SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
ปริมาณ
สารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างมวลหรือนำ้าหนัก
ของธาตุต่าง ๆ ของสารประกอบในปฏิกิริยาเคมี ปริมาณสารสัม
พันธ์มีประโยชน์ในแง่ของการคาดคะเนปริมาณของสารที่ต้องใช้
เป็นสารตั้งต้นเพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ
 
ระบบเปิดระบบปิด
ระบบ ( System) หมายถึง สิ่งซึ่งอยู่ในขอบเขตที่ศึกษา
ระบบเปิด (Open System) หมายถึง ระบบที่มีการถ่ายเทมวล
ของสารระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อมหรือระบบ ซึ่งมวลและ
พลังงานของสารก่อนการเปลี่ยนแปลงและหลังการเปลี่ยนแปลง
มีค่าไม่คงที่เช่น
ระบบปิด ( Closed System) หมายถึงระบบที่ไม่มีการถ่ายเท
มวลสารกับสิ่งแวดล้อมหรือระบบ ซึ่งมวลของสารก่อนการ
เปลี่ยนแปลง และหลังการเปลี่ยนแปลงคงที่ แต่พลังงานของสาร
ก่อนการเปลี่ยนแปลงและหลังการเปลี่ยนแปลงไม่คงที่เช่น
สารละลาย
สารละลาย (Solution) คือ สารเนื้อเดียวที่มีสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้น
ไปมารวมกัน ประกอบด้วยตัวทำาละลายและตัวถูกละลายถ้าตัว
ถูกสารละลายและตัวทำาละลายมีสถานะเดียวกันสารละลายที่มี
ปริมาณมากกว่าเป็นตัวทำาละลาย แต่ถ้าสารทั้งสองมีสถานะแตก
ต่างกันสารที่มีสถานะเดียวกันกับสารละลายเป็นตัวทำาละลาย
หน่วยของสารละลาย เป็นค่าที่แสดงถึงปริมาณของตัวละลายที่
ละลายอยู่ในตัวทำาละลายหรือในสารละลาย ปริมาณตัวถูก
ละลายต่อปริมาณสารละลาย (ยกเว้นหน่วยโมลต่อกิโลกรัม)
ร้อยละ
1.1 ร้อยละโดยมวล(มวล/มวล) คือ ปริมาณมวลของตัวถูก
ละลายในมวลของสารละลาย 100 หน่วยมวล
1.2 ร้อยละโดยปริมาตร(ปริมาตร/ปริมาตร) คือ ปริมาตรของ
ตัวถูกละลายในสารละลายปริมาตร 100 หน่วยปริมาตร นิยมใช้
กับสารละลายที่เป็นของเหลว เช่น สารละลายแอลกอฮอล์เข้มข้น
ร้อยละ 20 โดยปริมาตร หมายความว่าสารละลายนี้100
ลูกบาศก์เซนติเมตรจะมีแอลกอฮอล์ละลายอยู่ 20 ลูกบาศก์
เซนติเมตร
1.3 ร้อยละมวลต่อปริมาตร คือ ปริมาณของตัวถูกละลายใน
ปริมาตรของสารละลาย 100 หน่วยปริมาตร โดยทั่วไปถ้ามวล
ของตัวถูกละลายมีหน่วยเป็นกรัมปริมาตรของสารละลายจะมี
หน่วยเป็นลูกบาศก์เซนติเมตร และถ้ามวลของตัวถูกละลายมี
หน่วยเป็นกิโลกรัม ปริมาตรของสารละลายจะมีหน่วยเป็น
ลูกบาศก์เดซิเมตรหรือลิตร หน่วยมวลและหน่วยปริมาตรต้อง
ให้สอดคล้องกันด้วย
2. โมลาริตี หรือโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (mol/dm3 หรือ
mol/l) เป็นหน่วยที่บอกจำานวนโมลของตัวถูกละลายใน
สารละลาย 1 ลูกบาศก์เดซิเมตร หน่วยความเข้มข้นเป็นโมลต่อ
ลูกบาศก์เดซิเมตรอาจเรียกย่อได้เป็นโมลาร์(Molar) ใช้
สัญลักษณ์ M
3. โมแลลิตี หรือ โมลต่อกิโลกรัม (mol/kg) เป็นหน่วยที่
บอกจำานวนโมลของตัวถูกละลายที่ละลาย ในตัวทำาละลาย1
กิโลกรัม จึงมีหน่วยเป็น mol/kg หรือเรียกว่า โมแลล (Molal)
ใช้สัญลักษณ์ m
4. เศษส่วนโมล (Mole fractions) คือ สัดส่วนจำานวนโมลของ
สารองค์ประกอบหนึ่งต่อจำานวนโมลรวมของสารทุกชนิดใน
สารละลาย ใช้สัญลักษณ์ X เช่น สารละลายชนิดหนึ่งประกอบ
ด้วยสาร A a mol, B b mol และC c mol จะได้เศษส่วนโมลของ
สาร A, B และ C ดังนี้
เศษส่วนโมลของสาร A (XA) = a / ( a + b + c )
เศษส่วนโมลของสาร B (XB) = b / ( a + b + c )
เศษส่วนโมลของสาร C (XC) = c / ( a + b + c )
ผลรวมของเศษส่วนโมลของสารองค์ประกอบทั้งหมด XA + XB + XC
มีค่าเท่ากับ 1
และเมื่อนำาค่าเศษส่วนโมลของแต่ละสารมาคูณด้วยร้อย จะได้ความ
เข้มข้นในหน่วยร้อยละโดยมวลของสารนั้น
ร้อยละโดยมวลของสาร A = เศษส่วนโมลของสาร A *
100
ร้อยละโดยมวลของสาร B = เศษส่วนโมลของสาร B *
100
ร้อยละโดยมวลของสาร C = เศษส่วนโมลของสาร C *
100
5. ส่วนในล้านส่วน (parts per million; ppm) เป็นหน่วยที่
บอกมวลของตัวถูกละลายที่ละลายอยู่ในสารละลาย1 ล้านหน่วยมวล
เดียวกัน ซึ่งเป็นหน่วยความเข้มข้นของสารละลายที่เจือจางมาก ๆ
การคำานวณมวลโมเลกุลของ
สาร
ตัวอย่าง จงหามวลโมเลกุลของ CaSO 4 . 2H 2O กำาหนดมวลอะตอมของ Ca
= 40, S = 32, O = 16 และ H = 1
วิธีทำา มวลโมเลกุลของ CaSO 4 . 2H 2O = มวลอะตอมของทุกธาตุใน CaSO
4 . 2H 2O รวมกัน
= 40+32+(16 x 4)+2(2)+2(16)
= 40+32+64+4+32 = 172
ดังนั้น มวลโมเลกุลของ CaSO 4 . 2H 2O = 172 ตอบ
สรุปสูตรการคำานวณ
1. ร้อยละโดยมวลของตัวถูกละลาย
2. ร้อยละโดยปริมาตรของตัวถูกละลาย
3. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรของ
ตัวถูกละลาย
สรุปสูตรการคำานวณ
4. mol/dm3
5. mol/kg
6. สารละลายที่มีความเข้มข้น C
mol/dm3 จำานวน V cm3 จำานวน
โมลของตัวถูกละลาย n mol
7. การเปลี่ยนหน่วยสารละลายจากหน่วย
ร้อยละ -----------> mol/dm3
7.1 ร้อยละโดยมวล ---------> mol/dm3
C = ความเข้มข้น (mol/dm3) d = ความหนาแน่นของสารละลาย (g/cm3)
X = ความเข้มข้น (% โดยมวล) M = มวลโมเลกุลของตัวถูกละลาย
7.2 ร้อยละโดยปริมาตร --------------> mol/dm3
D = ความหนาแน่นของตัวทำาละลาย (g/cm3) x = ความเข้มข้นของ
สารละลาย (% โดยปริมาตร)
8. การเตรียมสารละลายเจือจางโดยการเติมนำ้า
โมลของตัวถูกละลายก่อนเติมนำ้า = โมลของตัวถูกละลายหลังเติม
นำ้า
สารละลาย C1 mol/dm3 จำานวน V1 cm3 เติมนำ้าเป็นสารละลาย
C2 mol/dm3 จำานวน V2 cm3
9. การเตรียมสารละลายโดยการผสมสารละลายชนิด
เดียวกันความเข้มข้นต่างกัน แต่ปริมาตรที่ใช้ต่างกัน
C1 V1 และ C แทนความเข้มข้นของสารละลายมีหน่วยเป็น
mol/dm3
C2 V2 และ V แทนปริมาตรของสารละลายมีหน่วยสอดคล้องกัน
เช่น cm3 หรือ dm3 เหมือนกัน
สมบัติคอลลิเกตีฟของ
สารละลาย
สารละลายเป็นสารเนื้อเดียวที่ได้จากการผสมสารบริสุทธิ์ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป
เข้าด้วยกัน ถ้าสารที่นำามาผสมกันมีสถานะเดียวกันจะถือว่าสารที่มีปริมาณ
มากที่สุดเป็นตัวทำาละลายส่วนสารที่มีปริมาณน้อยกว่าเป็นตัวละลาย จะมี
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวเท่ากัน โดยที่ตัวละลายจะเป็นสารใดก็ได้แต่ต้อง
เป็นสารที่ระเหยยากและไม่แตกตัวเป็นไอออนส่วนสารละลายที่มีความเข้มข้น
ต่างกัน แม้จะมีตัวทำาละลายชนิดเดียวกันก็มีค่าจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไม่
เท่ากัน
สูตรเกี่ยวกับสารละลายที่มี
สมบัติคอลลิเกตีฟ
จุดเดือด
Tb = จุดเดือดของสารละลาย - จุดเดือดของตัวทำาละลาย (องศาเซลเซียส)
Kb = ค่าคงที่ของการเพิ่มขึ้นของจุดเดือดของสารละลาย (องศาเซลเซียส/mol/kg)
m = ความเข้มข้นของสารละลาย (mol/kg)
m1 = มวลตัวถูกละลาย (g)
m2 = มวลของตัวทำาละลาย (g)
MW1 = มวลโมเลกุลของตัวถูกละลาย
จุดหลอมเหลว (หรือ
จุดเยือกแข็ง)
Tf = จุดเยือกแข็งของตัวทำาละลาย - จุดเยือกแข็งของสารละลาย (องศาเซลเซียส)
Kf = ค่าคงที่ของการลดลงของจุดเยือกแข็งของสารละลาย (องศาเซลเซียส/mol/kg)
สารละลายชนิดเดียวกันมีความเข้ม
ข้นเท่ากัน จุดเดือดและ
จุดเยือกแข็งสัมพันธ์กันดังนี้
มวลของสารในปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงของสารในปฏิกิริยาใดๆ ต้องมีการกำาหนด
ขอบเขตการศึกษา ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำาคัญอยู่ 2 ส่วนคือ ส่วน
ที่อยู่ภายในขอบเขตของการศึกษาซึ่งรวมทั้งก่อนการ
เปลี่ยนแปลงและหลังการเปลี่ยนแปลงเรียกว่า ระบบ กับส่วนที่อยู่
นอกขอบเขตที่ศึกษา เช่นภาชนะ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือวัดต่างๆ
เรียกว่า สิ่งแวดล้อม เช่น การทำานำ้าให้เป็นนำ้าแข็ง ระบบก่อนการ
เปลี่ยนแปลงคือนำ้า และระบบหลังการเปลี่ยนแปลงคือนำ้าแข็ง
ส่วนสิ่งแวดล้อมก็คือภาชนะ
1. ระบบปิด คือ ระบบที่ไม่มีการถ่ายเทมวลของสารระหว่างระบบ
กับสิ่งแวดล้อม
2. ระบบเปิด คือ ระบบที่มีการถ่ายเทมวลของสารระหว่างระบบกับ
สิ่งแวดล้อม
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสารจำาเป็นต้องระบุสมบัติต่างๆ ของ
ระบบ เช่น มวล อุณหภูมิ ปริมาตร ความดัน ถ้าตรวจสอบได้ว่า
สมบัติใดของระบบมีการเปลี่ยนแปลงก็ถือได้ว่ามีการเปลี่ยนแปลง
เกิดขึ้นในระบบ สมบัติของสารและปัจจัยที่มีผลต่อสมบัติของระบบ
เรียกว่าภาวะของระบบ
ในปี พ.ศ. 2317 อองตวน-โลรอง ลาวัวซิเอ ได้ทดลองเผาสารในหลอดที่ปิดสนิท
พบว่า มวลรวมของสารก่อนเกิดปฏิกิริยาเท่ากับมวลรวมของสารหลังทำาปฏิกิริยา
จึงตั้งเป็นกฎเรียกว่า กฎทรงมวล
โจเชฟ เพราสต์ ได้ศึกษาการเตรียมสารประกอบบางชนิด
พบว่าสารประกอบชนิดหนึ่งที่เตรียมด้วยวิธีการที่แตกต่างกันมีอัตราส่วนโดยมวล
ของธาตุที่รวมกันเป็นสารประกอบหนึ่งๆ จะมีค่าคงที่ จึงตั้งเป็นกฎเรียกว่า กฎ
สัดส่วนคงที่ ตัวอย่างเช่น สารประกอบคอปเปอร์(II)ซัลไฟด์ ( CuS ) ที่เกิดจาก
การรวมตัวของทองแดงและกำามะถันจะมีอัตราส่วนโดยมวลเท่ากับ 2:1 เสมอ
ปริมาตรก๊าซในปฏิกิริยาเคมี
1. กฎของเกย์ลุสแซก
ในปี พ.ศ. 2531 โซเซฟ-ลุย-เก-ลูซัก
ได้ทดลองวัดปริมาตรของก๊าซที่ทำาปฏิกิริยาพอดีกันและปริมาตร
ของก๊าซที่ได้จากปฏิกิริยาณ อุณหภมิและความดันเดียวกัน แล้ว
สรุปเป็นกฎการรวมปริมาตรของก๊าซว่า "ในปฏิกิริยาเคมีที่เป็นก๊าซ
อัตราส่วนโดยปริมาตรของก๊าซที่ทำาปฏิกิริยาพอดีกันและปริมาตร
ของก๊าซที่เกิดจากปฏิกิริยาที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน จะเป็น
เลขจำานวนเต็มลงตัวน้อย ๆ"
2. กฎอาโวกาโดร
ในปี พ.ศ. 2354 อาเมเดโอ อาโวกาโดร ได้ศึกษากฎของเกย์-
ลูสแซกและอธิบายว่าการที่อัตราส่วนโดยปริมาตรของก๊าซที่
เข้าทำาปฎิกิริยาและที่ได้จากปฏิกิริยาเป็นเลขจำานวนเต็มน้อยๆคง
เป็นเพราะ ปริมาตรของก๊าซมีความสัมพันธ์กับจำานวนอนุภาคที่
รวมตัวกันเป็นสารประกอบ อาโวกาโดรจึงเสนอสมสุติฐานว่า"ที่
อุณหภูมิและความดันเดียวกัน ก๊าซทุกชนิดที่มีปริมาตรเท่ากันจะ
มีจำานวนโมเลกุลเท่ากัน
ไฮโดรเจน + ออกซิเจน -------> ไอนำ้า
2 cm3 1 cm3 2 cm3
2n โมเลกุล n โมเลกุล 2n โมเลกุล
2 โมเลกุล 1 โมเลกุล 2 โมเลกุล
หรือ 1 โมเลกุล 1/2 โมเลกุล 1 โมเลกุล
หรือ 2 อะตอม 1 อะตอม 2 อะตอม
หมายเหตุ
อัตราส่วนโดยปริมาตรของก๊าซต่าง ๆ ในปฏิกิริยาจะ
เท่ากับอัตราส่วนโดยโมลของก๊าซต่าง ๆ
ในปฏิกิริยาเดียวกันนั้น เช่น
N2(g) + 3H2(g) ------> 2NH3(g)
อัตราส่วนโดยปริมาตร N2 : H2 : NH3 = 1 : 3 : 2
อัตราส่วนโดยโมล N2 : H2 : NH3 = 1 : 3 : 2
การหาสูตรเอมพิรีคัล
สูตรเอมพิริคัล เป็นสูตรที่แสดงอัตราส่วนอย่างตำ่า
ของธาตุองค์ประกอบ เช่น ไฮโดรเจนเปอร์
ออกไซด์มีสูตรโมเลกุลเป็น H2O2 อัตราส่วน
อย่างตำ่าของจำานวนอะตอม H : O เท่ากับ 1 : 1
สูตรเอมพิริคัลจึงเป็น HO กลูโคสมีสูตรโมเลกุล
เป็น C6H12O6 อัตราส่วนอย่างตำ่าของจำานวน
อะตอม C : H : O เท่ากับ 1 : 2 : 1 สูตรเอมพิริ
คัลจึงเป็น CH2O
การหาสูตรเอมพิริคัล มีหลัก
ดังนี้
1. ต้องทราบว่าสารที่จะหาสูตรเอมพิริคัลประกอบด้วยธาตุ
ใดบ้าง
2. ต้องทราบมวลอะตอมของแต่ละธาตุในสารที่จะหาสูตร
เอาพิริคัล
3. ต้องทราบมวลของแต่ละธาตุในสารที่จะหาสูตร
4. ให้ข้อมูลจากข้อ 1, 2 และ 3 หาอัตราส่วนโดยโมล ด้วย
การนำามวลของแต่ละธาตุหารด้วยมวลอะตอมของมันมา
เข้าอัตราส่วน
5. สำาหรับการปัดจุดทศนิยมของตัวเลขในการหา
อัตราส่วนโดยโมล โดยทำาตัวเลขใดตัวเลขหนึ่ง ให้เป็น
1 แล้วจึงปัดจุดทศนิยมด้วยวิธีปัด 0.1 - 0.2 ทิ้ง ถ้าเป็น
0.8 - 0.9 ปัดขึ้นอีก 1 ถ้าเป็น 0.0 - 0.7
การหาสูตรโมเลกุลของสาร
ทั่วไป
สูตรโมเลกุลเป็นสูตรที่แสดงจำานวนอะตอมของธาตุองค์ประกอบที่มีอยู่ใน 1
โมเลกุลของสาร เช่น ไฮโดรเจนมีสูตรโมเลกุลเป็น H2 แสดงว่า 1 โมเลกุล
ประกอบด้วยไฮโดรเจน 2อะตอม ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์มีสูตรโมเลกุลเป็น
H2O2
การหาสูตรโมเลกุลของสารทั่วไป มีหลักดังนี้
1. ต้องทราบสูตรเอมพิริคัล
2. ต้องทราบมวลโมเลกุลโดยโจทย์กำาหนดมาให้ทางตรงหรือ
ทางอ้อมก็ได้
3. นำาข้อมูลที่ได้จากข้อ 1, 2 หาค่า n โดยใช้สูตร
(มวลของสูตรเอมพิริคัล) x n = มวล
โมเลกุล
n = เลขเป็นจำานวนเต็มบวก เช่น 1, 2,
3
การปัดจุดทศนิยมของค่า n ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป ให้ปัดขึ้น
อีกหนึ่ง แต่ถ้าตำ่ากว่า 0.5 ก็ปัดทิ้งไป เช่น 3.6
ก็ให้ปัดจุดทศนิยมเป็น4.0 และ 2.2 ปัดจุดทศนิยมเป็น
2.0
การหาสูตรโมเลกุลของก๊าซ และการหาร้อยละโดยมวล
ของธาตุจากสูตรเคมี
การหาสูตรโมเลกุลของก๊าซ มีหลัก
การดังนี้
1. สารทุกชนิดที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเป็นก๊าซหมด และ
สารที่จะหาสูตรโมเลกุลจะต้องเป็นก๊าซหรือไอเท่านั้น
2. สมมติสูตรโมเลกุลของก๊าซที่จะหาสูตรโดยทราบว่า
ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง
3. ต้องทราบปริมาตรของก๊าซต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกันใน
ปฏิกิริยา และปริมาตรของก๊าซต้องวัดที่อุณหภูมิ
4. หาอัตราส่วนโดยปริมาตรก๊าซต่าง ๆ เป็นอย่างตำ่า
5. เปลี่ยนอัตราส่วนโดยปริมาตรของก๊าซเป็นอัตราส่วน
โดยโมล โดยใช้กฎอาโวกาโดร
6. เขียนสมการของปฏิกิริยาเคมีตามโจทย์บอก แล้วเข้า
สมการพีชคณิตของจำานวนอะตอมทั้งหมด ทางซ้ายและ
ทางขวาของแต่ละธาตุให้เท่ากัน
การหาสูตรโมเลกุลของก๊าซ
มีหลักการดังนี้
การหาร้อยละโดยมวล
ของธาตุจากสูตรเคมี
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณ
ของสารในสมการเคมี
สำาหรับปฏิกิริยาที่เป็นก๊าซล้วน ๆ สามารถใช้
สัมประสิทธิ์ของก๊าซต่าง ๆ ในสมการ มาอ่าน
เป็นปริมาตรได้ แต่ต้องที่อุณหภูมิและความดัน
เดียวกัน
N2(g) + 3H2(g) ------> 2NH3(g) ที่อุณหภูมิ
และความดันเดียวกัน
ปริมาตร (หน่วยปริมาตร) 1 3 2
การคำานวณเกี่ยวกับสมการเคมี
มีหลักทั่วไปดังนี้
1. ต้องทราบสมการของปฏิกิริยาเคมีพร้อมดุล
2. พิจารณาเฉพาะสารที่โจทย์ถาม และกำาหนดให้
3.แล้วนำาสิ่งที่โจทย์กำาหนดให้มาคิดคำานวณหาสิ่งที่
ต้องการจากสมการได้โดยการเทียบบัญญัติไตรยางค์
ด้วยการใช้ความรู้เรื่องโมลหรืออาจจะคำานวณด้วยวิธี
หนึ่งโดยนำาจำานวนโมลของสาร ที่โจทย์ถามและโจทย์
กำาหนดให้มาเทียบอัตราส่วนกันจะเท่ากับจำานวนโมลที่
เป็น สัมประสิทธิ์ของสารที่โจทย์ถามและโจทย์กำาหนด
ให้ตามสมการ
สารกำาหนดปริมาณ (Limiting Reagent) และร้อยละ
ของผลได้ของสารผลิตภัณฑ์
สารกำาหนดปริมาณ (Limiting Reagent)
สารที่เข้าทำาปฏิกิริยามีปริมาณไม่พอดีกัน ปฏิกิริยาที่เกิด
ขึ้นจะสิ้นสุดเมื่อสารใดสารหนึ่งหมดสาร
ที่หมดก่อนจะเป็นตัวกำาหนดปริมาณของผลิตภัณฑ์ของ
สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นเรียกว่าสารกำาหนดปริมาณ
(Limiting Reagent)
1. โจทย์บอกข้อมูลของสารตั้งต้นมาให้มากกว่าหนึ่งชนิด
แต่ไม่บอกข้อมูลเกี่ยวกับสารผลิตภัณฑ์ ในการคำานวณ
ต้องพิจารณาว่าสารใดถูกใช้ทำาปฏิกิริยาหมด
2. โจทย์บอกข้อมูลของสารตั้งต้นมาให้มากกว่าหนึ่งชนิด
และบอกข้อมูลของสารผลิตภัณฑ์ชนิด ใดชนิดหนึ่งมา
ให้ด้วย
สารกำาหนดปริมาณในการเกิดปฏิกิริยาเป็นการคำานวณสาร
จากสมการของปฏิกิริยาที่โจทย์บอกข้อมูลเกี่ยวกับสารตั้ง
ต้นมาให้มากกว่าหนึ่งชนิด ลักษณะโจทย์มี 2 แบบ
สำาหรับการรายงานผล การทดลองนั้น จะ
เปรียบเทียบค่าที่ได้ตามทฤษฎีในรูปร้อย
ละซึ่งจะได้ความสัมพันธ์ดังนี้

More Related Content

What's hot

ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6A
Nattha Namm
 

What's hot (20)

แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
Chemographics : Gases
Chemographics : GasesChemographics : Gases
Chemographics : Gases
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6A
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
หน่วยที่ 4 สูตรเคมี (point)
หน่วยที่ 4 สูตรเคมี (point)หน่วยที่ 4 สูตรเคมี (point)
หน่วยที่ 4 สูตรเคมี (point)
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 

Similar to ปริมาณสารสัมพันธ์

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
chemnpk
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
Awirut619
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
Nawamin Wongchai
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
Kittivut Tantivuttiki
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
paknapa
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
Blovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
bee255taiy
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
kamon369
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
adiak11
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
adiak11
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
paknapa
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
paknapa
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
kamonmart
 

Similar to ปริมาณสารสัมพันธ์ (20)

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
Chemographics : Stoichiometry
Chemographics : StoichiometryChemographics : Stoichiometry
Chemographics : Stoichiometry
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 
Rate3
Rate3Rate3
Rate3
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 

ปริมาณสารสัมพันธ์