SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
 
ผู้จัดทำ นายธรรมรัฐ  สังชาดี  นายสรายุทธ  นวลละออง นางสาวนฤมล  รัตนาวัฒน์ นางสาววิไลวรรณ  ทนุดำ นางสาวภนิดา  ดอกสนธิ์ เสนอ ครู .. รินทร์ลภัส  พงศ์ฤทธิพิมล
1. โปรแกรมแบบฝึกหัด  (Drill And Practice) 2.   โปรแกรมแบบสอนเสริม  (Tutorial)  3.   โปรแกรมแบบจำลองสถานการณ์  (Simulation)  4.   โปรแกรมแบบเกมส์สอน  (Instruction Games) 5. โปรแกรมแบบการแก้ปัญหา  (Problem-Solving)  6.   โปรแกรมแบบ  ICAI (Intelligence CAI)
เมนู         โปรแกรมประเภทนี้เป็นที่รู้จักและใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยที่ผู้สอนออกแบบไว้สำหรับการทบทวน การทำแบบฝึกหัด และการฝึกทักษะเฉพาะอย่าง เช่น การสะกด การอ่าน และฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ เป็นต้น หลังจากที่ผู้เรียนได้ศึกษาบทเรียนและเนื้อหามาแล้ว ผู้เรียนสามารถทำการฝึกและปฏิบัติเพิ่มเติมได้ แต่วิธีนี้มีข้อเสียคือเป็นวิธีการ ( สอน )  ที่ค่อนข้างอยู่ในวงจำกัดและแคบไป เพราะเป็นการโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับเครื่องทำให้ไม่ค่อยน่าสนใจมากนัก การเริ่มต้นบทเรียน ผู้เรียนอาจจะถูกถามและให้เลือกระดับความยากและรายการของเนื้อหาวิชาการที่ต้องการ เช่น  ต้องการคำถามเรื่องอะไร บวก   ลบ   คูณ   หาร            ต้องการความยากระดับไหน  ยาก   ปานกลาง   ง่าย   1.  โปรแกรมแบบฝึกหัด   (Drill And Practice)
        หลังจากการศึกษาเนื้อหาวิชาในชั้นเรียนแล้วนักเรียนสามารถใช้บทเรียนแบบนี้ทบทวนเนื้อหาที่เรียนมาแล้ว และหลังจากการทบทวนเนื้อหาจากโปรแกรมแล้วจะมีฝึกทำแบบทดสอบเพื่อเป็นการฝึกทักษะ หรือ  Concept  ของเนื้อหาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะตลอดจนความรู้ความเข้าใจของผู้เรียน ดังนั้นบทเรียนประเภทเสริมการเรียนรู้นี้เนื้อหาจะเป็นไปในลักษณะการช่วยเสริมสร้าง   Concept  ที่ได้เรียนมาแล้วในชั้นเรียน เนื้อหาอาจจะมีความยาวประมาณ  30  นาทีไปจนถึง   1  ชั่วโมง ลักษณะการสอนหรือการเสนอเนื้อหาความรู้ให้กับผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และตอบคำถามได้ตามความสนใจและความถนัดของตัวเอง     ระบบบทเรียนแบบสอนเสริม สามารถเสนอบทเรียนได้  2  รูปแบบคือ ถัดไป 2.   โปรแกรมแบบสอนเสริม   (Tutorial)
        1.  บทเรียนแบบเส้นตรง  ( Linear Program)          โปรแกรมประเภทนี้ใช้สำหรับการสอนเนื้อหาของวิชาต่างๆ ให้แก่ผู้เรียน ดังนี้ คอมพิวเตอร์จะมีบทบาทเป็นผู้สอนหรือ  Tutor  เนื้อหาของบทเรียน การเสนอเนื้อหาวิชาการอาจจะเสนอเป็นเฟรมๆ ตั้งแต่เฟรมแรกไปจนถึงเฟรมสุดท้ายแล้วให้ตอบคำถามท้ายบทเรียนเป็นตอนๆ แต่ละตอนอาจจะมีตั้งแต่  1  เฟรมขึ้นไป พอจบบทเรียนแต่ละตอนก็จะมีคำถาม ถ้าตอบไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ผู้เรียนสามารถกลับไปทบทวนบทเรียนใหม่ก่อนที่จะขึ้นบทเรียนหรือตอนใหม่ต่อไป ถัดไป
        2.  บทเรียนแบบสาขาหรือ  Branching Tutorial          การสอนแบบสาขาเป็นการเสนอเนื้อหา และบทเรียนหลายๆ หัวข้อแล้วให้นักเรียนเลือกบทเรียนตามความต้องการ ดังนั้นจึงเหมาะกับบทเรียนที่มีเนื้อหามากๆ การเสนอเนื้อหาแบ่งออกเป็นหัวข้อย่อยตามความเหมาะสมกับระดับชั้น เพื่อให้ไม่ใช้เวลามากจนน่าเบื่อเกินไป การเสนอเนื้อหาแบบนี้ผู้สอนในวิชานั้นๆ รู้ดีว่าเนื้อหาตอนใด หัวข้อใด เรื่องใด ควรมาก่อนหลัง หลังจากการศึกษาบทเรียนแต่ละเรื่องแล้วอาจจะมีคำถามท้ายบทลักษณะของโปรแกรม  CAI  แบบนี้การออกแบบและการสร้างยุ่งยากกว่าแนวดิ่ง แต่สร้างบทเรียนได้คลอบคลุมเนื้อหาได้กว้างและลึก ผู้เรียนสามารถเลือกบทเรียนได้ตามความถนัดและความสนใจ เมนู
การใช้โปรแกรมช่วยจำลองสิ่งแวดล้อมหรือ สร้างสถานการณ์ต่างๆ ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งในบางครั้ง การฝึกและการทดลองจริงอาจจะราคาแพง หรือมี ความเสี่ยงอันตรายสูงจึงเขียนโปรแกรมเพื่อจำลอง สถานการณ์ และสภาพแวดล้อมขึ้นด้วยคอมพิวเตอร์  การจำลองสถานการณ์อาจจะแยกเป็น  2  รูปแบบ ถัดไป 3.  โปรแกรมแบบจำลองสถานการณ์   (Simulation)
2.  แบบความน่าจะเป็นจริง   (Probabilistic)  เช่นการฝึกหัดขับเครื่องบิน การทดลองทางเคมี การจราจร การทำโมเดล การทดสอบการทำงานของเครื่อง และอุปกรณ์ เป็นต้น 1.  แบบกฏตายตัว  ( Deterministic)  เป็นการสร้างบทเรียนจำลองเหตุการณ์ขึ้นจากสูตรหรือกฏเกณฑ์ที่ตายตัว เช่นเรื่องแรงโน้มถ่วง การไหลของกระแสไฟฟ้า กฏของโอห์ม เป็นต้น เมนู
        โปรแกรมประเภทนี้มีลักษณะเด่นหลายอย่างเป็นต้นว่ามีความท้าทายความมานะที่จะทำให้สำเร็จและสร้างแรงจูงใจ และเร้าใจได้ดีและง่าย นอกจากนี้ทำให้ผู้เรียนเกิดความสนุกสนานและเพลิดเพลินเนื่องจากมีภาพ แสง สี เสียงและกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวได้ โปรแกรมแบบนี้สามารถที่จะช่วยทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับภาษา การคิดหาเหตุผลและด้านการอ่านโปรแกรมแบบนี้ยังไม่มีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ในศาสตร์ต่างๆ เท่าใดนักแต่น่าที่จะหาวิธีการสร้างบทเรียนแบบเกมส์เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีกว่านี้ เมนู 4.   โปรแกรมแบบเกมส์สอน   (Instruction Games)
        การสร้างบทเรียนสำหรับใช้เรียนรู้วิธีการคิดแก้ปัญหา เป็นโปรแกรมการสอนที่ซับซ้อนต้องใช้เทคนิคและวิธีการหลายๆ อย่างมาใช้เช่น แบบเกมส์ และแบบจำลองสถานการณ์ด้วย ตัวอย่างเช่นโปรแกรม  LOGO  โปรแกรมลักษณะนี้ผู้เรียนจะให้ความสนใจและตั้งใจมาก ถ้าได้รับแรงจูงใจและสิ่งเร้าใจในการเรียนและผู้เรียนจะรู้สึกสนุกสนานและเกิดความท้าทาย และสร้างแรงความพยายามในการแก้ปัญหาต่อไป ดังนี้การออกแบบและการสร้างบทเรียนซับซ้อนมาก จำเป็นที่จะต้องอาศัยนักเขียนโปรแกรม และนักตรรกศาสตร์ช่วยเป็นอย่างมาก เมนู 5.  โปรแกรมแบบการแก้ปัญหา   (Problem-Solving)
                  โปรแกรมแบบนี้ใช้หลักการปัญญาประดิษฐ์ หรือ  AI (Artificial Intelligence)  และวิธีการฐานความรู้  ( Knowledge Base)  มาใช้งานเพื่อจัดเตรียม เก็บข้อมูลและข้อเท็จจริง  ( Facts)  ไว้สำหรับให้โปรแกรมหาเหตุผลหรือเพื่อใช้ในการโต้ตอบกันระหว่างเครื่องกับผู้เรียน นอกจากนี้อาจจะสร้างโมเดลของการเรียนรู้ขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนสามารถทราบถึงความก้าวหน้าและข้อบกพร่องในการเรียนรู้ของตัวเอง เมนู 6.  โปรแกรมแบบ  ICAI (Intelligence CAI)
เรียบร้อยคร้าบ!!!

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึม
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึมงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึม
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึมsutham lrp
 
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemคู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemguest2be5a70
 
งานนำเสนอ 5
งานนำเสนอ 5งานนำเสนอ 5
งานนำเสนอ 5Tiger Saraprung
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนใหม่
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนใหม่การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนใหม่
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนใหม่chanakarn_j
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 2 เรื่องที่ 3การจัดรูปแบบอักษร
งานนำเสนอ หน่วยที่ 2 เรื่องที่ 3การจัดรูปแบบอักษรงานนำเสนอ หน่วยที่ 2 เรื่องที่ 3การจัดรูปแบบอักษร
งานนำเสนอ หน่วยที่ 2 เรื่องที่ 3การจัดรูปแบบอักษรMSWORD2010 COMPUTER
 
จันทิมา No.5 d1
จันทิมา No.5 d1จันทิมา No.5 d1
จันทิมา No.5 d1Chantima Rodsai
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Frong Like
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง MSWORD2010 COMPUTER
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง sutham lrp
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์MSWORD2010 COMPUTER
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำงานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำMSWORD2010 COMPUTER
 

What's hot (14)

งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึม
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึมงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึม
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึม
 
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemคู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
 
งานนำเสนอ 5
งานนำเสนอ 5งานนำเสนอ 5
งานนำเสนอ 5
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนใหม่
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนใหม่การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนใหม่
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนใหม่
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 2 เรื่องที่ 3การจัดรูปแบบอักษร
งานนำเสนอ หน่วยที่ 2 เรื่องที่ 3การจัดรูปแบบอักษรงานนำเสนอ หน่วยที่ 2 เรื่องที่ 3การจัดรูปแบบอักษร
งานนำเสนอ หน่วยที่ 2 เรื่องที่ 3การจัดรูปแบบอักษร
 
จันทิมา No.5 d1
จันทิมา No.5 d1จันทิมา No.5 d1
จันทิมา No.5 d1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 1 การแทรกตาราง
 
Cai
CaiCai
Cai
 
Thesis oral presentaton
Thesis oral presentatonThesis oral presentaton
Thesis oral presentaton
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำงานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำ
 
ICTสอนงานบ้าน
ICTสอนงานบ้านICTสอนงานบ้าน
ICTสอนงานบ้าน
 

Similar to ประเภทของบทเรียน Cai

ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2Paranee Srikhampaen
 
แผนที่ 12 summary and posttest
แผนที่ 12 summary and posttestแผนที่ 12 summary and posttest
แผนที่ 12 summary and posttestTeacher Sophonnawit
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)Sommawan Keawsangthongcharoen
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยMoss Worapong
 
Computer project type (1)
Computer project type (1)Computer project type (1)
Computer project type (1)Natchaya49391
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทmcf_cnx1
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานmansupotyrc
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Krudoremon
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsawชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ JigsawKrutanapron Nontasaen
 
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์Por Oraya Moungmontree
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5Krudoremon
 
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียนอัมพร ศรีพิทักษ์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมporpia
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 3 เรื่องที่ 3 การกำหนดหัวข้อย่อยและลำดับเลข
งานนำเสนอ หน่วยที่ 3 เรื่องที่ 3 การกำหนดหัวข้อย่อยและลำดับเลขงานนำเสนอ หน่วยที่ 3 เรื่องที่ 3 การกำหนดหัวข้อย่อยและลำดับเลข
งานนำเสนอ หน่วยที่ 3 เรื่องที่ 3 การกำหนดหัวข้อย่อยและลำดับเลขsutham lrp
 

Similar to ประเภทของบทเรียน Cai (20)

ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
 
แผนที่ 12 summary and posttest
แผนที่ 12 summary and posttestแผนที่ 12 summary and posttest
แผนที่ 12 summary and posttest
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 
Computer project type (1)
Computer project type (1)Computer project type (1)
Computer project type (1)
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
 
Infor
InforInfor
Infor
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsawชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
 
ชุดกิจกรรมที่ 1
ชุดกิจกรรมที่  1ชุดกิจกรรมที่  1
ชุดกิจกรรมที่ 1
 
Gor3
Gor3Gor3
Gor3
 
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 3 เรื่องที่ 3 การกำหนดหัวข้อย่อยและลำดับเลข
งานนำเสนอ หน่วยที่ 3 เรื่องที่ 3 การกำหนดหัวข้อย่อยและลำดับเลขงานนำเสนอ หน่วยที่ 3 เรื่องที่ 3 การกำหนดหัวข้อย่อยและลำดับเลข
งานนำเสนอ หน่วยที่ 3 เรื่องที่ 3 การกำหนดหัวข้อย่อยและลำดับเลข
 

More from DZNiiY MyLoVE

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอDZNiiY MyLoVE
 
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Caiตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน CaiDZNiiY MyLoVE
 
ประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Caiประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน CaiDZNiiY MyLoVE
 
ประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Caiประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน CaiDZNiiY MyLoVE
 
ประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Caiประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน CaiDZNiiY MyLoVE
 
การแก้ปัญหา 1
การแก้ปัญหา 1การแก้ปัญหา 1
การแก้ปัญหา 1DZNiiY MyLoVE
 

More from DZNiiY MyLoVE (8)

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
นา.นา
นา.นานา.นา
นา.นา
 
เจ คับ
เจ คับเจ คับ
เจ คับ
 
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Caiตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
 
ประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Caiประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Cai
 
ประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Caiประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Cai
 
ประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Caiประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Cai
 
การแก้ปัญหา 1
การแก้ปัญหา 1การแก้ปัญหา 1
การแก้ปัญหา 1
 

ประเภทของบทเรียน Cai

  • 1.  
  • 2. ผู้จัดทำ นายธรรมรัฐ สังชาดี นายสรายุทธ นวลละออง นางสาวนฤมล รัตนาวัฒน์ นางสาววิไลวรรณ ทนุดำ นางสาวภนิดา ดอกสนธิ์ เสนอ ครู .. รินทร์ลภัส พงศ์ฤทธิพิมล
  • 3. 1. โปรแกรมแบบฝึกหัด (Drill And Practice) 2. โปรแกรมแบบสอนเสริม (Tutorial) 3. โปรแกรมแบบจำลองสถานการณ์ (Simulation) 4. โปรแกรมแบบเกมส์สอน (Instruction Games) 5. โปรแกรมแบบการแก้ปัญหา (Problem-Solving) 6. โปรแกรมแบบ ICAI (Intelligence CAI)
  • 4. เมนู         โปรแกรมประเภทนี้เป็นที่รู้จักและใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยที่ผู้สอนออกแบบไว้สำหรับการทบทวน การทำแบบฝึกหัด และการฝึกทักษะเฉพาะอย่าง เช่น การสะกด การอ่าน และฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ เป็นต้น หลังจากที่ผู้เรียนได้ศึกษาบทเรียนและเนื้อหามาแล้ว ผู้เรียนสามารถทำการฝึกและปฏิบัติเพิ่มเติมได้ แต่วิธีนี้มีข้อเสียคือเป็นวิธีการ ( สอน ) ที่ค่อนข้างอยู่ในวงจำกัดและแคบไป เพราะเป็นการโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับเครื่องทำให้ไม่ค่อยน่าสนใจมากนัก การเริ่มต้นบทเรียน ผู้เรียนอาจจะถูกถามและให้เลือกระดับความยากและรายการของเนื้อหาวิชาการที่ต้องการ เช่น ต้องการคำถามเรื่องอะไร บวก ลบ คูณ หาร         ต้องการความยากระดับไหน ยาก ปานกลาง ง่าย 1. โปรแกรมแบบฝึกหัด (Drill And Practice)
  • 5.         หลังจากการศึกษาเนื้อหาวิชาในชั้นเรียนแล้วนักเรียนสามารถใช้บทเรียนแบบนี้ทบทวนเนื้อหาที่เรียนมาแล้ว และหลังจากการทบทวนเนื้อหาจากโปรแกรมแล้วจะมีฝึกทำแบบทดสอบเพื่อเป็นการฝึกทักษะ หรือ Concept ของเนื้อหาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะตลอดจนความรู้ความเข้าใจของผู้เรียน ดังนั้นบทเรียนประเภทเสริมการเรียนรู้นี้เนื้อหาจะเป็นไปในลักษณะการช่วยเสริมสร้าง Concept ที่ได้เรียนมาแล้วในชั้นเรียน เนื้อหาอาจจะมีความยาวประมาณ 30 นาทีไปจนถึง 1 ชั่วโมง ลักษณะการสอนหรือการเสนอเนื้อหาความรู้ให้กับผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และตอบคำถามได้ตามความสนใจและความถนัดของตัวเอง     ระบบบทเรียนแบบสอนเสริม สามารถเสนอบทเรียนได้ 2 รูปแบบคือ ถัดไป 2. โปรแกรมแบบสอนเสริม (Tutorial)
  • 6.         1. บทเรียนแบบเส้นตรง ( Linear Program)         โปรแกรมประเภทนี้ใช้สำหรับการสอนเนื้อหาของวิชาต่างๆ ให้แก่ผู้เรียน ดังนี้ คอมพิวเตอร์จะมีบทบาทเป็นผู้สอนหรือ Tutor เนื้อหาของบทเรียน การเสนอเนื้อหาวิชาการอาจจะเสนอเป็นเฟรมๆ ตั้งแต่เฟรมแรกไปจนถึงเฟรมสุดท้ายแล้วให้ตอบคำถามท้ายบทเรียนเป็นตอนๆ แต่ละตอนอาจจะมีตั้งแต่ 1 เฟรมขึ้นไป พอจบบทเรียนแต่ละตอนก็จะมีคำถาม ถ้าตอบไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ผู้เรียนสามารถกลับไปทบทวนบทเรียนใหม่ก่อนที่จะขึ้นบทเรียนหรือตอนใหม่ต่อไป ถัดไป
  • 7.         2. บทเรียนแบบสาขาหรือ Branching Tutorial         การสอนแบบสาขาเป็นการเสนอเนื้อหา และบทเรียนหลายๆ หัวข้อแล้วให้นักเรียนเลือกบทเรียนตามความต้องการ ดังนั้นจึงเหมาะกับบทเรียนที่มีเนื้อหามากๆ การเสนอเนื้อหาแบ่งออกเป็นหัวข้อย่อยตามความเหมาะสมกับระดับชั้น เพื่อให้ไม่ใช้เวลามากจนน่าเบื่อเกินไป การเสนอเนื้อหาแบบนี้ผู้สอนในวิชานั้นๆ รู้ดีว่าเนื้อหาตอนใด หัวข้อใด เรื่องใด ควรมาก่อนหลัง หลังจากการศึกษาบทเรียนแต่ละเรื่องแล้วอาจจะมีคำถามท้ายบทลักษณะของโปรแกรม CAI แบบนี้การออกแบบและการสร้างยุ่งยากกว่าแนวดิ่ง แต่สร้างบทเรียนได้คลอบคลุมเนื้อหาได้กว้างและลึก ผู้เรียนสามารถเลือกบทเรียนได้ตามความถนัดและความสนใจ เมนู
  • 8. การใช้โปรแกรมช่วยจำลองสิ่งแวดล้อมหรือ สร้างสถานการณ์ต่างๆ ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งในบางครั้ง การฝึกและการทดลองจริงอาจจะราคาแพง หรือมี ความเสี่ยงอันตรายสูงจึงเขียนโปรแกรมเพื่อจำลอง สถานการณ์ และสภาพแวดล้อมขึ้นด้วยคอมพิวเตอร์ การจำลองสถานการณ์อาจจะแยกเป็น 2 รูปแบบ ถัดไป 3. โปรแกรมแบบจำลองสถานการณ์ (Simulation)
  • 9. 2. แบบความน่าจะเป็นจริง (Probabilistic) เช่นการฝึกหัดขับเครื่องบิน การทดลองทางเคมี การจราจร การทำโมเดล การทดสอบการทำงานของเครื่อง และอุปกรณ์ เป็นต้น 1. แบบกฏตายตัว ( Deterministic) เป็นการสร้างบทเรียนจำลองเหตุการณ์ขึ้นจากสูตรหรือกฏเกณฑ์ที่ตายตัว เช่นเรื่องแรงโน้มถ่วง การไหลของกระแสไฟฟ้า กฏของโอห์ม เป็นต้น เมนู
  • 10.         โปรแกรมประเภทนี้มีลักษณะเด่นหลายอย่างเป็นต้นว่ามีความท้าทายความมานะที่จะทำให้สำเร็จและสร้างแรงจูงใจ และเร้าใจได้ดีและง่าย นอกจากนี้ทำให้ผู้เรียนเกิดความสนุกสนานและเพลิดเพลินเนื่องจากมีภาพ แสง สี เสียงและกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวได้ โปรแกรมแบบนี้สามารถที่จะช่วยทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับภาษา การคิดหาเหตุผลและด้านการอ่านโปรแกรมแบบนี้ยังไม่มีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ในศาสตร์ต่างๆ เท่าใดนักแต่น่าที่จะหาวิธีการสร้างบทเรียนแบบเกมส์เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีกว่านี้ เมนู 4. โปรแกรมแบบเกมส์สอน (Instruction Games)
  • 11.         การสร้างบทเรียนสำหรับใช้เรียนรู้วิธีการคิดแก้ปัญหา เป็นโปรแกรมการสอนที่ซับซ้อนต้องใช้เทคนิคและวิธีการหลายๆ อย่างมาใช้เช่น แบบเกมส์ และแบบจำลองสถานการณ์ด้วย ตัวอย่างเช่นโปรแกรม LOGO โปรแกรมลักษณะนี้ผู้เรียนจะให้ความสนใจและตั้งใจมาก ถ้าได้รับแรงจูงใจและสิ่งเร้าใจในการเรียนและผู้เรียนจะรู้สึกสนุกสนานและเกิดความท้าทาย และสร้างแรงความพยายามในการแก้ปัญหาต่อไป ดังนี้การออกแบบและการสร้างบทเรียนซับซ้อนมาก จำเป็นที่จะต้องอาศัยนักเขียนโปรแกรม และนักตรรกศาสตร์ช่วยเป็นอย่างมาก เมนู 5. โปรแกรมแบบการแก้ปัญหา (Problem-Solving)
  • 12.                  โปรแกรมแบบนี้ใช้หลักการปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI (Artificial Intelligence) และวิธีการฐานความรู้ ( Knowledge Base) มาใช้งานเพื่อจัดเตรียม เก็บข้อมูลและข้อเท็จจริง ( Facts) ไว้สำหรับให้โปรแกรมหาเหตุผลหรือเพื่อใช้ในการโต้ตอบกันระหว่างเครื่องกับผู้เรียน นอกจากนี้อาจจะสร้างโมเดลของการเรียนรู้ขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนสามารถทราบถึงความก้าวหน้าและข้อบกพร่องในการเรียนรู้ของตัวเอง เมนู 6. โปรแกรมแบบ ICAI (Intelligence CAI)