื่อนแม่วงก์ เมื่อคา นวณเป็น ปริมาณคาร์บอนที่ต้นไม้สามารถดูด 
ซับไว้ได้นั้น หากมีการสร้างเขื่อนแม่วงก์ ประเทศไทยจะสูญเสียพื้นที่ที่ 
สามารถดูดซับคาร์บอนได้ประมาณ 10,400 ตันคาร์บอน ป่าแม่วงก์มีสัตว์ป่า 
อาศัยอยู่อย่างน้อย 549 ชนิด และมีปลาอาศัยอยู่ในลา น้า 64 ชนิด (ใน EIA 
รายงานไว้ 61 แต่สา รวจเจอเพิ่มจากการลงพื้นที่อีก 3 ชนิด) ในจา นวนนี้มีเพียง 8 
ชนิด หรือ 13% ที่สามารถผสมพันธุ์ในแหล่งน้า นิ่งในอ่างเหนือเขื่อนได้นอกนั้น 
ต้องอาศัยพื้นที่น้า ไหลหรือน้า หลากซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติ
5. จากเว็บไซด์ของกรมชลประทาน ลุ่มน้า แม่ 
วงก์มีพื้นที่รับน้า ฝน (water shed) 1,113 ตาราง 
กิโลเมตร มีน้า ท่า 569 ล้าน ลูกบาศก์เมตร หรือมี 
น้า 0.52 ล้าน ลบ.ม./1 ตร.กม. ของพื้นที่รับน้า 
เมื่อเปรียบเทียบกับลุ่มน้า ทับเสลาซึ่งมีเขื่อนทับ 
เสลาอยู่แล้ว ซึ่งมีพื้นที่รับน้า ฝน 534 ตร.กม. แต่มีน้า ท่า 124 ลา้น ลบ.ม. หรือมีน้า 
0.23 ล้าน ลบ.ม./1 ตร.กม. ข้อสังเกตคือ พื้นที่ใกล้ๆกัน เขื่อนทับเสลาอยู่ทางใต้ของ 
แม่วงก์เพียง 40 กม.ทา ไมพื้นที่รับน้า ของเขื่อนแม่วงก์(ต่อตร.กม.)จึงมีน้า มากกว่า 
พื้นที่รับน้า ของเขื่อนทับเสลาสองเท่ากว่าทั้งๆที่อยู่ในแนวเขาเดียวกัน ปริมาณฝนตก 
ไม่น่าจะแตกต่างกันมากนัก ทั้งนี้ปีพ.ศ.2554 ซึ่งเป็นปีที่มีน้า มาก เขื่อนทับเสลามี 
ปริมาณน้า ในอ่างเพียง 49 ล้าน ลบ.ม. หรือ 31% ของความจุ และในปัจจุบัน ณ วันที่ 
5 พค. 2555 ซึ่งเป็นปลายฤดูแล้งที่ควรจะมีการจัดส่งน้า ให้ทา การเกษตรในหน้าแล้ง 
ปรากฏว่ามีน้า ในอ่างที่ใช้การได้จริงเพียง 34 ล้าน ลบ.ม. หรือ 21% ของความจุ 
เท่านั้น
6. การช่วยบรรเทาน้า ท่วม: เขื่อนแม่วงก็มีอัตรา 
การเก็บน้า สูงสุดที่ 250 ล้าน ลบ.ม. ในขณะที่ 
ปริมาณน้า ที่ท่วมภาคกลางเมื่อปลายปี 2554 มีถึง 
16,000 ล้าน ลบ.ม. (ตัวเลขจาก ศปภ.) น้า ที่กักเก็บ 
ได้ทั้งหมดของเขื่อนแม่วงก์จึงคิดเป็นเพียงแค่ 2% 
ของปริมาณน้า ที่ท่วมที่ราบลุ่มภาคกลางในช่วง 
ปลายปี 2554 หรือคิดเป็นปริมาณน้า ที่ไหลเข้าทุ่งเจ้าพระยาในช่วงที่น้า ไหลเข้ามากที่สุด 
เพียงแค่ ครึ่งวันกว่าเท่านั้น เช่นในวันที่ 21 ตค. 2554 ทีม กรุ๊ป ให้ข่าวว่าปริมาณน้า ที่ไหล 
เข้าสู่ทุ่งเจ้าพระยามีมากถึงวันละ 419 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนแม่วงก์จึงสามารถช่วยแก้ปัญหาน้า 
ท่วมภาคกลางได้น้อยมาก นอกจากนั้นแม้แต่พื้นที่ใกล้เคียง เช่น อ.ลาดยาว เขื่อนแม่วงก์ก็ 
ช่วยเรื่องน้า ท่วมหลากได้เพียง 25% เนื่องจากน้า ที่ท่วมอ.ลาดยาวจริงๆแล้วมาจากหลาย 
สาย และเป็นน้า ไหลบ่าจากทุ่ง ไม่ใช่จากน้า แม่วงก์สายเดียว ทั้งนี้การบริหารจัดการเขื่อน 
ต้องคงเหลือน้า ไว้ในเขื่อนส่วนหนึ่ง จึงเป็นไปไม่ได้ที่เขื่อนแม่วงก์จะสามารถรับน้า ได้ 
เต็ม 250 ล้าน ลบ.ม. ทุกปี
7. รายงานการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม 
(EIA) ทั้ง 4 ครั้งตั้งแต่ปี 2538, 2541, 2545 และ 
2547 ไม่เคยผ่านความเห็นชอบจาก 
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม ซึ่งระบุให้กรม 
ชลประทานไปหาวิธีจัดการน้า แบบบูรณาการ 
มากกว่าสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ที่ก่อให้เกิดความ 
เสียหายต่อสิ่งแวดล้อม ส่วนรายงานการศึกษา 
ฉบับที่กา ลังทา อยู่ในปัจจุบัน มีมูลค่าวงเงินตาม 
สัญญา ประมาณ 15 ล้านบาท ก็มีแนวโน้ม 
ไม่โปร่งใส เนื่องจากมีการลัดขั้นตอน ตัดลดจา นวนการลงพื้นที่สา รวจความหลากหลายทาง 
ชีวภาพบางรายการ นอกจากนั้นกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยังได้มีหนังสือ 
ด่วนที่สุดเมื่อวันที่ 23 มีค. 2555 ถึงเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นว่าโครงการเขื่อนแม่ 
วงก์ขัดต่อเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติและไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กรม 
อุทยานแห่งชาติ สัตว์ ป่า และ พันธุ์พืช จะพิจารณาให้ดา เนินการได้
8. กรมชลประทานระบุว่าเขื่อนแม่วงก์จะสามารถส่ง 
น้า ให้กับพื้นที่ชลประทานในฤดูฝนได้ 291,900 ไร่ 
พื้นที่ในฤดูแล้ง 116,545 ไร่ จากการลงพื้นที่ ปรากฏ 
ว่าในฤดูฝน ชาวบ้านใช้น้า ฝนและน้า หลากทุ่งในการ 
ทา การเกษตรอยู่แล้ว ไม่มีความจา เป็นต้องพึ่งน้า จาก 
เขื่อนแต่อย่างใด ประโยชน์ของน้า ชลประทานจาก 
เขื่อนจึงเหลือแต่ในฤดูแล้ง ซึ่งจากการคา นวน โดยใช้ 
สมมุติฐานว่า 
8.1 ชาวบ้านปลูกข้าวได้ 0.75 ตัน/ไร่ 
8.2 ขายข้าวได้ราคาปกติ 8,000 บาท/ตัน 
8.3 ขายข้าวได้ราคาจา นา (เฉลี่ย) 14,000 บาท/ตัน 
8.4 มีต้นทุนการเพาะปลูก 3,000 บาท/ไร่ 
8.5 ชาวบ้านจะมีกา ไร/ไร่ (0.75*8,000)-3,000 = 3,000 บาท/ไร่ (ราคาปกติ)
8.6 ชาวบ้านจะมีกา ไร/ไร่ (0.75*14,000)-3,000 = 7,500 บาท/ไร่ (ราคาจา นา ) 
8.7 ชาวบ้านในพื้นที่ชลประทานจะมีรายได้เพิ่มขึ้น = 116,545 (ไร่) * 3,000 = 349.64 ล้าน 
บาท (ราคาปกติ) 
8.8 ชาวบ้านในพื้นที่ชลประทานจะมีรายได้เพิ่มขึ้น = 116,545 (ไร่) * 7,500 = 874.09 ล้าน 
บาท (ราคาจา นา ) 
8.9 ทา ให้โครงการมูลค่า 13,000,000,000 บาทมีระยะเวลาคืนทุน 37 ปี และ 15 ปี 
ตามลา ดับ โดยยังไม่คิดถึงค่าใช้จ่ายในการดูแลและซ่อมบา รุงเขื่อนและระบบส่งน้า ทั้งนี้ 
การลงทุนทั่วไปควรมีระยะคืนทุนอยู่ระหว่าง 4-7 ปี และ 7-10 ปีในโครงการขนาดใหญ่ 
8.10 เขื่อนแม่วงก์จะมีค่า IRR ในกรณีข้าวราคาปกติที่ -5% ในระยะเวลา 20 ปี และ 3% ใน 
ระยะ 20 ปีที่ราคาจา นา ทั้งนี้ในปัจจุบัน การลงทุนส่วนใหญ่ควรมีค่า IRR ในช่วง 
ระยะเวลา 10 ปีอยู่ระหว่าง 5-10% จึงจะถือเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า (การคา นวนยังไม่ได้นา 
ค่าใช้จ่ายในการดูและและซ่อมบา รุงเขื่อนและระบบส่งน้า เข้ามารวม) 
หมายเหตุ: ตัวเลขจากกรมชลประทานระบุว่าจะเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่ได้ 
ประมาณ 720 ล้านบาท/ปี คิดเป็น ระยะเวลาคืนทุน 18 ปี IRR เมื่อ 20 ปี =1%
(ขยายความเรื่อง IRR : หมายถึง ผลตอบแทนการลงทุนของกระแสเงินชุดหนึ่ง 
ส่วนใหญ่แล้วเริ่มต้นด้วยงบลงทุน เป็นตัวเลขติดลบ ตามด้วยผลตอบแทนที่จะ 
ได้รับในแต่ละปี ในกรณีของเขื่อนแม่วงก์ ถ้าหากใช้ตัวเลขของกรมชลประทาน 
ว่าจะได้ผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มขึ้นปีละ 720 ล้านบาท/ปี โดยลบเงินลงทุนที่ 
13,000 ล้านในปีแรก พบว่าในระยะเวลา 18 ปี ได้ผลตอบแทนเฉลี่ยเพียงปีละ 1% 
ทั้งนี้ในปัจจุบันดอกเบี้ยเงินฝากอยู่ที่ประมาณ 2.5-3.5% จะเห็นว่าเงินลงทุนสร้าง 
เขื่อนแม่วงก์ หากเอาไปฝากธนาคารไว้เฉยๆ ยังได้ผลตอบแทนคุ้มค่ากว่า 
ประมาณ 2.5-3.5 เท่า) 
9. ผลโพล 7 สี ถามคนในจ.นครสวรรค์ว่าต้องการให้สร้างเขื่อนแม่วงก์หรือไม่ 
ปรากฏว่ามี 22.7% ต้องการเขื่อน 32.5% ต้องการเขื่อนถ้าไม่มีผลกระทบโดยรวม 
และ 34.2% ไม่ต้องการเขื่อน ในขณะที่ 10% ไม่แน่ใจ แสดงให้เห็นว่า คนใน 
พื้นที่เองส่วนใหญ่แล้วก็ยังไม่ต้องการเขื่อนเลยหรือไม่ต้องการถ้าส่งกระทบต่อ 
ส่วนรวม ทั้งนี้ป่าไม้มิได้เป็นสมบัติของคนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง แต่เป็นสมบัติ 
ของคนทั้งชาติ ที่มีการใช้ “บริการทางอ้อม” จากป่าไม้ร่วมกัน เช่นใช้เป็นแหล่ง 
ผลิตออกซิเจน แหล่งกักเก็บน้า แหล่งอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ เป็น 
ต้น การจะทา ลายป่าไม้จึงต้องคา นึงถึง “คนนอกพื้นที่” ด้วยว่าเห็นด้วยหรือไม่
 ในแง่ของเสียงสนับสนุน มีความต้องการให้สร้างเขื่อนแม่วงก์เนื่องจาก 
รัฐบาลอ้างว่า เขื่อนจะสามารถป้องกันน้าท่วมในลุ่มน้าแม่วง เขต อ.แม่วงก์ และ อ. 
ลาดยาว จ.นครสวรรค์ แต่ นายอดิศักด์ิ จันทวิชานุวงษ์ เลขาธิการคณะกรรมการ 
สิ่งแวดล้อมภาคเหนือตอนล่าง กล่าวว่า ข้อมูลจากกรมชลประทานปีที่แล้วระบุว่า 
น้า ไหลผ่านจังหวัดนครสวรรค์ 44,000 ล้านลูกบาศก์เมตร แต่ตัวเขื่อนแม่วงก์ 
สามารถเก็บน้า ได้เพียงประมาณ 250 ล้านลูกบาศก์เมตร เท่ากับเป็นการแก้ปัญหา 
เพียง 1% เท่านั้น ดังนั้น เขื่อนนี้จึงไม่ตอบโจทย์การแก้ปัญหาน้า ท่วมภาคกลาง 
และไม่เกิดความคุ้มค่าแก่การลงทุนหากสร้างเพื่อป้องกันน้า ท่วม 
อีกทั้งการสร้างเขื่อนที่บริเวณเขาสบกก เป็นการกั้นลา น้า แม่วงเพียงสายเดียว 
แต่ยังมีลา น้า อีกหลายสายที่ไหลมาบรรจบตรงที่ลุ่มอา เภอลาดยาว ซึ่งเป็นสาเหตุ 
หนึ่งของน้า ท่วมในตัวเมือง และจากการสอบถามชาวบ้านลาดยาวหลายคน ระบุ 
ว่า เมื่อถึงฤดูน้า หลาก น้า ก็จะท่วมเพียง 2-5 วัน เท่านั้น หลังจากนั้นน้า ก็จะลดตาม 
ธรรมชาติ เป็นอย่างนี้มาแต่ไหนแต่ไร เว้นแต่ปีที่แล้วที่ท่วมเป็นเวลานานที่น่าจะ 
เกิดจากการจัดการน้า ไม่ดี ไม่ปล่อยให้ไหลตามธรรมชาตินั่นเอง
ด้านการแก้ภัยแล้งในพื้นที่เกษตรกรรม คือการชูเขื่อนแม่วงก์ให้เป็นทเี่ก็บน้า 
เพื่อที่เกษตรกรในพื้นที่ อ.ลาดยาว และ อ.สว่างอารมณ์ จะได้มีน้าไว้ใช้ยามหน้าแล้ง แต่ 
ข้อมูลจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมภาคเหนือและมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร ระบุว่า 
บริเวณดังกล่าวมีพื้นที่กว่า 291,900 ไร่ ความต้องการใช้น้า เฉลี่ย 347.9 ล้านลูกบาศก์ 
เมตรต่อปี ส่วนใหญ่ทา นาข้าว ซึ่งต้องใช้น้า เฉลี่ย 500 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ดังนั้น เมอื่ 
คา นวณแล้วน้าทั้งหมดจากเขื่อนจะสามารถใช้ได้เพียงแค่ 40 วัน ซึ่งไม่เพียงพอกับการ 
ทา นาข้าวซึ่งต้องใช้น้าประมาณ 120 วัน อีกทั้งตามหลักของการบริหารจัดการเขื่อน 
ต้องรักษาระดับเก็บกักน้า ไว้อย่างน้อย 100-150 ล้านลูกบาศก์เมตร เพื่อความแข็งแรง 
ของโครงสร้างฐานเขื่อนอีกด้วย 
นอกจากนี้ บริเวณใกล้เคียงกับพื้นที่ที่จะสร้างเขื่อนแม่วงก์นั้น ยังมีเขื่อนอีก 
หลายแห่ง เช่น เขื่อนทับเสลา เขื่อนคลองโพธ์ิ ซึ่งก่อสร้างเสร็จมาประมาณ 10 ปีแล้ว 
แต่ไม่ได้ช่วยเก็บน้า ไว้ใช้ในฤดูแล้งเลย เพราะพื้นที่อยู่ในเขตเงาฝน ปริมาณน้า ฝนน้อย 
และการก่อสร้างเขื่อนไม่มีประสิทธิภาพ ทา ให้ฐานเขื่อนรองรับน้า ปริมาณมากไม่ได้ 
ซึ่งก็เป็นเพียงอีกตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่าการสร้างเขื่อนไม่ใช่คา ตอบของพื้นที่นี้
 ส่งผลกระทบกับด้านระบบนิเวศ กับด้านเศรษฐกิจและสังคม 
 ด้านนิเวศ คือ ระบบนิเวศทั้งหมดจะถูกคุกคาม เกิดการทา ลายป่าต้นน้า และอาจ 
เกิดการลักลอบตดัไม้ริมอ่างเก็บน้า ซึ่งเป็นเรื่องที่ควบคุมได้ยาก เร่งให้สัตว์ป่า เช่น 
นกยูง เสือโคร่ง ต้องสูญพันธุ์ และยังสามารถลักลอบล่าสัตว์ป่าได้ง่าย นอกจากนี้ 
ยังจะทา ให้สัตว์ป่าสูญเสียที่อยู่อาศัย ทา ลายโอกาสการฟื้นฟูของอุทยาน ซึ่งจะ 
ส่งผลกระทบต่อป่ามรดกโลก "ห้วยขาแข้ง" เนื่องจากพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ 
นั้น มีความสา คัญในฐานะเป็นป่าหน้าด่านของป่าห้วยขาแข้ง เป็นพื้นที่ความหวัง 
ของการแพร่กระจายสัตว์ป่า และเป็นที่ที่พบเสือโคร่งจากห้วยขาแข้งออกมาหากิน
 ด้านเศรษฐกิจและสังคม คือ เนื่องจากเขื่อนแม่วงก์มีขนาดเล็ก จึงไม่คุ้มค่ากับ 
การลงทุน อีกทั้งยังไม่สามารถแก้ปัญหาน้า แล้ง-น้า ท่วมได้นอกจากนี้ยัง 
ทา ลายแหล่งศึกษาธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และทา ลายความเชื่อมั่นด้าน 
สิ่งแวดล้อมของไทยด้วย อีกทั้งยังเป็นช่องทางให้โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ 
เกิดขึ้นในพื้นที่อนุรักษ์อื่น ๆ ได้อีกในอนาคต 
 อนึ่ง ป่าแม่วงก์ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติแม่วงก์มา 25 ปีแล้ว และ 
เป็นพื้นที่แห่งโอกาสของสัตว์ป่า เนื่องจากเป็นป่าที่สมบูรณ์ จึงเป็นบ้านและ 
แหล่งอาหารของสัตว์ป่าที่หากินนอกเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 
นอกจากนี้ ยังมีผลกระทบที่ไม่สามารถป้องกันในช่วงเวลาก่อสร้างเขื่อน 
ตลอด 8 ปี ได้แก่ การตัดไม้เกินพื้นที่ที่กา หนด การลักลอบล่าสัตว์ป่า เสียงที่ 
ดังรบกวนสัตว์ป่า การยึดพื้นที่ริมอ่างและการเก็บหาของป่า ฯลฯ
 นอกจากนี้ ยังมีปัญหาจากการสร้างเขื่อนแม่วงก์อีกมาก เช่น จะต้องมีการเวนคืน 
ที่ดิน เพื่อทา คลองยาว 500 กิโลเมตร และคลองระบายน้า ซึ่งต้องเวนคืนที่ดินจาก 
ชาวบ้านกว่าพันราย รวมที่ดิน 10,892 ไร่ อีกทั้งยังต้องเวนคืนที่ดินอื่น ๆ เพิ่มอีก 
ในการสร้างเขื่อน คือ ที่ดิน 850 ไร่ ที่บ้านคลองไทร ต.แม่เล่ย์อ.แม่วงก์ เพื่อใช้ 
เป็นบ่อยืมดิน ที่ดิน 55 ไร่ ที่บ้านท่าตาอยู่ ต.ปางมะค่า เพื่อใช้ปรับปรุงฝายท่าตาอยู่ 
และที่ดิน 173 ไร่ ติดเขาสบกก เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่หัวงานอีกด้วย 
โดยหลังจากการสร้างเขื่อน ยังอาจเกิดปัญหาขึ้นอีก คือ ชาวบ้านอาจต้องสูบ 
น้าเข้าที่นาเอง เนื่องจากเขื่อนมีขนาดเล็ก น้าอาจไม่มากพอส่งมาท้ายเขื่อนของ 
พื้นทชี่ลประทาน และปัญหาความเหลื่อมล้า ของผู้มีอา นาจที่อาจได้รับประโยชน์ 
การใช้น้า ชลประทานก่อน เพราะรัฐยังไม่ระบุว่าพื้นที่ระบบชลประทานหน้าแล้ง 
ตรงไหนที่ได้รับประโยชน์บ้าง ในขณะที่ชาวบ้านสามารถจัดการปัญหาเรื่องน้า 
ด้วยตนเองได้ ตามโมเดลที่เคยมีคนทา แล้วได้ผล
 หากไม่มีเขื่อนแม่วงก์ เครือข่ายองค์กรอนุรักษ์ด้านสิ่งแวดล้อม ระบุว่า 
ชาวบ้านในพื้นที่ชลประทานก็ยังสามารถใช้ชีวิตอยู่ได้และอยู่ดี เนื่องจาก 
1. มีป่าเขาชนกันที่มีสายน้า ไหลตลอดปีกว่า 10 สาย ซึ่งสามารถจัดการได้ตาม 
แบบบ้านธารมะยม และ ต.หนองหลวง 
2. มีน้า ใต้ดินที่ลึกเพียง 3 เมตร หรือลึกกว่า ที่สามารถพัฒนาเป็นสระน้า ในไร่ 
นาได้แบบที่ "ศาลเจ้าไก่ต่อ“ 
3. หลายพื้นที่อาจพัฒนาระบบอ่างเก็บน้า หลักและอ่างพวงตามแบบ "ปิดทอง 
หลังพระโมเดล" 
4. ลา น้า นอกเขตอุทยานก็สามารถพัฒนาเป็นแหล่งเก็บน้า ได้อีกมาก โดย 
ปรับปรุงฝายเดิมหรือสร้างใหม่ให้เหมาะสม
5. ให้งบประมาณแก่คนทั้ง 23 ตา บล ตา บลละ 200 ล้านบาท รวมเป็น 4,600 
ล้านบาท แล้วหาทางพัฒนาแหล่งน้า โดยชาวบ้าน แล้วให้ข้าราชการเป็นที่ 
ปรึกษา ดีกว่าสร้างเขื่อนทับป่าสมบูรณ์ พร้อมคลองชลประทานดาดคอนกรีต 
500 กิโลเมตร ด้วยงบ 13,000 ล้านบาท 
6. ให้แม่วงก์เป็นต้นแบบโครงการที่ราษฎรและข้าราชการร่วมกันแก้ไขปัญหา 
เรื่องน้า โดยไม่ทา ลายป่าเพื่อสร้างเขื่อน 
7. ขยายพื้นที่มรดกโลกทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง โดยรวมอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ 
อุทยานแห่งชาติคลองลาน และทั้งผืนป่าตะวันตกเข้าด้วยกัน 
 นี่ก็คือเหตุผลที่ว่า ทา ไมหลายคนถึงออกมาร่วมรณรงค์คัดค้านการสร้างเขื่อน 
แม่วงก์นั่นเอง
 การสร้างเขื่อนแม่วงก์มีผลเสียมากกว่าผลดี ประเด็นที่สา คัญในการสร้างเขื่อนแม่วงก์จะ 
ทา ลายสภาพป่าริมลา น้า แม่วงก์ ที่มีระบบนิเวศสมบูรณ์โดยมีต้นไม้ขนาดใหญ่ เช่นต้น 
กระบากใหญ่ ที่มีอายุไม่ต่า กว่า 300 ปี และต้นไม้ใหญ่อื่นๆ ที่หลงเหลือจากการถูกตัดฟันใน 
อดีตขึ้นปะปนกับ ป่าไผ่และเขื่อนแม่วงก์จะนา ไปสู่การลักลอบตัดไม้ทา ลายป่า บริเวณริมอ่าง 
เก็บน้า อย่างยากที่จะควบคุม เนื่องจากบริเวณเหนือแนวอ่างเก็บน้า ยังมีไม้สัก ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้ 
ประดู่ ที่มีขนาดใหญ่อายุหลายร้อยปี และเขื่อนแม่วงก์ไม่สามารถป้องกันน้า ท่วมได้จริง เพราะ 
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ในเขตพื้นที่ ที่จะถูกน้า ท่วมได้แก่ อ.แม่วงก์ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์ ที่ 
มีลักษณะเป็นพื้นที่ลาดเท โดยเฉพาะในเขตอา เภอลาดยาว เป็นพื้นที่ที่มีลักษณะเป็นแอ่งรับน้า 
จากพื้นที่ ทั้งทางตอนจากจังหวัดกา แพงเพชร ทางตะวันออกจากอา เภอบรรพตพิสัย และอา เภอ 
เก้าเลี้ยว ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจากอา เภอแม่วงก์ และทางทิศตะวันออกจากอา เภอแม่เปิน 
และอา เภอชุมตาบง ลักษณะทางธรณีวิทยาเช่นนี้เป็นลักษณะทางธรรมชาติ ของพื้นที่ที่เป็น 
แหล่งรวมของลา นี้อีกหลายสายมาบรรจบกันกับแม่น้า วง ทา ให้บริมาณน้า เพิ่มขึ้นในพื้นที่ 
บริเวณลุ่มต่า โดยเฉพาะในเขตอา เภอเมืองอา เภอลาดยาว จ.นครสวรรค์ การก่อสร้างเขื่อนแม่ 
วงก์ในอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จึงสามารถเก็บน้า ได้บางส่วนเท่านั้น
น.ส.จันทิรา เครือแบน เลขที่ 3 
น.ส.จิราพร มะโนทน เลขที่ 4 
น.ส.นพจิรา ต๊ะวัน เลขที่ 10 
น.ส.พรรณิกา เสนแก้ว เลขที่ 12 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 
โรงเรียนผดุงปัญญา จังหวัดตาก

More Related Content

What's hot

ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงพัน พัน
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาEye E'mon Rattanasiha
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการjustymew
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5Thanawut Rattanadon
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...Earn Supeerapat
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 

What's hot (20)

ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
คำกลอน วิทยาศาสตร์
คำกลอน วิทยาศาสตร์คำกลอน วิทยาศาสตร์
คำกลอน วิทยาศาสตร์
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
 
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 

Similar to ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว Auraphin Phetraksa
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวsiriyakon14
 
1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อPinNii Natthaya
 
การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้
การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้
การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้praewdao
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11aj_moo
 
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชีธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชีbawtho
 
ปะการัง
ปะการังปะการัง
ปะการังUNDP
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังAuraphin Phetraksa
 

Similar to ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์ (11)

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
 
1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ1.บทคัดย่อ
1.บทคัดย่อ
 
การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้
การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้
การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำน่านโดยใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นตัวบ่งชี้
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
 
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชีธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
 
Ko%20tan
Ko%20tanKo%20tan
Ko%20tan
 
ปะการัง
ปะการังปะการัง
ปะการัง
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 

ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์

  • 1.
  • 2. อุทยานแห่งชาติแม่วงก์เขอื่นแม่วงก์ ข้อเสียของการสร้าง เขอื่นแม่วงก์ รายชอื่ ข้อดีของการสร้าง เขอื่นแม่วงก์ ข้อสรุป
  • 4. สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจภายในอุทยานฯ  แก่งผานางคอย อยู่ห่างจากที่ทา การอุทยานฯ 1,400 เมตร เป็นแก่งหินลา ห้วย คลองขลุง จากบริเวณแก่งหินเดินขึ้นไปประมาณ 350 เมตร จะถึงน้า ตกผา นางคอย เป็นน้า ตกเล็ก ๆ มี 4 ชั้น และบริเวณใกล้น้า ตกสามารถกางเต็นท์พัก แรมได้ด้วย  จุดชมวิว กม.ที่ 81 จากที่ทา การอุทยานฯ ไปตามถนนคลองลาน-อุ้มผาง ประมาณ 16 กิโลเมตร จะถึงบริเวณหน้าผา เป็นจุดชมวิวที่สามารถมองเห็น ทัศนียภาพของป่ารอบ ๆ ได้อย่างสวยงาม บริเวณนี้สามารถกางเต็นท์พักแรม ได้
  • 5.  ช่องเย็น กม.ที่ 93 อยู่ห่างจากที่ทา การอุทยานฯ 28 กิโลเมตร เป็นจุดสูงสุด ของถนนคลองลาน-อุ้มผาง สูง 1,340 เมตร จากระดับน้า ทะเล มีสายลมพัด ผ่านและหมอกปกคลุมอยู่เสมอ อากาศหนาวเย็นตลอดทั้งปี และเป็นที่ดูพระ อาทิตย์ตกได้อย่างสวยงามอีกจุดหนึ่ง สภาพป่าทั่วไปเป็นป่าดิบเขา มี กล้วยไม้หายาก เช่น สิงโตกลอกตา เฟิร์น มหาสดา มีนกหายาก เช่น นกเงือก คอแดง นกภูหงอนพม่า นกพญาปากกว้างหางยาว นกหัวขวานใหญ่หงอน เหลือง นกเหล่านี้จะพบเห็นได้บริเวณบ้านพัก บริเวณ ช่องเย็น มีบ้านพักและ สถานที่กางเต็นท์ไว้บริการ แต่จะต้องเตรียมอุปกรณ์มาเอง คือ ผ้าพลาสติก เสื้อกันหนาว ตะเกียงหรือไฟฉาย เพราะไม่มีไฟฟ้า เตาแก๊สสา หรับการปรุง อาหาร โลชั่นกันแมลง และถุงสาหรับนาขยะลงไปทิ้ง เพราะช่องเย็นไม่ สามารถกา จัดขยะได้
  • 6.  ยอดเขาโมโกจูเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในอุทยานแห่งชาติแม่วงก์และสูงที่สุด ในผืนป่าตะวันตก ห่างจากอุทยานฯ ประมาณ 38 กิโลเมตร เป็นยอดเขาที่นัก นิยมการท่องเที่ยวแบบเดินป่า ปีนเขา ต้องการที่จะไปเยือนสักครั้ง ด้วยความ สูง 1,964 เมตร คา ว่าโมโกจูเป็นภาษากะเหรี่ยง แปลว่า เหมือนฝนจะตก เนื่องจากบนยอดเขามักถูกปกคลุมด้วยเมฆหมอกและมีอากาศหนาวเย็น ตลอดเวลา ผู้สนใจจะไปสัมผัสยอดเขาโมโกจู ต้องเตรียมความพร้อมของ ร่างกายเพราะจะต้องขึ้นเขาที่มีความลาดชันไม่ต่า กว่า 60 องศา ใช้เวลาใน การเดินทางไป-กลับ 5 วัน และต้องพักแรมในป่าตามจุดที่กา หนด นอกจากนั้นควรศึกษาสภาพเส้นทาง สภาพอากาศ และติดต่อเจ้าหน้าที่นา ทางก่อนจากทางอุทยานฯ ก่อนตัดสินใจจะไปสัมผัส โมโกจูช่วงที่จะเปิดให้ เดินขึ้นยอดเขาโมโกจู คือเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
  • 7.  น้าตกแม่กระสา เป็นน้า ตกขนาดใหญ่ มี 9 ชั้น สูง 900 เมตร อยู่ห่างจาก อุทยานฯ ประมาณ 18 กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินเท้าไป-กลับ 3-4 วัน  น้าตกแม่รีวา อยู่ห่างจากที่ทา การอุทยานฯ ประมาณ 21 กิโลเมตร เป็นน้า ตก ขนาดใหญ่สวยงามมาก มี 5 ชั้น รถเข้าไม่ถึงเช่นเดียวกันต้องใช้เวลาในการ เดินทางไป-กลับ 2 วัน  น้าตกแม่กีเป็นน้า ตกที่ตั้งอยู่บริเวณเดียวกับน้า ตกแม่รีวาและน้า ตกแม่กระสา มีต้นกา เนิดจากเทือกเขาถนนธงชัย การเข้าไปยังน้า ตกต้องเดินเท้าเวลาไป- กลับ 3-4 วัน  น้าตกนางนวลและน้าตกเสือโคร่ง อยู่บริเวณ กม.ที่ 99 ของถนนคลองลาน- อุ้มผาง น้า ตกนางนวลต้องไต่เขาลงไปประมาณ 200 เมตร สา หรับน้า ตกเสือ โคร่ง ต้องเดินไป 1 กิโลเมตร การเดินทางเข้าไปน้า ตกทั้งสองแห่งต้องแจ้ง เจ้าหน้าที่ก่อนทุกครั้ง
  • 8.  นอกจากนั้นอุทยานฯ ยังมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติน้า ตกนางนวล ระยะทาง 6.4 กิโลเมตร และเส้นทางศึกษาธรรมชาติน้า ตกธารบุญมี ซึ่งใช้เวลาในการ เดิน 2 ชั่วโมง สามารถศึกษาพันธุ์ไม้ชนิดต่าง ๆ และพันธุ์นกต่าง ๆ ที่หาดูได้ ยากอีกด้วย  อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ มีบ้านพักและสถานที่กางเต็นท์ไว้บริการ นักท่องเที่ยว แต่ต้องนา เต็นท์ไปเอง สอบถามข้อมูลได้ที่ อุทยานแห่งชาติแม่ วงก์ กม.ที่ 65 ถนนคลองลาน-อุ้มผาง อา เภอคลองลาน จังหวัดกา แพงเพชร 62180 โทร. (055) 719010-1
  • 9. 1. ข้อมูลทั่วไป: เขื่อนแม่วงก์มีลักษณะเป็น เขื่อนหินทิ้งแกนดินเหนียวขนาดใหญ่ ความยาว 730 เมตร กว้าง 10 เมตร สูง 57 เมตร พื้นที่อ่างเก็บน้า ประมาณ 13,000 ไร่ อยู่ในอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จ. กา แพงเพชรและ จ.นครสวรรค์ ปริมาณกัก เก็บน้า 250 ล้านลูกบาศก์เมตร 2. ประมาณการค่าก่อสร้างของเขื่อนแม่วงก์เมื่อปี 2525 อยู่ที่ 3,761 ล้านบาท 2551 มีมูลค่า 7,000 ล้านบาท ในเว็บไซด์ของกรมชลประทานในวันที่ 31 สิงหาคม 2554 ระบุว่ามีมูลค่า 9,000 ล้านบาท แต่ เมื่อมีการอนุมัติงบประมาณ เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2555 มีมูลค่าก่อสร้างทั้งสิ้น 13,000 ล้านบาท
  • 10. 3. ถึงแม้ว่าพื้นที่น้า ท่วมจะเป็นแค่ 2% ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ หรือ 0.12% ของป่าตะวันตกทั้งหมด แต่พื้นที่ตรงนี้เป็นป่าที่ราบต่า ริมน้า ซึ่งเป็นพื้นที่ สา คัญในการหากินและขยายพันธุ์ของสัตว์ป่าในฤดูแล้ง ในปัจจุบันประเทศไทย เหลือป่าในพื้นที่ราบอยู่น้อยมาก สัตว์ป่าบางชนิด เช่น นกยูง ไม่สามารถบินขึ้น ไป อาศัยอยู่บนเขาได้อย่างที่นักการเมืองเข้าใจ แต่นกยูง ต้องการลานหิน ลาน ทราย ริมน้า เพื่อการ ป้อตัวเมีย ไม่สามารถไปกางหางอวดในป่ารกทึบได้ จาก การสอบถามเจ้าหน้าที่อุทยานฯพบว่าป่าที่นักการเมืองกล่าวอ้างว่าเป็นป่าใหม่มี อายุไม่ถึง 30 ปีมีอยู่เพียงไม่กี่พันไร่ แต่ป่าด้านใน เป็นป่าไม้ที่สมบูรณ์มาก ใน การสร้างเขื่อน ต้องทา การตัดไม้ออกจากพื้นที่ให้มากที่สุดเพื่อป้องกันน้า เน่าเสีย น่าสนใจว่าไม้ขนาดใหญ่ (ซึ่งรวมถึงต้นสักด้วย) จะตกเป็นผลประโยชน์ของ ใคร
  • 11. 4. การก่อสร้างเขื่อนแม่วงก์ จะทา ให้สูญเสียพื้นที่ป่าไม้ในเขตอุทยานแห่งชาติ แม่วงก์ ไม่น้อยกว่า 13,000 ไร่ เป็นไม้ใหญ่ประมาณ 500,000 ต้น ซึ่งในจา นวน นี้มีไม้สักประมาณ 50,000 ต้น กล้าไม้อีก 10,000 ต้น หรือเปรียบ เทียบได้ว่า พื้นที่ป่า 1 ไร่ ที่จะถูกน้า ท่วมจะมีไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ 80 ตน้เป็น ไม้สัก 13 ต้น ลูกไม้ 576 ต้น และกล้าไม้อีก 1,880 ต้น จากการคา นวณพื้นที่ป่าที่จะสูญเสียไป จากการสร้างเขื่อนแม่วงก์ เมื่อคา นวณเป็น ปริมาณคาร์บอนที่ต้นไม้สามารถดูด ซับไว้ได้นั้น หากมีการสร้างเขื่อนแม่วงก์ ประเทศไทยจะสูญเสียพื้นที่ที่ สามารถดูดซับคาร์บอนได้ประมาณ 10,400 ตันคาร์บอน ป่าแม่วงก์มีสัตว์ป่า อาศัยอยู่อย่างน้อย 549 ชนิด และมีปลาอาศัยอยู่ในลา น้า 64 ชนิด (ใน EIA รายงานไว้ 61 แต่สา รวจเจอเพิ่มจากการลงพื้นที่อีก 3 ชนิด) ในจา นวนนี้มีเพียง 8 ชนิด หรือ 13% ที่สามารถผสมพันธุ์ในแหล่งน้า นิ่งในอ่างเหนือเขื่อนได้นอกนั้น ต้องอาศัยพื้นที่น้า ไหลหรือน้า หลากซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติ
  • 12. 5. จากเว็บไซด์ของกรมชลประทาน ลุ่มน้า แม่ วงก์มีพื้นที่รับน้า ฝน (water shed) 1,113 ตาราง กิโลเมตร มีน้า ท่า 569 ล้าน ลูกบาศก์เมตร หรือมี น้า 0.52 ล้าน ลบ.ม./1 ตร.กม. ของพื้นที่รับน้า เมื่อเปรียบเทียบกับลุ่มน้า ทับเสลาซึ่งมีเขื่อนทับ เสลาอยู่แล้ว ซึ่งมีพื้นที่รับน้า ฝน 534 ตร.กม. แต่มีน้า ท่า 124 ลา้น ลบ.ม. หรือมีน้า 0.23 ล้าน ลบ.ม./1 ตร.กม. ข้อสังเกตคือ พื้นที่ใกล้ๆกัน เขื่อนทับเสลาอยู่ทางใต้ของ แม่วงก์เพียง 40 กม.ทา ไมพื้นที่รับน้า ของเขื่อนแม่วงก์(ต่อตร.กม.)จึงมีน้า มากกว่า พื้นที่รับน้า ของเขื่อนทับเสลาสองเท่ากว่าทั้งๆที่อยู่ในแนวเขาเดียวกัน ปริมาณฝนตก ไม่น่าจะแตกต่างกันมากนัก ทั้งนี้ปีพ.ศ.2554 ซึ่งเป็นปีที่มีน้า มาก เขื่อนทับเสลามี ปริมาณน้า ในอ่างเพียง 49 ล้าน ลบ.ม. หรือ 31% ของความจุ และในปัจจุบัน ณ วันที่ 5 พค. 2555 ซึ่งเป็นปลายฤดูแล้งที่ควรจะมีการจัดส่งน้า ให้ทา การเกษตรในหน้าแล้ง ปรากฏว่ามีน้า ในอ่างที่ใช้การได้จริงเพียง 34 ล้าน ลบ.ม. หรือ 21% ของความจุ เท่านั้น
  • 13. 6. การช่วยบรรเทาน้า ท่วม: เขื่อนแม่วงก็มีอัตรา การเก็บน้า สูงสุดที่ 250 ล้าน ลบ.ม. ในขณะที่ ปริมาณน้า ที่ท่วมภาคกลางเมื่อปลายปี 2554 มีถึง 16,000 ล้าน ลบ.ม. (ตัวเลขจาก ศปภ.) น้า ที่กักเก็บ ได้ทั้งหมดของเขื่อนแม่วงก์จึงคิดเป็นเพียงแค่ 2% ของปริมาณน้า ที่ท่วมที่ราบลุ่มภาคกลางในช่วง ปลายปี 2554 หรือคิดเป็นปริมาณน้า ที่ไหลเข้าทุ่งเจ้าพระยาในช่วงที่น้า ไหลเข้ามากที่สุด เพียงแค่ ครึ่งวันกว่าเท่านั้น เช่นในวันที่ 21 ตค. 2554 ทีม กรุ๊ป ให้ข่าวว่าปริมาณน้า ที่ไหล เข้าสู่ทุ่งเจ้าพระยามีมากถึงวันละ 419 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนแม่วงก์จึงสามารถช่วยแก้ปัญหาน้า ท่วมภาคกลางได้น้อยมาก นอกจากนั้นแม้แต่พื้นที่ใกล้เคียง เช่น อ.ลาดยาว เขื่อนแม่วงก์ก็ ช่วยเรื่องน้า ท่วมหลากได้เพียง 25% เนื่องจากน้า ที่ท่วมอ.ลาดยาวจริงๆแล้วมาจากหลาย สาย และเป็นน้า ไหลบ่าจากทุ่ง ไม่ใช่จากน้า แม่วงก์สายเดียว ทั้งนี้การบริหารจัดการเขื่อน ต้องคงเหลือน้า ไว้ในเขื่อนส่วนหนึ่ง จึงเป็นไปไม่ได้ที่เขื่อนแม่วงก์จะสามารถรับน้า ได้ เต็ม 250 ล้าน ลบ.ม. ทุกปี
  • 14. 7. รายงานการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม (EIA) ทั้ง 4 ครั้งตั้งแต่ปี 2538, 2541, 2545 และ 2547 ไม่เคยผ่านความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม ซึ่งระบุให้กรม ชลประทานไปหาวิธีจัดการน้า แบบบูรณาการ มากกว่าสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ที่ก่อให้เกิดความ เสียหายต่อสิ่งแวดล้อม ส่วนรายงานการศึกษา ฉบับที่กา ลังทา อยู่ในปัจจุบัน มีมูลค่าวงเงินตาม สัญญา ประมาณ 15 ล้านบาท ก็มีแนวโน้ม ไม่โปร่งใส เนื่องจากมีการลัดขั้นตอน ตัดลดจา นวนการลงพื้นที่สา รวจความหลากหลายทาง ชีวภาพบางรายการ นอกจากนั้นกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยังได้มีหนังสือ ด่วนที่สุดเมื่อวันที่ 23 มีค. 2555 ถึงเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นว่าโครงการเขื่อนแม่ วงก์ขัดต่อเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติและไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ ป่า และ พันธุ์พืช จะพิจารณาให้ดา เนินการได้
  • 15. 8. กรมชลประทานระบุว่าเขื่อนแม่วงก์จะสามารถส่ง น้า ให้กับพื้นที่ชลประทานในฤดูฝนได้ 291,900 ไร่ พื้นที่ในฤดูแล้ง 116,545 ไร่ จากการลงพื้นที่ ปรากฏ ว่าในฤดูฝน ชาวบ้านใช้น้า ฝนและน้า หลากทุ่งในการ ทา การเกษตรอยู่แล้ว ไม่มีความจา เป็นต้องพึ่งน้า จาก เขื่อนแต่อย่างใด ประโยชน์ของน้า ชลประทานจาก เขื่อนจึงเหลือแต่ในฤดูแล้ง ซึ่งจากการคา นวน โดยใช้ สมมุติฐานว่า 8.1 ชาวบ้านปลูกข้าวได้ 0.75 ตัน/ไร่ 8.2 ขายข้าวได้ราคาปกติ 8,000 บาท/ตัน 8.3 ขายข้าวได้ราคาจา นา (เฉลี่ย) 14,000 บาท/ตัน 8.4 มีต้นทุนการเพาะปลูก 3,000 บาท/ไร่ 8.5 ชาวบ้านจะมีกา ไร/ไร่ (0.75*8,000)-3,000 = 3,000 บาท/ไร่ (ราคาปกติ)
  • 16. 8.6 ชาวบ้านจะมีกา ไร/ไร่ (0.75*14,000)-3,000 = 7,500 บาท/ไร่ (ราคาจา นา ) 8.7 ชาวบ้านในพื้นที่ชลประทานจะมีรายได้เพิ่มขึ้น = 116,545 (ไร่) * 3,000 = 349.64 ล้าน บาท (ราคาปกติ) 8.8 ชาวบ้านในพื้นที่ชลประทานจะมีรายได้เพิ่มขึ้น = 116,545 (ไร่) * 7,500 = 874.09 ล้าน บาท (ราคาจา นา ) 8.9 ทา ให้โครงการมูลค่า 13,000,000,000 บาทมีระยะเวลาคืนทุน 37 ปี และ 15 ปี ตามลา ดับ โดยยังไม่คิดถึงค่าใช้จ่ายในการดูแลและซ่อมบา รุงเขื่อนและระบบส่งน้า ทั้งนี้ การลงทุนทั่วไปควรมีระยะคืนทุนอยู่ระหว่าง 4-7 ปี และ 7-10 ปีในโครงการขนาดใหญ่ 8.10 เขื่อนแม่วงก์จะมีค่า IRR ในกรณีข้าวราคาปกติที่ -5% ในระยะเวลา 20 ปี และ 3% ใน ระยะ 20 ปีที่ราคาจา นา ทั้งนี้ในปัจจุบัน การลงทุนส่วนใหญ่ควรมีค่า IRR ในช่วง ระยะเวลา 10 ปีอยู่ระหว่าง 5-10% จึงจะถือเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า (การคา นวนยังไม่ได้นา ค่าใช้จ่ายในการดูและและซ่อมบา รุงเขื่อนและระบบส่งน้า เข้ามารวม) หมายเหตุ: ตัวเลขจากกรมชลประทานระบุว่าจะเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่ได้ ประมาณ 720 ล้านบาท/ปี คิดเป็น ระยะเวลาคืนทุน 18 ปี IRR เมื่อ 20 ปี =1%
  • 17. (ขยายความเรื่อง IRR : หมายถึง ผลตอบแทนการลงทุนของกระแสเงินชุดหนึ่ง ส่วนใหญ่แล้วเริ่มต้นด้วยงบลงทุน เป็นตัวเลขติดลบ ตามด้วยผลตอบแทนที่จะ ได้รับในแต่ละปี ในกรณีของเขื่อนแม่วงก์ ถ้าหากใช้ตัวเลขของกรมชลประทาน ว่าจะได้ผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มขึ้นปีละ 720 ล้านบาท/ปี โดยลบเงินลงทุนที่ 13,000 ล้านในปีแรก พบว่าในระยะเวลา 18 ปี ได้ผลตอบแทนเฉลี่ยเพียงปีละ 1% ทั้งนี้ในปัจจุบันดอกเบี้ยเงินฝากอยู่ที่ประมาณ 2.5-3.5% จะเห็นว่าเงินลงทุนสร้าง เขื่อนแม่วงก์ หากเอาไปฝากธนาคารไว้เฉยๆ ยังได้ผลตอบแทนคุ้มค่ากว่า ประมาณ 2.5-3.5 เท่า) 9. ผลโพล 7 สี ถามคนในจ.นครสวรรค์ว่าต้องการให้สร้างเขื่อนแม่วงก์หรือไม่ ปรากฏว่ามี 22.7% ต้องการเขื่อน 32.5% ต้องการเขื่อนถ้าไม่มีผลกระทบโดยรวม และ 34.2% ไม่ต้องการเขื่อน ในขณะที่ 10% ไม่แน่ใจ แสดงให้เห็นว่า คนใน พื้นที่เองส่วนใหญ่แล้วก็ยังไม่ต้องการเขื่อนเลยหรือไม่ต้องการถ้าส่งกระทบต่อ ส่วนรวม ทั้งนี้ป่าไม้มิได้เป็นสมบัติของคนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง แต่เป็นสมบัติ ของคนทั้งชาติ ที่มีการใช้ “บริการทางอ้อม” จากป่าไม้ร่วมกัน เช่นใช้เป็นแหล่ง ผลิตออกซิเจน แหล่งกักเก็บน้า แหล่งอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ เป็น ต้น การจะทา ลายป่าไม้จึงต้องคา นึงถึง “คนนอกพื้นที่” ด้วยว่าเห็นด้วยหรือไม่
  • 18.  ในแง่ของเสียงสนับสนุน มีความต้องการให้สร้างเขื่อนแม่วงก์เนื่องจาก รัฐบาลอ้างว่า เขื่อนจะสามารถป้องกันน้าท่วมในลุ่มน้าแม่วง เขต อ.แม่วงก์ และ อ. ลาดยาว จ.นครสวรรค์ แต่ นายอดิศักด์ิ จันทวิชานุวงษ์ เลขาธิการคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมภาคเหนือตอนล่าง กล่าวว่า ข้อมูลจากกรมชลประทานปีที่แล้วระบุว่า น้า ไหลผ่านจังหวัดนครสวรรค์ 44,000 ล้านลูกบาศก์เมตร แต่ตัวเขื่อนแม่วงก์ สามารถเก็บน้า ได้เพียงประมาณ 250 ล้านลูกบาศก์เมตร เท่ากับเป็นการแก้ปัญหา เพียง 1% เท่านั้น ดังนั้น เขื่อนนี้จึงไม่ตอบโจทย์การแก้ปัญหาน้า ท่วมภาคกลาง และไม่เกิดความคุ้มค่าแก่การลงทุนหากสร้างเพื่อป้องกันน้า ท่วม อีกทั้งการสร้างเขื่อนที่บริเวณเขาสบกก เป็นการกั้นลา น้า แม่วงเพียงสายเดียว แต่ยังมีลา น้า อีกหลายสายที่ไหลมาบรรจบตรงที่ลุ่มอา เภอลาดยาว ซึ่งเป็นสาเหตุ หนึ่งของน้า ท่วมในตัวเมือง และจากการสอบถามชาวบ้านลาดยาวหลายคน ระบุ ว่า เมื่อถึงฤดูน้า หลาก น้า ก็จะท่วมเพียง 2-5 วัน เท่านั้น หลังจากนั้นน้า ก็จะลดตาม ธรรมชาติ เป็นอย่างนี้มาแต่ไหนแต่ไร เว้นแต่ปีที่แล้วที่ท่วมเป็นเวลานานที่น่าจะ เกิดจากการจัดการน้า ไม่ดี ไม่ปล่อยให้ไหลตามธรรมชาตินั่นเอง
  • 19. ด้านการแก้ภัยแล้งในพื้นที่เกษตรกรรม คือการชูเขื่อนแม่วงก์ให้เป็นทเี่ก็บน้า เพื่อที่เกษตรกรในพื้นที่ อ.ลาดยาว และ อ.สว่างอารมณ์ จะได้มีน้าไว้ใช้ยามหน้าแล้ง แต่ ข้อมูลจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมภาคเหนือและมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร ระบุว่า บริเวณดังกล่าวมีพื้นที่กว่า 291,900 ไร่ ความต้องการใช้น้า เฉลี่ย 347.9 ล้านลูกบาศก์ เมตรต่อปี ส่วนใหญ่ทา นาข้าว ซึ่งต้องใช้น้า เฉลี่ย 500 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ดังนั้น เมอื่ คา นวณแล้วน้าทั้งหมดจากเขื่อนจะสามารถใช้ได้เพียงแค่ 40 วัน ซึ่งไม่เพียงพอกับการ ทา นาข้าวซึ่งต้องใช้น้าประมาณ 120 วัน อีกทั้งตามหลักของการบริหารจัดการเขื่อน ต้องรักษาระดับเก็บกักน้า ไว้อย่างน้อย 100-150 ล้านลูกบาศก์เมตร เพื่อความแข็งแรง ของโครงสร้างฐานเขื่อนอีกด้วย นอกจากนี้ บริเวณใกล้เคียงกับพื้นที่ที่จะสร้างเขื่อนแม่วงก์นั้น ยังมีเขื่อนอีก หลายแห่ง เช่น เขื่อนทับเสลา เขื่อนคลองโพธ์ิ ซึ่งก่อสร้างเสร็จมาประมาณ 10 ปีแล้ว แต่ไม่ได้ช่วยเก็บน้า ไว้ใช้ในฤดูแล้งเลย เพราะพื้นที่อยู่ในเขตเงาฝน ปริมาณน้า ฝนน้อย และการก่อสร้างเขื่อนไม่มีประสิทธิภาพ ทา ให้ฐานเขื่อนรองรับน้า ปริมาณมากไม่ได้ ซึ่งก็เป็นเพียงอีกตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่าการสร้างเขื่อนไม่ใช่คา ตอบของพื้นที่นี้
  • 20.  ส่งผลกระทบกับด้านระบบนิเวศ กับด้านเศรษฐกิจและสังคม  ด้านนิเวศ คือ ระบบนิเวศทั้งหมดจะถูกคุกคาม เกิดการทา ลายป่าต้นน้า และอาจ เกิดการลักลอบตดัไม้ริมอ่างเก็บน้า ซึ่งเป็นเรื่องที่ควบคุมได้ยาก เร่งให้สัตว์ป่า เช่น นกยูง เสือโคร่ง ต้องสูญพันธุ์ และยังสามารถลักลอบล่าสัตว์ป่าได้ง่าย นอกจากนี้ ยังจะทา ให้สัตว์ป่าสูญเสียที่อยู่อาศัย ทา ลายโอกาสการฟื้นฟูของอุทยาน ซึ่งจะ ส่งผลกระทบต่อป่ามรดกโลก "ห้วยขาแข้ง" เนื่องจากพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ นั้น มีความสา คัญในฐานะเป็นป่าหน้าด่านของป่าห้วยขาแข้ง เป็นพื้นที่ความหวัง ของการแพร่กระจายสัตว์ป่า และเป็นที่ที่พบเสือโคร่งจากห้วยขาแข้งออกมาหากิน
  • 21.  ด้านเศรษฐกิจและสังคม คือ เนื่องจากเขื่อนแม่วงก์มีขนาดเล็ก จึงไม่คุ้มค่ากับ การลงทุน อีกทั้งยังไม่สามารถแก้ปัญหาน้า แล้ง-น้า ท่วมได้นอกจากนี้ยัง ทา ลายแหล่งศึกษาธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และทา ลายความเชื่อมั่นด้าน สิ่งแวดล้อมของไทยด้วย อีกทั้งยังเป็นช่องทางให้โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ เกิดขึ้นในพื้นที่อนุรักษ์อื่น ๆ ได้อีกในอนาคต  อนึ่ง ป่าแม่วงก์ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติแม่วงก์มา 25 ปีแล้ว และ เป็นพื้นที่แห่งโอกาสของสัตว์ป่า เนื่องจากเป็นป่าที่สมบูรณ์ จึงเป็นบ้านและ แหล่งอาหารของสัตว์ป่าที่หากินนอกเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง นอกจากนี้ ยังมีผลกระทบที่ไม่สามารถป้องกันในช่วงเวลาก่อสร้างเขื่อน ตลอด 8 ปี ได้แก่ การตัดไม้เกินพื้นที่ที่กา หนด การลักลอบล่าสัตว์ป่า เสียงที่ ดังรบกวนสัตว์ป่า การยึดพื้นที่ริมอ่างและการเก็บหาของป่า ฯลฯ
  • 22.  นอกจากนี้ ยังมีปัญหาจากการสร้างเขื่อนแม่วงก์อีกมาก เช่น จะต้องมีการเวนคืน ที่ดิน เพื่อทา คลองยาว 500 กิโลเมตร และคลองระบายน้า ซึ่งต้องเวนคืนที่ดินจาก ชาวบ้านกว่าพันราย รวมที่ดิน 10,892 ไร่ อีกทั้งยังต้องเวนคืนที่ดินอื่น ๆ เพิ่มอีก ในการสร้างเขื่อน คือ ที่ดิน 850 ไร่ ที่บ้านคลองไทร ต.แม่เล่ย์อ.แม่วงก์ เพื่อใช้ เป็นบ่อยืมดิน ที่ดิน 55 ไร่ ที่บ้านท่าตาอยู่ ต.ปางมะค่า เพื่อใช้ปรับปรุงฝายท่าตาอยู่ และที่ดิน 173 ไร่ ติดเขาสบกก เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่หัวงานอีกด้วย โดยหลังจากการสร้างเขื่อน ยังอาจเกิดปัญหาขึ้นอีก คือ ชาวบ้านอาจต้องสูบ น้าเข้าที่นาเอง เนื่องจากเขื่อนมีขนาดเล็ก น้าอาจไม่มากพอส่งมาท้ายเขื่อนของ พื้นทชี่ลประทาน และปัญหาความเหลื่อมล้า ของผู้มีอา นาจที่อาจได้รับประโยชน์ การใช้น้า ชลประทานก่อน เพราะรัฐยังไม่ระบุว่าพื้นที่ระบบชลประทานหน้าแล้ง ตรงไหนที่ได้รับประโยชน์บ้าง ในขณะที่ชาวบ้านสามารถจัดการปัญหาเรื่องน้า ด้วยตนเองได้ ตามโมเดลที่เคยมีคนทา แล้วได้ผล
  • 23.  หากไม่มีเขื่อนแม่วงก์ เครือข่ายองค์กรอนุรักษ์ด้านสิ่งแวดล้อม ระบุว่า ชาวบ้านในพื้นที่ชลประทานก็ยังสามารถใช้ชีวิตอยู่ได้และอยู่ดี เนื่องจาก 1. มีป่าเขาชนกันที่มีสายน้า ไหลตลอดปีกว่า 10 สาย ซึ่งสามารถจัดการได้ตาม แบบบ้านธารมะยม และ ต.หนองหลวง 2. มีน้า ใต้ดินที่ลึกเพียง 3 เมตร หรือลึกกว่า ที่สามารถพัฒนาเป็นสระน้า ในไร่ นาได้แบบที่ "ศาลเจ้าไก่ต่อ“ 3. หลายพื้นที่อาจพัฒนาระบบอ่างเก็บน้า หลักและอ่างพวงตามแบบ "ปิดทอง หลังพระโมเดล" 4. ลา น้า นอกเขตอุทยานก็สามารถพัฒนาเป็นแหล่งเก็บน้า ได้อีกมาก โดย ปรับปรุงฝายเดิมหรือสร้างใหม่ให้เหมาะสม
  • 24. 5. ให้งบประมาณแก่คนทั้ง 23 ตา บล ตา บลละ 200 ล้านบาท รวมเป็น 4,600 ล้านบาท แล้วหาทางพัฒนาแหล่งน้า โดยชาวบ้าน แล้วให้ข้าราชการเป็นที่ ปรึกษา ดีกว่าสร้างเขื่อนทับป่าสมบูรณ์ พร้อมคลองชลประทานดาดคอนกรีต 500 กิโลเมตร ด้วยงบ 13,000 ล้านบาท 6. ให้แม่วงก์เป็นต้นแบบโครงการที่ราษฎรและข้าราชการร่วมกันแก้ไขปัญหา เรื่องน้า โดยไม่ทา ลายป่าเพื่อสร้างเขื่อน 7. ขยายพื้นที่มรดกโลกทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง โดยรวมอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ อุทยานแห่งชาติคลองลาน และทั้งผืนป่าตะวันตกเข้าด้วยกัน  นี่ก็คือเหตุผลที่ว่า ทา ไมหลายคนถึงออกมาร่วมรณรงค์คัดค้านการสร้างเขื่อน แม่วงก์นั่นเอง
  • 25.  การสร้างเขื่อนแม่วงก์มีผลเสียมากกว่าผลดี ประเด็นที่สา คัญในการสร้างเขื่อนแม่วงก์จะ ทา ลายสภาพป่าริมลา น้า แม่วงก์ ที่มีระบบนิเวศสมบูรณ์โดยมีต้นไม้ขนาดใหญ่ เช่นต้น กระบากใหญ่ ที่มีอายุไม่ต่า กว่า 300 ปี และต้นไม้ใหญ่อื่นๆ ที่หลงเหลือจากการถูกตัดฟันใน อดีตขึ้นปะปนกับ ป่าไผ่และเขื่อนแม่วงก์จะนา ไปสู่การลักลอบตัดไม้ทา ลายป่า บริเวณริมอ่าง เก็บน้า อย่างยากที่จะควบคุม เนื่องจากบริเวณเหนือแนวอ่างเก็บน้า ยังมีไม้สัก ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้ ประดู่ ที่มีขนาดใหญ่อายุหลายร้อยปี และเขื่อนแม่วงก์ไม่สามารถป้องกันน้า ท่วมได้จริง เพราะ ลักษณะทางภูมิศาสตร์ในเขตพื้นที่ ที่จะถูกน้า ท่วมได้แก่ อ.แม่วงก์ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์ ที่ มีลักษณะเป็นพื้นที่ลาดเท โดยเฉพาะในเขตอา เภอลาดยาว เป็นพื้นที่ที่มีลักษณะเป็นแอ่งรับน้า จากพื้นที่ ทั้งทางตอนจากจังหวัดกา แพงเพชร ทางตะวันออกจากอา เภอบรรพตพิสัย และอา เภอ เก้าเลี้ยว ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจากอา เภอแม่วงก์ และทางทิศตะวันออกจากอา เภอแม่เปิน และอา เภอชุมตาบง ลักษณะทางธรณีวิทยาเช่นนี้เป็นลักษณะทางธรรมชาติ ของพื้นที่ที่เป็น แหล่งรวมของลา นี้อีกหลายสายมาบรรจบกันกับแม่น้า วง ทา ให้บริมาณน้า เพิ่มขึ้นในพื้นที่ บริเวณลุ่มต่า โดยเฉพาะในเขตอา เภอเมืองอา เภอลาดยาว จ.นครสวรรค์ การก่อสร้างเขื่อนแม่ วงก์ในอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จึงสามารถเก็บน้า ได้บางส่วนเท่านั้น
  • 26. น.ส.จันทิรา เครือแบน เลขที่ 3 น.ส.จิราพร มะโนทน เลขที่ 4 น.ส.นพจิรา ต๊ะวัน เลขที่ 10 น.ส.พรรณิกา เสนแก้ว เลขที่ 12 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนผดุงปัญญา จังหวัดตาก