SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Concrete mix proportioning test
Materials Testing
Party 1
การทดสอบหาปฏิภาคส่วนผสมของคอนกรีต
วัตถุประสงค์
• เพื่อคำนวณหำปฏิภำคส่วนผสมของคอนกรีต
• เพื่อทดสอบหำควำมข้นเหลวของคอนกรีตสดที่ปฏิภำคส่วนผสมต่ำงๆ
โดยใช้วิธีกำรทดสอบค่ำกำรยุบตัวและกำรใช้โต๊ะกำรไหลแผ่มำตรฐำน
เอกสารอ้างอิง
มำตรฐำน ASTM C 143 , C 124
วัสดุ
คอนกรีตสดที่มีมวลรวมใหญ่สุดไม่เกิน 38 มม. (1 ½”)
2
1
หมายเหตุ ให้ผสมคอนกรีตในปริมำณที่เพียงพอสำหรับกำรหล่อแท่งตัวอย่ำง
สำหรับกำร ทดสอบในตอนที่ 2 และ 4 ดังนี้
1.ตัวอย่ำงรูปทรงกระบอกขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง 15 ซม. สูง 30 ซม. จำนวน 4
ตัวอย่ำง
2.ตัวอย่ำงรูปทรงกระบอกขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง 10 ซม. สูง 20 ซม.จำนวน 5
ตัวอย่ำง
3.ตัวอย่ำงรูปสี่เหลี่ยมลูกบำศก์ขนำด 15 x 15 ซม. สูง 15 ซม. จำนวน 5 ตัวอย่ำง
3
2
เครื่องมือ
1. กรวยเหล็กสำหรับวัดกำรยุบตัว ซึ่งเป็นรูปกรวยตัดทำด้วยแผ่นโลหะ
ตอนล่ำงมีเส้นผ่ำศูนย์กลำงภำยใน 200 มม. (8”) ตอนบนมีเส้นผ่ำศูนย์กลำงภำยใน
100 มม. (4”) และสูง 300 มม. (12”) มีหูสำหรับยกทั้งสองข้ำง
2.โต๊ะกำรไหลแผ่มำตรฐำน (Standard Flow Table) เป็นฐำนแผ่นเรียบ
ทำด้วยโลหะ ขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง 762 มม. (30”) มีเครื่องหมุน ซึ่งสำมำรถยกโต๊ะ
กำรไหลมำตรฐำนให้ขึ้นและปล่อยให้ตกลงได้เป็นระยะ 12.7 มม. ( ½ ”)
3. แบบรูปกรวยตัด (Frustum cone) ตอนบนมีเส้นผ่ำศูนย์กลำงภำยใน
171 มม. (6 ¾”) ตอนล่ำงมีเส้นผ่ำศูนย์กลำงภำยใน 254 มม. (10”) และสูง 127 มม. (5”)
4. เหล็กกระทุ้ง เป็นแท่งเหล็กกลมขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง 16 มม. (5/8”)
ยำวประมำณ 600 มม. (24”) ปลำยกลมมน
5. เครื่องวัดระยะกำรยุบตัว
6. เกรียงเหล็กและแปรงเหล็ก
7. แผ่นเหล็ก
8. ตลับเมตร
4
3
ทฤษฎี
การออกแบบส่วนผสมคอนกรีตเพื่อให้ได้คอนกรีตที่มีความข้นเหลวเหมาะสาหรับการทางาน
เมื่อคอนกรีตแข็งตัวแล้วมีกาลังและความคงทนตามที่ต้องการในราคาที่ประหยัด มีวิธีการทา 2 ขั้นตอน คือ
1. การเลือกวัสดุประกอบที่เหมาะสม
2. การคานวณหาสัดส่วนของวัสดุผสม
การคานวณหาวัสดุที่ใช้ในการผสมคอนกรีต สาหรับในงานเล็ก ๆ ที่ไม่ต้องการกาลังคอนกรีต
สูงมากหรือใช้ปริมาณคอนกรีตไม่มากนัก อาจกาหนดได้เลยโดยอาศัยข้อมูลหรือสถิติที่เคยปฏิบัติมาแล้ว
เป็นเกณฑ์ดังในตารางที่ 1 สาหรับงานที่ต้องการควบคุมคุณภาพของคอนกรีตที่ได้ ก็จะมีวิธีการอยู่ 2
อย่าง คือ วิธีทดลองผสม และวิธีของ ACI
5
4
วิธี ACI
วิธีของ ACI ถูกเสนอโดยสถำบันคอนกรีตของอเมริกำ เป็นวิธีที่ให้ผลค่อนข้ำงแน่นอนไม่เปลี่ยนแปลงและ
ถูกต้อง ซึ่งจะต้องทรำบถึงคุณสมบัติต่ำง ๆ ของวัสดุที่ใช้ทำคอนกรีตเสียก่อน เช่น ค่ำควำมถ่วงจำเพำะ หน่วย
น้ำหนัก โมดูลัสควำมละเอียด และเปอร์เซ็นต์กำรดูดซึมสำมำรถดำเนินกำรเป็นขั้น ๆ ดังนี้
1. เลือกค่ำควำมยุบตัวที่เหมำะสมกับประเภทของงำน เพื่อให้ได้ควำมข้นเหลวพอที่จะทำงำนได้สะดวก
(ตำรำงที่ 2)
2. เลือกขนำดโตสุดของวัสดุผสม ไม่ควรเกินกว่ำ 1/5 ของส่วนแคบที่สุด ของแบบ หรือ 1/3 ของ
ควำมหนำของแผ่นพื้น หรือ ¾ ของขนำดควำม ห่ำงของเหล็กเสริมที่น้อยที่สุด(ตำรำงที่ 3)
3. ประมำณปริมำณน้ำที่ผสมและปริมำณฟองอำกำศที่เกิดขึ้น ซึ่งขึ้นอยู่กับขนำดโตสุด รูปร่ำง และ
ส่วนขนำดคละของวัสดุผสม (ตำรำงที่ 4)
4. เลือกอัตรำส่วนระหว่ำงน้ำต่อซีเมนต์ ขึ้นอยู่กับลักษณะที่คอนกรีตนั้นถูกนำออกไปใช้งำนและกำลัง
อัดประลัยของคอนกรีตที่ต้องกำร (ตำรำงที่ 5 และ 6)
6
5
5. คำนวณปริมำณซีเมนต์ที่ต้องใช้เมื่อทรำบปริมำณน้ำที่ใช้ต่อหนึ่งหน่วยปริมำตรของคอนกรีต และ
อัตรำส่วนระหว่ำงน้ำต่อซีเมนต์โดยน้ำหนักแล้ว ปริมำณซีเมนต์ที่ต้องใช้ในคอนกรีตต่อหนึ่งหน่วยปริมำตรย่อมหำ
ได้ซึ่งเท่ำกับ ปริมำณน้ำจำกชั้นที่ 3 หำรด้วยอัตรำส่วนจำกชั้นที่ 4
6. คำนวณปริมำณวัสดุผสมหยำบปริมำณของวัสดุผสมหยำบคิดเป็นน้ำหนักมีค่ำเท่ำกับปริมำตรของ
วัสดุผสมหยำบคูณด้วยหน่วยน้ำหนักของวัสดุผสมหยำบนั้น โดยพิจำรณำได้จำกตำรำงที่ 7
7. ประมำณปริมำณวัสดุผสมละเอียด เมื่อได้ค่ำต่ำง ๆ ของส่วนผสมจนถึงลำดับที่ 6 แล้ว ปริมำณของ
วัสดุผสมละเอียดจะหำได้ดังนี้
ปริมำตรเนื้อแท้ของวัสดุผสมละเอียด = ปริมำตรของคอนกรีต - ปริมำตรเนื้อแท้ของส่วนผสมต่ำง ๆ
(ยกเว้นทรำย)
โดยปริมำตรเนื้อแท้ของวัสดุคำนวณได้จำกควำมถ่วงจำเพำะ และน้ำหนักของวัสดุ คือ
ปริมำตรเนื้อแท้ =
น้ำหนักของวัสดุ
ควำมถ่วงจำเพำะ 𝑥 หน่วยน้ำหนักของน้ำ
8. ปรับส่วนผสมเนื่องจำกควำมชื้นของวัสดุผสมตำมปกติ วัสดุผสมที่ใช้งำนจริงจะมีควำมชื้นสูงกว่ำใน
สภำวะอิ่มตัวและผิวแห้ง ดังนั้นจึงต้องแก้ส่วนผสมให้เข้ำกับสภำพจริง โดยเพิ่มน้ำหนักของวัสดุผสมขึ้นเท่ำกับ
น้ำหนักน้ำที่ติดมำ และลดน้ำในส่วนผสมออกในจำนวนเท่ำกัน ในกรณีที่วัสดุผสมแห้งกว่ำสภำวะอิ่มตัวผิวแห้ง
จะต้องแก้ส่วนผสมเช่นเดียวกันในทำงตรงกันข้ำม แล้วกำรปรับส่วนผสมด้วยกำรทดลองผสม
7
6
ตารางที่ 1 สัดส่วนการผสมคอนกรีตสาหรับงานประเภทต่าง ๆ
8
7
ตารางที่ 2 ค่าความยุบตัวของคอนกรีตที่ใช้สาหรับการก่อสร้างประเภทต่าง ๆ
9
8
ตารางที่ 3 ขนาดโตสุดขอวัสดผสมสาหรับงานก่อสร้างประเภทต่าง ๆ
10
9
ตารางที่ 4 ปริมาณน้าที่ต้องการสาหรับค่าความยุบตัวและวัสดุผสมขนาดต่าง ๆ
11
10
ตารางที่ 5 อัตราส่วนน้าต่อซีเมนต์สูงสุดโดยน้าหนักที่ยอมให้ใช้ได้สาหรับคอนกรีตในสภาวะเปิดเผย
รุนแรง
12
11
ตารางที่ 6 ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนน้าต่อซีเมนต์กับกาลังอัดประลัยของคอนกรีต
13
12
ตารางที่ 7 ปริมาตรของวัสดุผสมหยาบต่อหนึ่งปริมาตรของคอนกรีต
14
13
วิธีทดสอบความสามารถเทได้ (Workability)
วิธีทดสอบความสามารถเทได้(Workability) ของคอนกรีตไม่อาจทาได้โดยตรงแต่อย่างไรก็ตาม
คุณสมบัติที่สามารถวัดได้คือความข้นเหลว (Consistency) ของคอนกรีต ซึ่งเป็นเครื่องแสดงว่าคอนกรีตที่ผสมเสร็จ
ใหม่ ๆ นั้น กระด้างพอดี เปียกหรือเละความสามารถเทได้ของคอนกรีตจะเป็นที่พอใจ หากความข้นเหลวของ
คอนกรีตที่ผสมเสร็จใหม่ ๆ นั้น เหมาะสมที่จะทาให้คอนกรีตมีความแน่นตัวดีตามสภาพของแต่ละงาน
การทดสอบค่าการยุบตัวของคอนกรีต (Slump Test)
การทดสอบค่าการยุบตัวของคอนกรีต (Slump Test) เป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ทดสอบหาความข้นเหลวของ
คอนกรีต ใช้กันทั่วไปทั้งในสนามและในห้องปฏิบัติการ วิธีนี้ทาได้ง่ายและเครื่องมือที่ใช้ก็ทาได้ไม่ยากนัก ค่าการ
ยุบตัวของคอนกรีตที่วัดได้สาหรับคอนกรีตที่มีอัตราส่วนผสมเดียวกันจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณน้าที่ใช้
ผสมคอนกรีต ค่าการยุบตัวของคอนกรีตยิ่งน้อย กาลังของคอนกรีตที่ได้ยิ่งสูงขึ้น สาหรับคอนกรีตที่มีก้อนหินหรือ
กรวดขนาดโตกว่า 2 นิ้ว อยู่มาก การวัดหาค่าการยุบตัวโดยวิธีนี้จะไม่ได้ผลถูกต้องเพราะจะเทียบกันไม่ได้
15
14
รูปแบบการยุบตัวของคอนกรีต
การยุบตัวของคอนกรีตโดยทั่วไปมี 3 แบบ คือ
1. กำรยุบตัวแบบถูกต้อง (True Slump) เป็นกำรยุบตัวของคอนกรีตภำยใต้น้ำหนักของคอนกรีต
2. กำรยุบตับแบบเฉือน (Shear Slump) เป็นกำรยุบตัวแบบเฉือนซึ่งเป็นกำรยุบตัวที่เกิดจำกกำรเลื่อน
ไถลของคอนกรีตส่วนบนในลักษณะเฉือนลงไปด้ำนข้ำง
3. กำรยุบตัวแบบล้ม (Collapse Slump) เป็นกำรยุบตัวที่เกิดจำกคอนกรีตมีควำมเหลวมำก
16
15
การทดสอบหาค่าการไหลแผ่ของคอนกรีต
การทดสอบหาค่าการไหลแผ่ของคอนกรีต เป็นกาทดสอบหาความข้นเหลว (Consistency) วิธีหนึ่ง โดย
วัดค่าการกระจายของคอนกรีตที่ได้จากการกระจายของคอนกรีตที่ได้จากการใช้โต๊ะการไหลแผ่มาตรฐาน ซึ่งถูกยก
ให้ขึ้นและปล่อยให้ตกลงเป็นระยะ 12.7 มม. ( ½ ”) โดยจะต้องยกขึ้น-ลง เป็นจานวน 15 ครั้ง ภายใน 15 วินาที ทาให้
คอนกรีตแผ่กระจายไปรอบด้าน ค่าการไหลแผ่ของคอนกรีตเป็นเปอร์เซ็นต์ คานวณได้จาก
ค่าการไหลแผ่ , (%) =
𝐷1
−
𝐷0
𝐷0
𝑥 100
โดยที่ D1 = เส้นผ่าศูนย์กลางของคอนกรีตที่แผ่กระจายออกโดยเฉลี่ย, ซม.
D0 = เส้นผ่าศูนย์กลางเดิมขงคอนกรีตที่ฐาน มีค่าเท่ากับ 25.4 ซม.
ค่าการไหลแผ่ (Flow) มีความสัมพันธ์กับค่าการยุบตัว (Slump) อย่างกว้าง ๆ ดังแสดงในตารางที่ 9
17
16
ตารางที่ 8 ค่าการยุบตัวของคอนกรีตสาหรับงานก่อสร้างประเภทต่าง ๆ
18
17
ตารางที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างทาการไหลแผ่ละค่าการยุบตัว
19
18
วิธีทดสอบ
- การทดสอบหาค่าการยุบตัวของคอนกรีต (Slump Test of Concrete)
1. นำ Slump Cone วำงบนแผ่นเหล็ก โดยเอำปลำยตัดที่มีเส้นผ่ำศูนย์กลำงใหญ่กว่ำให้อยู่ด้ำนล่ำงยึด
กรวยเหล็กให้แน่นโดยเอำเท้ำทั้งสอง ข้ำงเหยียบที่เหยียบไว้เทคอนกรีต ลงไปในกรวยเหล็กให้ได้ปริมำตรประมำณ
1/3 ของปริมำตรของกรวยเหล็กกระทุ้งให้ลึกถึงแผ่นเหล็ก จำนวน 25 ครั้ง
2. เติมคอนกรีตลงไปในกรวยเหล็กอีกประมาณ 1/3 ของปริมาตร แล้วกระทุ้งให้ ทั่ว 25 ครั้ง โดยให้
ปลายเหล็กกระทุ้งถึงผิวบนของคอนกรีตชั้นแรกเท่านั้น
3. เติมคอนกรีตลงไปในกรวยเหล็กอีกจนล้น แล้วกระทุ้งให้ทั่ว 25 ครั้ง โดยให้ปลายเหล็กกระทุ้งถึงผิว
บนของคอนกรีตชั้นที่ 2 เท่านั้น หากระดับของคอนกรีตต่ากว่ากรวยเหล็กในระหว่างกระทุ้ง ให้เติมคอนกรีตให้เต็ม
อยู่เสมอ
4. ปาดคอนกรีตที่ผิวบนให้เรียบ ยกกรวยเหล็กขึ้นในแนวดิ่งอย่างระมัดระวังและสม่าเสมอ แล้ววัดค่า
การยุบตัวของคอนกรีต โดยวัดค่าความแตกต่างระหว่างความสูงของกรวยเหล็กและความสูงของคอนกรีตที่ยุบตัวลง
ไป (วัดที่แนวแกนตั้ง)
หมายเหตุ : ระยะเวลาในการทดสอสบทั้งหมดตั้งแต่เริ่มใส่คอนกรีตจนกระทั่งยกกรวยเหล็กออก ควร
อยู่ในระยะเวลา 2 ½ นาที
20
19
- การทดสอบหาค่าการไหลแผ่ของคอนกรีต (Flow Test of Concrete)
1. ทำควำมสะอำดโต๊ะกำรไหลแผ่วำงแบบรูปกรวยตัดให้ตั้งบนกลำงจำนของ บรรจุคอนกรีตที่เพิ่ง
ผสมเสร็จใหม่ ๆ ลงในกรวยประมำณ½ ของปริมำตรทั้งหมด แล้วกระทุ้งให้ทั่ว 25 ครั้ง หลังจำกนั้นก็เติมคอนกรีตให้
เต็มและกระทุ้งแบบเดียวกันอีก 25 ครั้ง
2. ปำดหน้ำคอนกรีตให้เรียบด้วยเกรียงค่อย ๆ ยกกรวยออก แล้วหมุนที่หมุนให้โต๊ะกำรไหลแผ่มำตรฐำน
ให้ขึ้นและปล่อยให้ตกลงเป็นระยะ 12.7 มม. โดยจะต้องยกขึ้น-ลง เป็นจำนวน 15 ครั้ง ภำยใน 15 วินำที ด้วยอัตรำที่
สม่ำเสมอทำให้
3. วัดเส้นผ่ำศูนย์กลำงของคอนกรีตที่แผ่กระจำยออกโดยเฉลี่ยจำนวน 6 ครั้ง คำนวณหำค่ำกำรไหลแผ่
21
20
กำลังประลัยที่ 28 วัน 210 กก./ซม.2
ค่ำควำมยุบตัว 7.5 ± 2.5 cm
ควำมถ่วงจำเพำะของปูนซีเมนต์ประเภทที่ 1 3.12
ขนำดโตสุดของวัสดุผสมหยำบ 25 มม.
ควำมถ่วงจำเพำะมวลรวมหยำบ 3.03
ร้อยละกำรดูดซึมมวลรวมหยำบ 0.950 %
หน่วยน้ำหนัก มวลรวมหยำบ 1660 กก./ม.2
ควำมถ่วงจำเพำะมวลรวมละเอียด 2.458
ร้อยละกำรดูดซึมมวลรวมละเอียด 0.901 %
โมดูลัสควำมละเอียดของมวลรวมละเอียด 2.36
ปริมำณควำมชื้นในวัสดุหยำบ 0.2 %
ปริมำณควำมชื้นในวัสดุละเอียด 0.2 %
ข้อมูลสาหรับการคานวณออกแบบส่วนผสมคอนกรีต
22
21
ไม่ใช้สารกักกระจายฟองอากาศหรือสารเคมีผสมเพิ่ม
ไม่อยู่ในสภาวะเปิดเผยรุนแรง
ขนำดโตสุดขอวัสดุหยำบ เป็น 25 มม. ค่ำกำรยุบตัว 5 ถึง 10 ซม.
ปริมำณน้ำที่ต้องใช้ เท่ำกับ 195 ลิตร/ม.3 ค่ำ Air Volume เท่ำกับ 1.5%
23
22
Compressive Strength ที่ 210 กก./ซม.2 จะได้อัตราส่วนของน้า 0.684
ปริมำณซีเมนต์ที่ต้องกำร เท่ำกับ 195/0.684 = 285 กก./ม.3
24
23
ค่ำโมดูลัสควำมละเอียดของวัสดุ เท่ำกับ 2.36 และ ขนำดโตสุดของวัสดุผสมหยำบเป็น 25
มม.
จะได้ปริมำตรของวัสดุผสมหยำบในสภำพแห้ง และอัดแน่น เท่ำกับ 0.714 ม.3/ม.3 ของ
คอนกรีต
แต่หน่วยน้ำหนักของมวลรวมหยำบ เท่ำกับ 1660 กก./ม.3
ดังนั้นน้ำหนักของวัสดุผสมหยำบที่ใช้เท่ำกับ 0.714(1660) = 1185 กก./ม.3
25
24
หาปริมาณของวัสดุผสมละเอียด
ปริมำตรเนื้อแท้ของส่วนผสม
ปริมำณของน้ำ (1) 195
1000
0.195 ม.3
ปริมำตรของซีเมนต์ (2) 285
3.12 𝑥 1000
0.091 ม.3
ปริมำตรของวัสดุผสมหยำบ (3) 1185
3.03 𝑥 1000
0.391 ม.3
ปริมำตรของฟองอำกำศ (4) 0.015 𝑥 1.0 0.015 ม.3
ดังนั้น ปริมำตรของส่วนผสมทั้งหมดยกเว้นทรำย (1)+(2)+(3)+(4) 0.692 ม.3
ปริมำตรของทรำยที่ต้องใช้ 1-0.692 0.308 ม.3
น้ำหนักของทรำยแห้ง 0.308 𝑥 2.458 𝑥 1000 757 กก.
26
25
ปรับความชื้น มวลรวมหยาบ 0.2 % และ มวลรวมละเอียด 0.2 %
ที่ 1 ลบ.เมตร - น้ำหนักวัสดุผสมหยำบ (1) 1185 𝑥 1.002
- น้ำหนักวัสดุผสมละเอียด (2) 757 𝑥 1.002
- น้ำที่ผิวของวัสดุผสมหยำบ (3) 0.2 - 0.950
- น้ำที่ผิวของวัสดุผสมละเอียด (4) 0.2 - 0.901
- ปริมำณน้ำที่ต้องใช้จริง (5) 195 - 1185(−0.75)
100
- 757(−0.701)
100
- ปริมำณซีเมนต์ 209
0.684
= 306 กก.
- น้ำหนักรวม (1)+(2)+(5)+(6) = 2461 กก.
= 1187 กก.
= 759 กก.
= -0.75 %
= -0.701 %
= 209 กก.
27
26
ปริมำตรของกรวยทดสอบ Slump
ปริมำตรของกรวยทดสอบ Flow
= 0.005498 ม.3
= 0.004376 ม.3
ปริมาตรทั้งหมด
- กรวยทดสอบ Slump ทดสอบ 3 ครั้ง
- กรวยทดสอบ Flow ทดสอบ 3 ครั้ง
- รวมทั้งหมด
เผื่อ 50 %
0.005498(3)ม.3
0.004376(3)ม.3
0.029622 ม.3
0.044433 ม.3
ส่วนผสมทั้งหมดของคอนกรีต ที่ 0.044433ลบ.เมตร
- หิน(มวลรวมหยำบ) 0.044433(1187)
- ทรำย(มวลรวมละเอียด) 0.044433(759)
- น้ำ 0.044433 (209)
- ซีเมนต์ 0.044433 (306)
- รวม
53 กก.
34 กก.
9 กก.
14 กก.
110 กก.
28
27
การทดสอบครั้งที่
ค่าการยุบตัว
ซม.
ค่าการยุบตัวโดยเฉลี่ย
ซม.
1 14
13.972 13.9
3 14
การทดสอบ
ครั้งที่
เส้นผ่าศูนย์
กลางเฉลี่ยที่
กระจาย
ซม.
ค่าการไหลแผ่
%
ค่าการไหลแผ่
เฉลี่ย %
1 43.5 71.26
71.262 43 69.29
3 44 73.23
29
28
ปรับแก้น้ากับซีเมนต์
เนื่องจำกค่ำกำรยุบตัวได้มำกกว่ำที่กำหนด 14-10 = 4 cm. ดังนั้นจึงต้องลดน้ำ
ปรับแก้จำก 1cm.ต่อน้ำ 2 kg. ดังนั้นต้องลดน้ำ 8 kg.
30
29
ปริมาณทั้งหมด
- กรวยทดสอบ Slump ทดสอบ 3 ครั้ง
- ลูกบำศก์ (15 𝑥 15 𝑥 15)10-6 จำนวน 5 ตัวอย่ำง
- ทรงกระบอก d = 15 cm. , L = 30 cm. จำนวน 4 ตัวอย่ำง
- ทรงกระบอก d = 10 cm. , L = 20 cm. จำนวน 5 ตัวอย่ำง
- รวมทั้งหมด
เผื่อ 50 %
0.005498(3) ม.3
0.003375(5) ม.3
0.005301(4) ม.3
0.001571(5) ม.3
0.063328 ม.3
0.094992 ม.3
ปรับแก้น้ำ 209-8
ปรับแก้ซีเมนต์ 201/0.684
201 กก.
294 กก.
ส่วนผสมทั้งหมดของคอนกรีต ที่ 0.094992ลบ.เมตร
- หิน(มวลรวมหยำบ) 0.094992(1187) เท่ำกับ 113 กก.
- ทรำย(มวลรวมละเอียด) 0.094992(759) เท่ากับ 72 กก.
- น้ำ 0.094992 (201) เท่ากับ 19 กก.
- ซีเมนต์ 0.094992 (294) เท่ากับ 28 กก.
- รวม เท่ากับ 232 กก.
31
30
การทดสอบครั้งที่
ค่าการยุบตัว
ซม.
ค่าการยุบตัวโดยเฉลี่ย
ซม.
1 9
7.52 6
3 7.5
32
31
สรุปผลการทดสอบ
จำกกำรคำนวณหำปฏิภำคส่วนผสมเพื่อให้ก้อนตัวอย่ำงคอนกรีตได้กำลังอัด 210
ksc และได้ค่ำกำรยุบตัว 7.5±2.5 สัดส่วนกำรผสมคอนกรีตคือ ปูนซีเมนต์ 28 กก. (ทรำย)
มวลรวมละเอียด 72 กก. มวลรวมหยำบ(หิน) 113 กก. น้ำ 9 กก. เรำนำคอนกรีตสดที่ได้ไป
ทดสอบค่ำกำรยุบตัว ได้ค่ำกำรยุบตัวเฉลี่ยเท่ำกับ 7.5 ซม. และ ค่ำกำรไหลแผ่เฉลี่ย % เท่ำกับ
71.26%
33
32
วิจารณ์ผลการทดสอบ
จำกกำรทดลองได้ค่ำกำรยุบตัวเฉลี่ยเท่ำกับ 7.5 ซม. และเมื่อนำไปทดสอบค่ำกำร
ไหลแผ่ ได้ค่ำกำรไหลแผ่เฉลี่ยเท่ำกับ 71.26% เมื่อนำไปเปรียบเทียบกับตำรำงควำมสัมพันธ์
ระหว่ำงค่ำกำรไหลแผ่และค่ำกำรยุบตัว (ตำรำงที่ 9) สำมำรถระบุได้ว่ำคอนกรีตสดที่ได้มี
ควำมข้นเหลวอยู่ในระดับปำนกลำง นั้นก็คือคอนกรีตเกำะตัวกันดี มีควำมข้นเหลวพอดี
สำมำรถหล่อลงแบบได้ง่ำย ถึงแม้ว่ำบำงทีจะต้องทำให้แน่นโดยใช้เครื่องเขย่ำ ซึ่งสำมำรถ
นำไปใช้ในแบบหล่อได้เลย
34
33
การเก็บตัวอย่างก้อนปูน
35
1. ทำควำมสะอำดแบบหล่อ อย่ำให้มีฝุ่นหรือปูนเก่ำติดเหลืออยู่ในแบบ ด้ำนในแบบ
ที่สัมผัสกับคอนกรีตจะต้องทำน้ำมันให้ทั่ว แบบเมื่อประกอบแล้วต้องมีส
กรูหรือที่รัดแบบยึดติดกันแน่นทั้งด้ำนข้ำงและฐำน
การหล่อแท่งตัวอย่างคอนกรีต
2.ใช้แบบหล่อที่ทำด้วยเหล็กรูปทรงกระบอกขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง 15 ซม. สูง 30 ซม.และแบบ
หล่อรูปทรงลูกบำศก์ ขนำด 15×15 ซม. สูง 15ซม. เพื่อนำไปใช้ในกำรทดสอบควำมต้ำนทำน
แรงอัด และแบบหล่อรูปทรงกระบอกขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง 10 ซม. สูง 20 ซม.เพื่อนำไปใช้
ทดสอบหำกำลังดึงโดยในกำรหล่อให้แบ่งเติมคอนกรีตออกเป็น 3 ชั้น กระทุ้งชั้นละ 25 ครั้ง กระทุ้ง
ให้สม่ำเสมอทั่ว ๆ ผิวหน้ำ
36
34
3. ตัวอย่ำงคอนกรีตที่ทำเสร็จแล้ว ควรใช้กระสอบที่
เปียกชื้นคลุมไว้ หรือเก็บก้อนตัวอย่ำงไว้ในที่ที่
ไม่ให้ถูกแสงแดด หรือฝน จำกนั้นทิ้งก้อนคอนกรีต
ไว้24 ชม.
4. หลังจำกนั้นถอดแบบออก เขียนรำยละเอียดต่ำง ๆ ไว้หน้ำก้อนปูน จำกนั้นนำก้อนตัวอย่ำง
ไปบ่มโดยกำรแช่น้ำ จนถึงเวลำทำกำรทดสอบ โดยทั่วไปจะทำกำรทดสอบที่อำยุคอนกรีต 7
วัน และ 28 วัน
37
35
5. เมื่อถึงกาหนดเวลาทดสอบ นาก้อนคอนกรีตตัวอย่างขึ้นจากบ่อบ่ม ทิ้งไว้ให้ผิวแห้ง
ชั่งน้าหนัก วัดขนาด จดบันทึก และจะนาก้อนตัวอย่างไปทดสอบความต้านทานแรงอัด
และการทดสอบหาค่ากาลังดึงของคอนกรีต
38
36
จบการนาเสนอจบการนาเสนอ
By
Party 1
ขอบคุณค่ะ/ครับ
39

More Related Content

What's hot

รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบKasetsart University
 
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2Chattichai
 
สูตรอินทิเกรต และ ดิฟ
สูตรอินทิเกรต และ ดิฟสูตรอินทิเกรต และ ดิฟ
สูตรอินทิเกรต และ ดิฟTrae Treesien
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธChattichai
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2ทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)Puchong Yotha
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์wisita42
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชาkkrunuch
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหลthanakit553
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 

What's hot (20)

รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
 
Chemographics : Crystalstructure
Chemographics : CrystalstructureChemographics : Crystalstructure
Chemographics : Crystalstructure
 
สูตรอินทิเกรต และ ดิฟ
สูตรอินทิเกรต และ ดิฟสูตรอินทิเกรต และ ดิฟ
สูตรอินทิเกรต และ ดิฟ
 
Triaxcial test
Triaxcial testTriaxcial test
Triaxcial test
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
 
2 6
2 62 6
2 6
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 

การทดสอบหาปฏิภาคส่วนผสมของคอนกรีต