SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
[เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]                    1

                      ใบความรูที่ 2 สวนประกอบของระบบคอมพิวเตอร
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง31101)                เวลา 4 ชั่วโมง                ครูผูสอน ครูณัฐพล บัวอุไร

สวนประกอบของระบบคอมพิวเตอร
        สวนประกอบของระบบคอมพิวเตอรแบง เปน 5 สวน คือ ฮารดแวร ซอฟตแวร ขอมูล ผูใช และ
กระบวนการ ซึ่ง มีลักษณะคลายกับ องคป ระกอบของระบบสารสนเทศที่นําเสนอในบทที่ 1 เรื่องระบบ
สารสนเทศ ทั้งนี้เนื่องจากระบบสารสนเทศในปจจุบันมีการนําคอมพิวเตอรมาประยุกตใชเพื่อจัดการกับขอมูล
เปนหลักนั่นเอง
        ฮารดแวร (Hardware)
        ฮารดแวรคือเครื่องมือหรืออุปกรณทั้งหมดที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร ทั้งนี้รวมถึงอุปกรณเชื่อมตอเพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพของคอมพิวเตอรในดานตางๆ ดวย ฮารดแวรมีหลายประเภท ทําหนาที่แตกตางกันตามระบบ
การทํางานของคอมพิวเตอร ในหนวยการเรียนรูนี้ จะนําเสนอตัวอยางของฮารดแวรที่นิยมใชงานในปจจุบัน
ดังนี้
              แปนพิมพหรือคียบอรด (Keyboard) ทําหนาที่รับขอมูลตัวหนังสือหรือสัญลักษณตางๆ ดวย
               การกดที่แปนพิมพ ภายในจะมีแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสเพื่อแปลงตัวหนังสือหรือสัญลักษณที่
               กดลงไปเปนรหัสหรือขอมูลดิจิทัล มีตําแหนงของแปนพิมพเรียงกันเหมือนเครื่องพิมพดีด




              เมาส (Mouse) เปนฮารดแวรทําหนาที่รับขอมูล ดวยการควบคุมตัวชี้ตําแหนงหรือเคอรเซอร
               (Curser) บนจอภาพ โดยจะรับขอมูลผานคําสั่งคลิก ดับเบิลคลิก คลิกขวา และแดรก (Drag)




                  ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
[เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]          2

 สแกนเนอร (Scanner) เปนอุปกรณรับขอมูลที่ไดจากการแปลงคาแสงที่ตกกระทบวัตถุให
  เปนสัญญาณดิจิทัลที่แสดงผลออกมาในรูปแบบของไฟลรูปภาพภายในคอมพิวเตอร




 กลองวีดีโอ (Video Digital Camera) เปนอุปกรณรับขอมูลประเภทภาพเครื่องไหว ซึ่งจะ
  บันทึกขอมูลลงในหนวยจัดเก็บขอมูลสํารอง มีน้ําหนักเบา พกพาไดสะดวก สามารถดูไฟล
  ภาพเคลื่อนไหวไดจากจอภาพที่ตัวกลอง




 การดเครือขาย (Network Card) หรือ การดแลน (LAN Card) ทําหนาที่เชื่อมตอสัญญาณ
  ระหวางเครื่องคอมพิวเตอรกับฮารดแวรอื่นๆ หรือระหวางเครื่องคอมพิวเตอรดวยกันใน
  ระบบเครือขาย




 เมนบอรด (Mainboard) เปนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ติดตั้งแผงวงจรไฟฟาหรืออุปกรณ
  อิเล็กทรอนิกสหลายๆ สวนเขาดวยกัน เชน ซีพียู แรม การดแสดงผล การดเสียง เปนตน




     ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
[เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]               3

 ฮารดดิสก (Harddisk) เปนฮารดแวรสําหรับบันทึกขอมูลหลักที่ใชกับคอมพิวเตอร สามารถ
  เก็บขอมูลไดมากกวาสื่อบันทึกอื่นๆ มีหลักการทํางานเหมือนกับแผนดิสกเกตต คือ การอาน
  ขอมูลบนจานแมเหล็ก




 เครื่องอานซีดี/ดีวีดี (CD/DVD Drive) ใชสําหรับอานและบันทึกขอมูลดวยซีดีหรือดีวีดี มี
  หลักการทํางานดวยการบันทึกขอมูลลงบนจานแมเหล็ก




 จอภาพ (Monitor) เปนฮารดแวรที่ทําหนาที่แสดงผลเพื่อสื่อสารกับผูใชเปนหลัก ปจจุบันมี
  การพัฒนาอยางตอเนื่อง แบงเปน 3 ประเภท ไดแก จอภาพวีจีเอ แบบพลาสมา แลจอภาพ
  แบบสัมผัส




 ลําโพง (Speaker) ทําหนาที่แสดงผลขอมูลในรูปแบบเสียง




 เครื่องพิมพ (Printer) เปนฮารดแวรที่ทําหนาที่ในหนวยแสดงผล ใชสําหรับแสดงผลขอมูลใน
  รูปแบบสิ่งพิมพ




     ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
[เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]                      4

              ยูเอสบีแฟรสไดรฟ (USB Flash Drive) ทําหนาที่จัดเก็บหรือบันทึกขอมูล เปนสื่อบันทึก
               ขอมูลสํารองที่นิยมใชมากในปจจุบัน เนื่องจากมีรูปแบบที่สวยงาม น้ําหนักเบา พกพาสะดวก




              เคส (Case) เปนกลองเหล็กหรือพลาสติกแข็ง ใชสําหรับติดตั้งฮารดแวรคอมพิวเตอร เชน
               เมนบอรด เครื่องจายไฟ เครื่องอานเขียนแผนซีดี/ดีวีดี การด เปนตน




         ซอฟตแวร (Software)
        ซอฟตแวรคือโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่ทําใหฮารดแวรทํางานตามความตองการของผูใช ซอฟตแวร
แบงเปน 2 ประเภท คือ ซอฟตแวรระบบ และ ซอฟตแวรประยุกต
         1. ซอฟตแวรระบบ (System Software) ซอฟตแวรระบบ คือ ซอฟตแวรที่ชวยในการจัดการระบบ
คอมพิวเตอร จัดการทางดานอุปกรณรับเขาและสงออก การรับขอมูลจากแผงแปนอักขระ การแสดงผลบน
จอภาพ การนําขอมูลออกไปพิมพยังเครื่องพิมพ การดูแล การจัดเก็บขอมูลเปนแฟม การเรียกคนขอมูล การ
สื่อสารขอมูล ซอฟตแวรระบบจึงหมายถึง ซอฟตแวรที่ดูแลจัดการอุปกรณตาง ๆ ที่มีอยูในระบบ ซอฟตแวร
ระบบที่รูจักกันดี คือ ระบบปฏิบัติการ (operating system) เชน เอ็มเอสดอส ยูนิกซ โอเอสทู วินโดวส เปน
ตน
         ซอฟต แ วร ร ะบบที่ รู จัก กั นดี คือ ซอฟต แวร ควบคุ ม การปฏิ บั ติก ารของคอมพิ วเตอร ที่เ รี ยกว า
ระบบปฏิบัติการ
         ระบบปฏิบัติการเปนชุดคําสั่งที่ใชควบคุมระบบฮารดแวรและซอฟตแวรอื่น ๆ ของคอมพิวเตอรให
ทํางานอยางถูกตอง ซอฟตแวรนี้เชื่อมอยูระหวางซอฟตแวรประยุกตกับฮารดแวรที่เปนหนวย ประมวลผล
หนวยความจํ า หน วยขับ แผนบัน ทึก แผงแปน อัก ขระและจอภาพ ในเครื่ องระดับ ไมโครคอมพิ วเตอร
ระบบปฏิบัติการนี้จะสงงานผานไปยังโปรแกรมควบคุมการจัดการพื้นฐาน ซึ่งเปนโปรแกรมยอยขั้นพื้นฐานของ
การติดตอไปยังฮารดแวรของระบบอีกตอ หนึ่ง
         การนําไมโครคอมพิวเตอรมาใชงาน ผูใชจําเปนตองเรียนรูคําสั่งของโปรแกรมระบบปฏิบัติการใหไดใน
ระดับหนึ่ง เพื่อเปนพื้นฐานขั้นตนของการเรียกติดตอกับคอมพิวเตอรเชน การขอดูรายการขอมูลที่เก็บในแผน

                   ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
[เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]                            5

บันทึก การจัดรูปแบบแผนบันทึกเพื่อนํามาเก็บขอมูล การสําเนาแฟมขอมูล การลบแฟมขอมูล และการเปลี่ยน
ชื่อแฟมขอมูลใหม เปนตน การเรียนรูระบบปฏิบัติการไดละเอียดลึกซึ้งมากก็ยิ่งจะชวยใหสามารถเรียก ติดตอ
ใชงานคอมพิวเตอรไดมากยิ่งขึ้น
           ระบบปฏิบัติการสําหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร แบงไดเปนระบบปฏิบัติการที่ทํางานเพียงงานเดียว
ในเวลาหนึ่ง เชน ซีพีเอ็ม เอ็มเอสดอส พีซีดอส แอปเปลดอส และระบบปฏิบัติการที่ทํางานพรอม ๆ กันหลาย
ๆ งานในเวลาเดียวกันเรียกวาระบบหลายภารกิจ (multitasking system) เชน โอเอสทู วินโดวส 95
                     1. ซีพีเอ็ม (Control Program/Microcomputer : CP/M)
                     ซีพีเอ็ม (Control Program/Microcomputer : CP/M) จัดเปนระบบปฏิบัติการรุนแรก ๆ
ที่นํ า มาใช ง านกั บ เครื่ อ งไมโครคอมพิ ว เตอร ข นาด 8 บิ ต ซึ่ ง ป จ จุ บั น นี้ล า สมั ย แล ว หลั ง จากเครื่ อ ง
ไมโครคอมพิวเตอรไดขยายมาเปนเครื่องขนาด 16 บิต ก็ไดมีการเขียนระบบปฏิบัติการขึ้นใหม คือ เอ็มเอ
สดอส (Microsoft Disk Operating System : MS-DOS) พีซีดอส (Personal Computer Disk Operating
System : PC-DOS) ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอสนี้ไดรับความนิยมนํามาใชงานกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร
ระดับพีซี
                     2. เอ็มเอสดอส
                     เอ็มเอสดอสมีรากฐานมาจากระบบปฏิบัติการซีพีเอ็มนั่นเอง โดยการเขียนโปรแกรมสําหรับ
ใชงานกับไมโครโพรเซสเซอรตระกูลอินเทล ขนาด 16 บิต เบอร 8088 ขึ้นใหมที่ยังคงรูปแบบลักษณะคําสั่ง
คลายของเดิม เมื่อมีการปรับปรุงเพิ่มขยายในเวลาตอมาเปนรุน 2.0 จึงไดมีการพัฒนาขีดความสามารถให
สูงขึ้นอีกมากมาย โดยในรุน 2.0 นี้จะมีรูปแบบคําสั่งที่คลายคลึงกับคําสั่งในระบบปฏิบัติการยูนิกซ โดยเฉพาะ
ดานการจัดการขอมูลในฮารดดิสกที่จัดเปนโครงสรางตนไมของการ แบงระบบแฟมเปนระบบยอย
                     เอ็มเอสดอสเปนระบบปฏิบัติการที่เหมาะสําหรับงานงานเดียว แมจะมีซอฟตแวรมาเสริมชวย
การใชงานในลัก ษณะหนาตาง (window) ทําใหสามารถทํางานหลายอยางพรอมกันแตก็ยังทําไดไมดีนัก
เพราะไม ไ ดมี ก ารออกแบบมาเพื่ อ งานหลายชิ้ น โดยเฉพาะ เมื่อ ขี ด ความสามารถของฮาร ด แวร สู ง ขึ้ น
ระบบปฏิบัติการที่เหมาะสําหรับฮารดแวรจึงไดรับการพัฒนาเพื่อมาทดแทนเอ็มเอสดอส เชน ระบบปฏิบัติการ
โอเอสทู และวินโดวส 95
                     3. ระบบปฎิบัติการโอเอสทู และวินโดวส 95
                     ระบบ ปฏิบัติการโอเอสทู และวินโดวส 95 ถือเปนระบบปฏิบัติการที่ออกแบบและสรางมาใช
กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร ตระกูลพีเอสทูของบริษัทไอบีเอ็มจํากัดเปนระบบปฏิบัติการที่นํามาชดเชยขีด
จํากัดของเอ็มเอสดอสเดิม ดวยการเพิ่มลักษณะพิเศษของการทํางานหลายงานพรอมกัน เทคนิคการเรียกใช
คําสั่งเปนเมนูและสัญรูป (icon)
                     4. ระบบปฎิบัติการยูนิกซ
                     ระบบปฏิบัติการยูนิกซ เปนระบบปฏิบัติการที่พัฒนาและออกแบบสําหรับงานดานวิชาการ
และประยุกตใชทางดานวิทยาศาสตร บนเครื่องมินิคอมพิวเตอร แตในภายหลังก็ไดปรับปรุงไปใชบนเครื่อง
เกือบทุกระดับ รวมถึงเครื่องไมโครคอมพิวเตอรดวย ระบบปฏิบัติการยูนิกซเปนระบบใหญและซับซอน
สามารถใหผูใชหลายรายทํางานหลายงานพรอมกัน อยางไรก็ตามจะมีขีดจํากัดที่หนวยความจําของระบบ เปน
ระบบปฏิบัติการที่นิยมใชเปนเครือขายเพื่อการติดตอสื่อสารขอมูลรวมกัน



                    ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
[เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]                     6

        2. ซอฟตแวรประยุกต (Application software) ซอฟตแวรประยุกต คือ ซอฟตแวรที่เขียนขึ้นเพื่อ
ประยุกตกับงานที่ผูใชตองการ เชน ซอฟตแวรป ระมวลคํา ซอฟตแวรจัดเก็บ ภาษี ซอฟตแวรสินคาคงคลัง
ซอฟตแวรตารางทํางาน ซอฟตแวรกราฟก ซอฟตแวรจัดการฐานขอมูล เปนตน การทํางานใด ๆ โดยใช
ซอฟตแวรประยุกตจําเปนตองทํางานภายใตสิ่งแวดลอมของซอฟตแวรระบบดวย ตัวอยางเชน ซอฟตแวร
ประมวลคําตองทํางานภายใตซอฟตแวรระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอสหรือวินโดวส เปนตน
        ซอฟตแวรประยุกตยังแบงแยกออกเปนซอฟตแวรที่เขียนขึ้นใชงานเฉพาะและซอฟตแวรสําเร็จ
                1) ซอฟตแวรที่เขียนขึ้นใชงานเฉพาะ คือ ซอฟตแวรที่เขียนตามความตองการของผูใชหรือ
เฉพาะงานใดงานหนึ่ง ผูเขียนตองเขาใจงานและรายละเอียดของการประยุกตนั้นเปนอยางดี เชน ซอฟตแวร
สําหรับงานจัดเก็บภาษีของกรมสรรพากร ซอฟตแวรงานธนาคาร
                2) ซอฟตแวรสําเร็จ เปนซอฟตแวรที่มีบ ริษัทผูผ ลิตไดสรางขึ้น และวางขายทั่วไปผูใช
        สามารถหาซื้อมาประยุก ตใชง านทั่วไปได เชน ซอฟตแวรป ระมวลคํา ซอฟตแวรตารางทํางาน
        ซอฟตแวรจัดการฐานขอมูล




          ซอฟตแวรประยุกตไดรับความนิยมใชงานอยางแพรหลายในทุกวงการ ความนิยมสวนหนึ่งมาจากขีด
ความสามารถของซอฟตแวรประยุกตนั้น ๆ เพราะซอฟตแวรที่ผลิตออกจําหนาย ตางพยายามแขงขันกันหลาย
ๆ ดาน เชน เรียนรูและใชงานไดงาย สนับสนุนใหใชกับเครื่องพิมพไดดี มีคูมือการใชซอฟตแวรที่อานเขาใจงาย
ใหวิธีหรือขั้นตอนที่อธิบายไวอยางชัดเจน และมีระบบโอนยายขอมูลเขาออกกับซอฟตแวรอื่นไดงาย
          ซอฟตแวรประยุกตมีอยูมากมาย อาจแบงไดเปนสองประเภทใหญ คือ ซอฟตแวรใชงานทั่วไป และ
ซอฟตแวรใชงานเฉพาะทาง
          ซอฟตแวรที่ใชงานทั่วไป
                  ซอฟตแวรใชงานทั่วไป เปนซอฟตแวรที่ไมไดมุงเนนเฉพาะสําหรับงานใดงานหนึ่ง ผูใชงาน
          จะตองเปนผูนําไปประยุกตกับงานของตน ผูใชอาจตองมีการสรางหรือพัฒนาชิ้นงานภายในซอฟตแวร
          ตอไปอีก ราคาของซอฟตแวรใชงานทั่วไปนี้จะไมสูงมากเกินไป
                  ซอฟตแวรใชงานทั่วไปซึ่งนิยมเรียกวา ซอฟตแวรสําเร็จ แบงออกเปนหลายกลุมตามลักษณะ
          การใชงาน คือ
                        ดานการประมวลคํา
                        ดานการวิเคราะหขอมูล หรือตารางทํางาน
                        ดานการเก็บและเลือกคนขอมูลเปนระบบฐานขอมูล
                        ดานการติดตอสื่อสารทางไกล

                   ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
[เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]                7

               ดานการพิมพตั้งโตะ
               ดานการลงทุนและการจัดการเงิน
               ดานวิทยาศาสตรและวิศวกรรม
               ดานภาพกราฟกและการนําเสนอขอมูล
               ดานการจําลอง เกม และการตัดสินใจ

          ในบรรดาซอฟตแวรสําเร็จทั้งหลายในกลุมนี้ กลุมซอฟตแวรที่มีการใชงานมากและจําเปนตอง
มีประจําหนวยงาน มักจะเปนสี่รายการแรก คือ ดานการประมวลคํา ดานตารางทํางาน ดานระบบ
ฐานขอมูล และดานการสื่อสาร นอกจากนี้ซอฟตแวรที่กําลังไดรับความนิยมสูงขึ้น ไดแก ซอฟตแวร
ดานกราฟกเพื่อนําเสนอขอมูล และซอฟตแวรการพิมพตั้งโตะ
          ซอฟตแวรสําเร็จ สวนใหญห รือเกือบทั้ง หมดเปนโปรแกรมประยุก ตเ ชิงพาณิชยที่มาจาก
ตางประเทศ ยกเวนเฉพาะกลุมแรก คือ โปรแกรมประมวลคําที่ประเทศไทยมีสรางและพัฒนาขึ้นมา
เอง เพื่อใหสามารถนํามาใชงานรวมกับภาษาไทย โดยการนําซอฟตแวรเดิมมาดัดแปลงและเพิ่มเติม
สวนที่ใชงานเปนภาษาไทย
          นอกจากซอฟตแวรสําเร็จที่กลาว ยังมีซอฟตแวรสําเร็จซึ่งนําความสามารถของงานหลาย ๆ
ดานมารวมอยูในโปรแกรมเดียวกัน เพื่อใหสามารถใชงานหลายอยางไดพรอมกัน คือ จะใชไดทั้ง
ประมวลคํา ตารางทํางาน จัดการฐานขอมูล การนําเสนอขอมูล และอาจรวมถึงการสื่อสารขอมูลดวย
          ซอฟตแวรสําเร็จอาจไมสามารถนําไปใชกับงานโดยตรง จะตองมีการเปลี่ยนแปลงแกไขหรือ
พัฒนาเพิ่มเติม ซึ่งการแกไขนี้อาจตอ งใชเวลาและกําลังงาน ในบางครั้งก็ยังไมสามารถสนองความ
ตองการได จึงเกิดการพัฒนาซอฟตแวรเพื่อใชงานเฉพาะอาชีพหรือเฉพาะทาง

ซอฟตแวรประยุกตเฉพาะทาง
           ซอฟตแวรประยุกตเฉพาะทาง เปนโปรแกรมที่ไดรับการออกแบบและพัฒนาสําหรับนําไปใช
งานเฉพาะดาน หรือในอาชีพใดอาชีพหนึ่ง เชน โปรแกรมชวยจัดการดานการเงิน โปรแกรมชวย
จัดการบริการลูกคา ฯลฯ ตามปกติจะไมคอยไดพบเห็นซอฟตแวรประเภทนี้ในทองตลาดทั่วไป แตจะ
ซื้อหาไดจากผูผลิตหรือตัวแทนจําหนายในราคาคอนขางสูงกวาซอฟตแวร ที่ใชงานทั่วไป
           โครงสรางของซอฟตแวรเฉพาะทางมักจะประกอบดวย ฐานขอมูลเพื่อใชเก็บขอมูลลูกคา
และระบบของงาน ภายในซอฟตแวรควรจะมีสวนทํางานประมวลคําเพื่อใชสรางรายงาน ติดตอ
โตตอบจดหมาย และการนัดหมายตามกําหนดการ ลักษณะของซอฟตแวรเฉพาะทางนี้ มีทั้งรูปแบบที่
มีผูใชงานคนเดียว หรือผูใชงานไดพรอมกันหลายคน
           ในประเทศไทยมี ก ารใช ซ อฟตแวรป ระเภทใชง านเฉพาะทางอยู บาง สวนใหญจ ะเป น
ซอฟตแวรที่บริษัทผูผลิตตางประเทศไดออกแบบมาเพื่อรองรับงานดานธุรกิจ ในที่นี้ไดรวบรวมจัด
ประเภท ไวดังนี้
                   1) ซอฟตแวรระบบงานดานบัญชี ไดแก ระบบงานบัญชีเจาหนี้ บั ญชีลูกหนี้ บัญชี
           สินทรัพยถาวรและคาเสื่อมราคาสะสม บัญชีแยกประเภททั่วไป และบัญชีเงินเดือน


         ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
[เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]             8

                            2) ซอฟตแวรระบบงานจัดจําหนาย ไดแก ระบบงานรับใบสั่งซื้อสินคา ระบบงาน
                    บริหารสินคาคงคลัง ระบบงานควบคุมสินคาแบบจํานวนและรายชิ้น และระบบงานประวัติ
                    การขาย
                            3) ซอฟตแวรระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม ไดแก ระบบงานกําหนดโครงสราง
                    ผลิตภัณฑ การวางแผนกําลังการผลิต การคํานวณตนทุนของงาน การประเมินผลงานของ
                    พนักงาน การวางแผนการผลิตหลัก การวางแผนความตองการวัสดุ การควบคุม การทํางาน
                    ภายในโรงงาน การกําหนดเงินทุนมาตรฐานสินคา และการกําหนดขั้นตอนการผลิต
                            4) ซอฟตแวรอื่น ๆ ไดแก ระบบการสรางรายงาน การบริหารการเงิน การเชาซื้อ
                    อสังหาริมทรัพย และการเชาซื้อรถยนต


        ผูใช
               คือ บุคคลหรือกลุมบุคคลที่ใชงาน โตตอบ ควบคุม และดูแลคอมพิวเตอร ผูใชที่ดีควรมีความรู
และความสามารถในการใชงานคอมพิวเตอร เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางานไดดียิ่งขึ้น ผูใชสามารถแบง
ตามลักษณะการใชงานคอมพิวเตอรได 5 ประเภท คือ ผูใชงานตามบาน ผูใช งานตามสํานักงานขนาดเล็ก
ผูใชงานที่ตองกาความคลองตัว ผูใชงานตามสํานักงานใหญ และผูใชงานสมรรถนะสูง
        ขอมูล
              ขอมูลในที่นี้จะมีความหมายรวมถึงขอมูลดิบที่ยังไมไดผานการประมวลผล และสารสนเทศที่เปน
ขอมูลที่ผานการประมวลผลแลว เมื่อนํามาใชในระบบคอมพิวเตอรแลวจะถูกเปลี่ยนใหอยูในรูปแบบของขอมูล
หรือสัญญาณดิจิทัล โดยมีชนิดของขอมูล รูปแบบของแฟมขอมูล และประเภทของแฟมขอมูล ดังนี้
                  ชนิดของขอมูล ขอมูลจะถูกเรียงลําดับจากเล็กไปใหญ ไดแก บิต ตัวอักษร เขตขอมูลหรือ
                   ฟล ด ระเบียนขอมูล แฟม ขอมูล และฐานขอมูล ขอมูล แตล ะบิตจะมีลัก ษณะเฉพาะของ
                   ตัวเองซึ่งสามารถแบงเปนชนิดตางๆ ตามลักษณะไดดังนี้
                            1. เลขจํานวนเต็ม (Integer)
                            2. คาตรรกะ (Boolean or Logical)
                            3. ตัวอักษร (Character)
                            4. สายอักขระ (String)
                            5. เลขจํานวนจริง (Floating-Point Number)
                            6. วันและเวลา (Date/Time)

                      ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
[เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]                  9

                     7. ไบนารี (Binary)
         รูปแบบของแฟมขอมูล เนื่องจากขอมูลที่ใชในการประมวลผลมีจํานวนมากกวาที่จะเก็บไวใน
          หนวยความจําหลัก จึงมีก ารจัดเก็บขอมูล ไวในรูปแบบของแฟม ขอมูล เพื่อใหมีความเปน
          อิสระจากกัน โดยในขณะที่มีการประมวลผลนั้น ขอมูลจะถูกเก็บไวที่หนวยความจําหลัก แลว
          จะลบทิ้งไปเมื่อมีการทํางานสิ้นสุด
         ประเภทของแฟม ข อมู ล ภายในคอมพิวเตอรจ ะมีแ ฟม ขอมู ล ที่ ใชง าน 2 ลัก ษณะ คื อ
          แฟมขอมูลที่นําไปประมวลผลเพื่อใหไดสารสนเทศ เรียกวา แฟมขอมูล และแฟมขอมูลที่เปน
          โปรแกรมสําหรับนําไปประมวลผลแฟมขอมูลในชนิดแรกอีกทีหนึ่ง เรียกวา แฟมโปรแกรม

    กระบวนการ
คือ ขั้ นตอนการทํ างานเพื่อ ให คอมพิ วเตอร ทํา งานจนกระทั่ ง ไดผ ลลั พธ ตามความตอ งการของผู ใ ช
กระบวนการทํางานที่ดีจ ะตองเกิดจากผูใชมีความรู ความสามารถในการใชง าน ขอมูล มีความถูก ตอง
ฮารดแวรและซอฟตแวรมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเพื่อใหไดผลลัพธตามที่ตองการ




              ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา

More Related Content

What's hot

คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศhs8zlb
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพJakarin Damrak
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)phatrinn555
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงจีระภา บุญช่วย
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ThanThai Sangwong
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsupatra2011
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์supatra2011
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศLupin F'n
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 

What's hot (20)

คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 

Similar to ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ภาคิน ดวงคุณ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศNpatsa Pany
 
Ch03 handout
Ch03 handoutCh03 handout
Ch03 handoutNaret Su
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7paween
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardwarestandbyme mj
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์wanuporn12345
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานwanuporn12345
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012NECTEC
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Similar to ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (20)

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
Ch03 handout
Ch03 handoutCh03 handout
Ch03 handout
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
Ch04 slide
Ch04 slideCh04 slide
Ch04 slide
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
223333
223333223333
223333
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 

More from Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About PythonNattapon
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีNattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorNattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8Nattapon
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potNattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meNattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationNattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 

More from Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 

ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

  • 1. [เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 1 ใบความรูที่ 2 สวนประกอบของระบบคอมพิวเตอร วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง31101) เวลา 4 ชั่วโมง ครูผูสอน ครูณัฐพล บัวอุไร สวนประกอบของระบบคอมพิวเตอร สวนประกอบของระบบคอมพิวเตอรแบง เปน 5 สวน คือ ฮารดแวร ซอฟตแวร ขอมูล ผูใช และ กระบวนการ ซึ่ง มีลักษณะคลายกับ องคป ระกอบของระบบสารสนเทศที่นําเสนอในบทที่ 1 เรื่องระบบ สารสนเทศ ทั้งนี้เนื่องจากระบบสารสนเทศในปจจุบันมีการนําคอมพิวเตอรมาประยุกตใชเพื่อจัดการกับขอมูล เปนหลักนั่นเอง ฮารดแวร (Hardware) ฮารดแวรคือเครื่องมือหรืออุปกรณทั้งหมดที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร ทั้งนี้รวมถึงอุปกรณเชื่อมตอเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพของคอมพิวเตอรในดานตางๆ ดวย ฮารดแวรมีหลายประเภท ทําหนาที่แตกตางกันตามระบบ การทํางานของคอมพิวเตอร ในหนวยการเรียนรูนี้ จะนําเสนอตัวอยางของฮารดแวรที่นิยมใชงานในปจจุบัน ดังนี้  แปนพิมพหรือคียบอรด (Keyboard) ทําหนาที่รับขอมูลตัวหนังสือหรือสัญลักษณตางๆ ดวย การกดที่แปนพิมพ ภายในจะมีแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสเพื่อแปลงตัวหนังสือหรือสัญลักษณที่ กดลงไปเปนรหัสหรือขอมูลดิจิทัล มีตําแหนงของแปนพิมพเรียงกันเหมือนเครื่องพิมพดีด  เมาส (Mouse) เปนฮารดแวรทําหนาที่รับขอมูล ดวยการควบคุมตัวชี้ตําแหนงหรือเคอรเซอร (Curser) บนจอภาพ โดยจะรับขอมูลผานคําสั่งคลิก ดับเบิลคลิก คลิกขวา และแดรก (Drag) ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
  • 2. [เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 2  สแกนเนอร (Scanner) เปนอุปกรณรับขอมูลที่ไดจากการแปลงคาแสงที่ตกกระทบวัตถุให เปนสัญญาณดิจิทัลที่แสดงผลออกมาในรูปแบบของไฟลรูปภาพภายในคอมพิวเตอร  กลองวีดีโอ (Video Digital Camera) เปนอุปกรณรับขอมูลประเภทภาพเครื่องไหว ซึ่งจะ บันทึกขอมูลลงในหนวยจัดเก็บขอมูลสํารอง มีน้ําหนักเบา พกพาไดสะดวก สามารถดูไฟล ภาพเคลื่อนไหวไดจากจอภาพที่ตัวกลอง  การดเครือขาย (Network Card) หรือ การดแลน (LAN Card) ทําหนาที่เชื่อมตอสัญญาณ ระหวางเครื่องคอมพิวเตอรกับฮารดแวรอื่นๆ หรือระหวางเครื่องคอมพิวเตอรดวยกันใน ระบบเครือขาย  เมนบอรด (Mainboard) เปนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ติดตั้งแผงวงจรไฟฟาหรืออุปกรณ อิเล็กทรอนิกสหลายๆ สวนเขาดวยกัน เชน ซีพียู แรม การดแสดงผล การดเสียง เปนตน ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
  • 3. [เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 3  ฮารดดิสก (Harddisk) เปนฮารดแวรสําหรับบันทึกขอมูลหลักที่ใชกับคอมพิวเตอร สามารถ เก็บขอมูลไดมากกวาสื่อบันทึกอื่นๆ มีหลักการทํางานเหมือนกับแผนดิสกเกตต คือ การอาน ขอมูลบนจานแมเหล็ก  เครื่องอานซีดี/ดีวีดี (CD/DVD Drive) ใชสําหรับอานและบันทึกขอมูลดวยซีดีหรือดีวีดี มี หลักการทํางานดวยการบันทึกขอมูลลงบนจานแมเหล็ก  จอภาพ (Monitor) เปนฮารดแวรที่ทําหนาที่แสดงผลเพื่อสื่อสารกับผูใชเปนหลัก ปจจุบันมี การพัฒนาอยางตอเนื่อง แบงเปน 3 ประเภท ไดแก จอภาพวีจีเอ แบบพลาสมา แลจอภาพ แบบสัมผัส  ลําโพง (Speaker) ทําหนาที่แสดงผลขอมูลในรูปแบบเสียง  เครื่องพิมพ (Printer) เปนฮารดแวรที่ทําหนาที่ในหนวยแสดงผล ใชสําหรับแสดงผลขอมูลใน รูปแบบสิ่งพิมพ ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
  • 4. [เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 4  ยูเอสบีแฟรสไดรฟ (USB Flash Drive) ทําหนาที่จัดเก็บหรือบันทึกขอมูล เปนสื่อบันทึก ขอมูลสํารองที่นิยมใชมากในปจจุบัน เนื่องจากมีรูปแบบที่สวยงาม น้ําหนักเบา พกพาสะดวก  เคส (Case) เปนกลองเหล็กหรือพลาสติกแข็ง ใชสําหรับติดตั้งฮารดแวรคอมพิวเตอร เชน เมนบอรด เครื่องจายไฟ เครื่องอานเขียนแผนซีดี/ดีวีดี การด เปนตน ซอฟตแวร (Software) ซอฟตแวรคือโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่ทําใหฮารดแวรทํางานตามความตองการของผูใช ซอฟตแวร แบงเปน 2 ประเภท คือ ซอฟตแวรระบบ และ ซอฟตแวรประยุกต 1. ซอฟตแวรระบบ (System Software) ซอฟตแวรระบบ คือ ซอฟตแวรที่ชวยในการจัดการระบบ คอมพิวเตอร จัดการทางดานอุปกรณรับเขาและสงออก การรับขอมูลจากแผงแปนอักขระ การแสดงผลบน จอภาพ การนําขอมูลออกไปพิมพยังเครื่องพิมพ การดูแล การจัดเก็บขอมูลเปนแฟม การเรียกคนขอมูล การ สื่อสารขอมูล ซอฟตแวรระบบจึงหมายถึง ซอฟตแวรที่ดูแลจัดการอุปกรณตาง ๆ ที่มีอยูในระบบ ซอฟตแวร ระบบที่รูจักกันดี คือ ระบบปฏิบัติการ (operating system) เชน เอ็มเอสดอส ยูนิกซ โอเอสทู วินโดวส เปน ตน ซอฟต แ วร ร ะบบที่ รู จัก กั นดี คือ ซอฟต แวร ควบคุ ม การปฏิ บั ติก ารของคอมพิ วเตอร ที่เ รี ยกว า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเปนชุดคําสั่งที่ใชควบคุมระบบฮารดแวรและซอฟตแวรอื่น ๆ ของคอมพิวเตอรให ทํางานอยางถูกตอง ซอฟตแวรนี้เชื่อมอยูระหวางซอฟตแวรประยุกตกับฮารดแวรที่เปนหนวย ประมวลผล หนวยความจํ า หน วยขับ แผนบัน ทึก แผงแปน อัก ขระและจอภาพ ในเครื่ องระดับ ไมโครคอมพิ วเตอร ระบบปฏิบัติการนี้จะสงงานผานไปยังโปรแกรมควบคุมการจัดการพื้นฐาน ซึ่งเปนโปรแกรมยอยขั้นพื้นฐานของ การติดตอไปยังฮารดแวรของระบบอีกตอ หนึ่ง การนําไมโครคอมพิวเตอรมาใชงาน ผูใชจําเปนตองเรียนรูคําสั่งของโปรแกรมระบบปฏิบัติการใหไดใน ระดับหนึ่ง เพื่อเปนพื้นฐานขั้นตนของการเรียกติดตอกับคอมพิวเตอรเชน การขอดูรายการขอมูลที่เก็บในแผน ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
  • 5. [เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 5 บันทึก การจัดรูปแบบแผนบันทึกเพื่อนํามาเก็บขอมูล การสําเนาแฟมขอมูล การลบแฟมขอมูล และการเปลี่ยน ชื่อแฟมขอมูลใหม เปนตน การเรียนรูระบบปฏิบัติการไดละเอียดลึกซึ้งมากก็ยิ่งจะชวยใหสามารถเรียก ติดตอ ใชงานคอมพิวเตอรไดมากยิ่งขึ้น ระบบปฏิบัติการสําหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร แบงไดเปนระบบปฏิบัติการที่ทํางานเพียงงานเดียว ในเวลาหนึ่ง เชน ซีพีเอ็ม เอ็มเอสดอส พีซีดอส แอปเปลดอส และระบบปฏิบัติการที่ทํางานพรอม ๆ กันหลาย ๆ งานในเวลาเดียวกันเรียกวาระบบหลายภารกิจ (multitasking system) เชน โอเอสทู วินโดวส 95 1. ซีพีเอ็ม (Control Program/Microcomputer : CP/M) ซีพีเอ็ม (Control Program/Microcomputer : CP/M) จัดเปนระบบปฏิบัติการรุนแรก ๆ ที่นํ า มาใช ง านกั บ เครื่ อ งไมโครคอมพิ ว เตอร ข นาด 8 บิ ต ซึ่ ง ป จ จุ บั น นี้ล า สมั ย แล ว หลั ง จากเครื่ อ ง ไมโครคอมพิวเตอรไดขยายมาเปนเครื่องขนาด 16 บิต ก็ไดมีการเขียนระบบปฏิบัติการขึ้นใหม คือ เอ็มเอ สดอส (Microsoft Disk Operating System : MS-DOS) พีซีดอส (Personal Computer Disk Operating System : PC-DOS) ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอสนี้ไดรับความนิยมนํามาใชงานกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร ระดับพีซี 2. เอ็มเอสดอส เอ็มเอสดอสมีรากฐานมาจากระบบปฏิบัติการซีพีเอ็มนั่นเอง โดยการเขียนโปรแกรมสําหรับ ใชงานกับไมโครโพรเซสเซอรตระกูลอินเทล ขนาด 16 บิต เบอร 8088 ขึ้นใหมที่ยังคงรูปแบบลักษณะคําสั่ง คลายของเดิม เมื่อมีการปรับปรุงเพิ่มขยายในเวลาตอมาเปนรุน 2.0 จึงไดมีการพัฒนาขีดความสามารถให สูงขึ้นอีกมากมาย โดยในรุน 2.0 นี้จะมีรูปแบบคําสั่งที่คลายคลึงกับคําสั่งในระบบปฏิบัติการยูนิกซ โดยเฉพาะ ดานการจัดการขอมูลในฮารดดิสกที่จัดเปนโครงสรางตนไมของการ แบงระบบแฟมเปนระบบยอย เอ็มเอสดอสเปนระบบปฏิบัติการที่เหมาะสําหรับงานงานเดียว แมจะมีซอฟตแวรมาเสริมชวย การใชงานในลัก ษณะหนาตาง (window) ทําใหสามารถทํางานหลายอยางพรอมกันแตก็ยังทําไดไมดีนัก เพราะไม ไ ดมี ก ารออกแบบมาเพื่ อ งานหลายชิ้ น โดยเฉพาะ เมื่อ ขี ด ความสามารถของฮาร ด แวร สู ง ขึ้ น ระบบปฏิบัติการที่เหมาะสําหรับฮารดแวรจึงไดรับการพัฒนาเพื่อมาทดแทนเอ็มเอสดอส เชน ระบบปฏิบัติการ โอเอสทู และวินโดวส 95 3. ระบบปฎิบัติการโอเอสทู และวินโดวส 95 ระบบ ปฏิบัติการโอเอสทู และวินโดวส 95 ถือเปนระบบปฏิบัติการที่ออกแบบและสรางมาใช กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร ตระกูลพีเอสทูของบริษัทไอบีเอ็มจํากัดเปนระบบปฏิบัติการที่นํามาชดเชยขีด จํากัดของเอ็มเอสดอสเดิม ดวยการเพิ่มลักษณะพิเศษของการทํางานหลายงานพรอมกัน เทคนิคการเรียกใช คําสั่งเปนเมนูและสัญรูป (icon) 4. ระบบปฎิบัติการยูนิกซ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ เปนระบบปฏิบัติการที่พัฒนาและออกแบบสําหรับงานดานวิชาการ และประยุกตใชทางดานวิทยาศาสตร บนเครื่องมินิคอมพิวเตอร แตในภายหลังก็ไดปรับปรุงไปใชบนเครื่อง เกือบทุกระดับ รวมถึงเครื่องไมโครคอมพิวเตอรดวย ระบบปฏิบัติการยูนิกซเปนระบบใหญและซับซอน สามารถใหผูใชหลายรายทํางานหลายงานพรอมกัน อยางไรก็ตามจะมีขีดจํากัดที่หนวยความจําของระบบ เปน ระบบปฏิบัติการที่นิยมใชเปนเครือขายเพื่อการติดตอสื่อสารขอมูลรวมกัน ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
  • 6. [เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 6 2. ซอฟตแวรประยุกต (Application software) ซอฟตแวรประยุกต คือ ซอฟตแวรที่เขียนขึ้นเพื่อ ประยุกตกับงานที่ผูใชตองการ เชน ซอฟตแวรป ระมวลคํา ซอฟตแวรจัดเก็บ ภาษี ซอฟตแวรสินคาคงคลัง ซอฟตแวรตารางทํางาน ซอฟตแวรกราฟก ซอฟตแวรจัดการฐานขอมูล เปนตน การทํางานใด ๆ โดยใช ซอฟตแวรประยุกตจําเปนตองทํางานภายใตสิ่งแวดลอมของซอฟตแวรระบบดวย ตัวอยางเชน ซอฟตแวร ประมวลคําตองทํางานภายใตซอฟตแวรระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอสหรือวินโดวส เปนตน ซอฟตแวรประยุกตยังแบงแยกออกเปนซอฟตแวรที่เขียนขึ้นใชงานเฉพาะและซอฟตแวรสําเร็จ 1) ซอฟตแวรที่เขียนขึ้นใชงานเฉพาะ คือ ซอฟตแวรที่เขียนตามความตองการของผูใชหรือ เฉพาะงานใดงานหนึ่ง ผูเขียนตองเขาใจงานและรายละเอียดของการประยุกตนั้นเปนอยางดี เชน ซอฟตแวร สําหรับงานจัดเก็บภาษีของกรมสรรพากร ซอฟตแวรงานธนาคาร 2) ซอฟตแวรสําเร็จ เปนซอฟตแวรที่มีบ ริษัทผูผ ลิตไดสรางขึ้น และวางขายทั่วไปผูใช สามารถหาซื้อมาประยุก ตใชง านทั่วไปได เชน ซอฟตแวรป ระมวลคํา ซอฟตแวรตารางทํางาน ซอฟตแวรจัดการฐานขอมูล ซอฟตแวรประยุกตไดรับความนิยมใชงานอยางแพรหลายในทุกวงการ ความนิยมสวนหนึ่งมาจากขีด ความสามารถของซอฟตแวรประยุกตนั้น ๆ เพราะซอฟตแวรที่ผลิตออกจําหนาย ตางพยายามแขงขันกันหลาย ๆ ดาน เชน เรียนรูและใชงานไดงาย สนับสนุนใหใชกับเครื่องพิมพไดดี มีคูมือการใชซอฟตแวรที่อานเขาใจงาย ใหวิธีหรือขั้นตอนที่อธิบายไวอยางชัดเจน และมีระบบโอนยายขอมูลเขาออกกับซอฟตแวรอื่นไดงาย ซอฟตแวรประยุกตมีอยูมากมาย อาจแบงไดเปนสองประเภทใหญ คือ ซอฟตแวรใชงานทั่วไป และ ซอฟตแวรใชงานเฉพาะทาง ซอฟตแวรที่ใชงานทั่วไป ซอฟตแวรใชงานทั่วไป เปนซอฟตแวรที่ไมไดมุงเนนเฉพาะสําหรับงานใดงานหนึ่ง ผูใชงาน จะตองเปนผูนําไปประยุกตกับงานของตน ผูใชอาจตองมีการสรางหรือพัฒนาชิ้นงานภายในซอฟตแวร ตอไปอีก ราคาของซอฟตแวรใชงานทั่วไปนี้จะไมสูงมากเกินไป ซอฟตแวรใชงานทั่วไปซึ่งนิยมเรียกวา ซอฟตแวรสําเร็จ แบงออกเปนหลายกลุมตามลักษณะ การใชงาน คือ  ดานการประมวลคํา  ดานการวิเคราะหขอมูล หรือตารางทํางาน  ดานการเก็บและเลือกคนขอมูลเปนระบบฐานขอมูล  ดานการติดตอสื่อสารทางไกล ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
  • 7. [เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 7  ดานการพิมพตั้งโตะ  ดานการลงทุนและการจัดการเงิน  ดานวิทยาศาสตรและวิศวกรรม  ดานภาพกราฟกและการนําเสนอขอมูล  ดานการจําลอง เกม และการตัดสินใจ ในบรรดาซอฟตแวรสําเร็จทั้งหลายในกลุมนี้ กลุมซอฟตแวรที่มีการใชงานมากและจําเปนตอง มีประจําหนวยงาน มักจะเปนสี่รายการแรก คือ ดานการประมวลคํา ดานตารางทํางาน ดานระบบ ฐานขอมูล และดานการสื่อสาร นอกจากนี้ซอฟตแวรที่กําลังไดรับความนิยมสูงขึ้น ไดแก ซอฟตแวร ดานกราฟกเพื่อนําเสนอขอมูล และซอฟตแวรการพิมพตั้งโตะ ซอฟตแวรสําเร็จ สวนใหญห รือเกือบทั้ง หมดเปนโปรแกรมประยุก ตเ ชิงพาณิชยที่มาจาก ตางประเทศ ยกเวนเฉพาะกลุมแรก คือ โปรแกรมประมวลคําที่ประเทศไทยมีสรางและพัฒนาขึ้นมา เอง เพื่อใหสามารถนํามาใชงานรวมกับภาษาไทย โดยการนําซอฟตแวรเดิมมาดัดแปลงและเพิ่มเติม สวนที่ใชงานเปนภาษาไทย นอกจากซอฟตแวรสําเร็จที่กลาว ยังมีซอฟตแวรสําเร็จซึ่งนําความสามารถของงานหลาย ๆ ดานมารวมอยูในโปรแกรมเดียวกัน เพื่อใหสามารถใชงานหลายอยางไดพรอมกัน คือ จะใชไดทั้ง ประมวลคํา ตารางทํางาน จัดการฐานขอมูล การนําเสนอขอมูล และอาจรวมถึงการสื่อสารขอมูลดวย ซอฟตแวรสําเร็จอาจไมสามารถนําไปใชกับงานโดยตรง จะตองมีการเปลี่ยนแปลงแกไขหรือ พัฒนาเพิ่มเติม ซึ่งการแกไขนี้อาจตอ งใชเวลาและกําลังงาน ในบางครั้งก็ยังไมสามารถสนองความ ตองการได จึงเกิดการพัฒนาซอฟตแวรเพื่อใชงานเฉพาะอาชีพหรือเฉพาะทาง ซอฟตแวรประยุกตเฉพาะทาง ซอฟตแวรประยุกตเฉพาะทาง เปนโปรแกรมที่ไดรับการออกแบบและพัฒนาสําหรับนําไปใช งานเฉพาะดาน หรือในอาชีพใดอาชีพหนึ่ง เชน โปรแกรมชวยจัดการดานการเงิน โปรแกรมชวย จัดการบริการลูกคา ฯลฯ ตามปกติจะไมคอยไดพบเห็นซอฟตแวรประเภทนี้ในทองตลาดทั่วไป แตจะ ซื้อหาไดจากผูผลิตหรือตัวแทนจําหนายในราคาคอนขางสูงกวาซอฟตแวร ที่ใชงานทั่วไป โครงสรางของซอฟตแวรเฉพาะทางมักจะประกอบดวย ฐานขอมูลเพื่อใชเก็บขอมูลลูกคา และระบบของงาน ภายในซอฟตแวรควรจะมีสวนทํางานประมวลคําเพื่อใชสรางรายงาน ติดตอ โตตอบจดหมาย และการนัดหมายตามกําหนดการ ลักษณะของซอฟตแวรเฉพาะทางนี้ มีทั้งรูปแบบที่ มีผูใชงานคนเดียว หรือผูใชงานไดพรอมกันหลายคน ในประเทศไทยมี ก ารใช ซ อฟตแวรป ระเภทใชง านเฉพาะทางอยู บาง สวนใหญจ ะเป น ซอฟตแวรที่บริษัทผูผลิตตางประเทศไดออกแบบมาเพื่อรองรับงานดานธุรกิจ ในที่นี้ไดรวบรวมจัด ประเภท ไวดังนี้ 1) ซอฟตแวรระบบงานดานบัญชี ไดแก ระบบงานบัญชีเจาหนี้ บั ญชีลูกหนี้ บัญชี สินทรัพยถาวรและคาเสื่อมราคาสะสม บัญชีแยกประเภททั่วไป และบัญชีเงินเดือน ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
  • 8. [เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 8 2) ซอฟตแวรระบบงานจัดจําหนาย ไดแก ระบบงานรับใบสั่งซื้อสินคา ระบบงาน บริหารสินคาคงคลัง ระบบงานควบคุมสินคาแบบจํานวนและรายชิ้น และระบบงานประวัติ การขาย 3) ซอฟตแวรระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม ไดแก ระบบงานกําหนดโครงสราง ผลิตภัณฑ การวางแผนกําลังการผลิต การคํานวณตนทุนของงาน การประเมินผลงานของ พนักงาน การวางแผนการผลิตหลัก การวางแผนความตองการวัสดุ การควบคุม การทํางาน ภายในโรงงาน การกําหนดเงินทุนมาตรฐานสินคา และการกําหนดขั้นตอนการผลิต 4) ซอฟตแวรอื่น ๆ ไดแก ระบบการสรางรายงาน การบริหารการเงิน การเชาซื้อ อสังหาริมทรัพย และการเชาซื้อรถยนต ผูใช คือ บุคคลหรือกลุมบุคคลที่ใชงาน โตตอบ ควบคุม และดูแลคอมพิวเตอร ผูใชที่ดีควรมีความรู และความสามารถในการใชงานคอมพิวเตอร เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางานไดดียิ่งขึ้น ผูใชสามารถแบง ตามลักษณะการใชงานคอมพิวเตอรได 5 ประเภท คือ ผูใชงานตามบาน ผูใช งานตามสํานักงานขนาดเล็ก ผูใชงานที่ตองกาความคลองตัว ผูใชงานตามสํานักงานใหญ และผูใชงานสมรรถนะสูง ขอมูล ขอมูลในที่นี้จะมีความหมายรวมถึงขอมูลดิบที่ยังไมไดผานการประมวลผล และสารสนเทศที่เปน ขอมูลที่ผานการประมวลผลแลว เมื่อนํามาใชในระบบคอมพิวเตอรแลวจะถูกเปลี่ยนใหอยูในรูปแบบของขอมูล หรือสัญญาณดิจิทัล โดยมีชนิดของขอมูล รูปแบบของแฟมขอมูล และประเภทของแฟมขอมูล ดังนี้  ชนิดของขอมูล ขอมูลจะถูกเรียงลําดับจากเล็กไปใหญ ไดแก บิต ตัวอักษร เขตขอมูลหรือ ฟล ด ระเบียนขอมูล แฟม ขอมูล และฐานขอมูล ขอมูล แตล ะบิตจะมีลัก ษณะเฉพาะของ ตัวเองซึ่งสามารถแบงเปนชนิดตางๆ ตามลักษณะไดดังนี้ 1. เลขจํานวนเต็ม (Integer) 2. คาตรรกะ (Boolean or Logical) 3. ตัวอักษร (Character) 4. สายอักขระ (String) 5. เลขจํานวนจริง (Floating-Point Number) 6. วันและเวลา (Date/Time) ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
  • 9. [เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 9 7. ไบนารี (Binary)  รูปแบบของแฟมขอมูล เนื่องจากขอมูลที่ใชในการประมวลผลมีจํานวนมากกวาที่จะเก็บไวใน หนวยความจําหลัก จึงมีก ารจัดเก็บขอมูล ไวในรูปแบบของแฟม ขอมูล เพื่อใหมีความเปน อิสระจากกัน โดยในขณะที่มีการประมวลผลนั้น ขอมูลจะถูกเก็บไวที่หนวยความจําหลัก แลว จะลบทิ้งไปเมื่อมีการทํางานสิ้นสุด  ประเภทของแฟม ข อมู ล ภายในคอมพิวเตอรจ ะมีแ ฟม ขอมู ล ที่ ใชง าน 2 ลัก ษณะ คื อ แฟมขอมูลที่นําไปประมวลผลเพื่อใหไดสารสนเทศ เรียกวา แฟมขอมูล และแฟมขอมูลที่เปน โปรแกรมสําหรับนําไปประมวลผลแฟมขอมูลในชนิดแรกอีกทีหนึ่ง เรียกวา แฟมโปรแกรม กระบวนการ คือ ขั้ นตอนการทํ างานเพื่อ ให คอมพิ วเตอร ทํา งานจนกระทั่ ง ไดผ ลลั พธ ตามความตอ งการของผู ใ ช กระบวนการทํางานที่ดีจ ะตองเกิดจากผูใชมีความรู ความสามารถในการใชง าน ขอมูล มีความถูก ตอง ฮารดแวรและซอฟตแวรมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเพื่อใหไดผลลัพธตามที่ตองการ ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา