SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
วิเคราะหเปรียบเทียบความไดเปรียบของอุตสาหกรรมกอสรางไทยกับอาเซียน+ 4
              วิชา บร.603 การวิเคราะหอุตสาหกรรมและการแขงขัน




      Team Member
      ขวัญตา จันทรสองแสง             เลขทะเบียน 5302010110
      จารุณัฐ จิรรัตนสถิต             เลขทะเบียน 5302010128
      กรกช วิเศษสินธุ                  เลขทะเบียน 5302010169
                                                                   1
อุตสาหกรรมกอสรางในประเทศไทย
• การลงทุนภาคกอสรางของไทยเคยมีมูลคาสูงถึงปละ 8 แสนลานบาท
• การลงทุนในโครงการภาครัฐและเอกชนมีสัดสวนที่ใกลเคียงกัน
• ชวง 5 ปกอนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ (พ.ศ.2540) อุตสาหรรมกอสรางมี
  สัดสวนรอยละ 6-6.4 ตอ GDP ของประเทศและลดเหลือ รอยละ 4.8 ใน
  ป พ.ศ. 2540 และลดลงอยางตอเนื่องจนอยูในระดับประมาณรอยละ
  2.72 ของ GDP ในชวงป พ.ศ.2552
• การขยายตัวและการหดตัวของภาคกอสรางมีความผันผวนมากเนื่องจาก
  ขาดทิศทางและเสถียรภาพจากนโยบายของรัฐบาลและความไมแนนอน
  ทางการเมือง
อุตสาหกรรมกอสรางในประเทศไทย (ตอ)
อุตสาหกรรมกอสรางในประเทศไทย (ตอ)
• ขอมูลกรมพัฒนาธุรกิจการคา (ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ.2553)
  - ธุรกิจกอสรางที่จดทะเบียนในประเทศไทย 74,965 ราย
  - อนุญาตใหคนตางดาวประกอบธุรกิจกอสราง 436 ราย
  - ออกหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจของคนตางดาว 238 ราย
• ขอมูลจากสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทย
  - กอนวิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ.2540 มีแรงงานประมาณ 4 ลานคน
  - ป พ.ศ.2553 ลดลงเหลือประมาณ 2.5 ลานคน
  - มีวิศวกรที่จดทะเบียนกับสภาวิศวกรประมาณ 108,000 คน
ปญหาของอุตสาหกรรมกอสรางไทย
ปจจัยภายใน                       ปจจัยภายนอก
• ขาดหนวยงานเจาภาพ              • ระบบการเงิน/ภาษี
• ระบบราชการไมทันสมัย            • มีขอผูกมัดดานการชวยเหลือและ
• ขาดการพัฒนาฝมือและแรงงาน          เงินกู
• ขาดการพัฒนาเทคโนโลยีอยางเปน   • เงื่อนไขทางกฏหมายวาดวยการ
   ระบบและตอเนื่อง                  ประกอบอาชีพวิศวกรรม
                                  • ขาดประสบการณตางประเทศ
SWOT Analysis อุตสาหกรรมกอสรางไทย
             จุดแข็ง (Strength)                                          จุดออน (Weaknesses)
1.   มีประสบการณยาวนาน                               1.    ขาดนโยบายการสงเสริมและสนับสนุนที่ชัดเจน และเปนการพัฒนา
2.   สถาปนิก วิศวกร ชางเทคนิค และชางฝมือแรงงานมี         อยางไรทิศทาง
     ศักยภาพ                                          2.    ขาดการสนับสนุนอยางจริงจังจากภาครัฐในการแขงขันระดับสากล
3.   มีผูประกอบการจํานวนมาก                          3.    ยังคงตองพึ่งพาเทคโนโลยีตางประเทศอยางมาก
4.   มีอุตสาหกรรมสนับสนุนมาก                          4.    ขาดความเปนชาตินิยม
5.   มีความสามารถในการปรับตัวสูง                      5.    การถายโอนเทคโนโลยียังมีไมมาก/ไมมี R&D
                                                      6.    ขาดแหลงขอมูลที่ใชอางอิง
                                                      7.    ขาดความคลองตัวในการทํางานเนื่องจากมีหนวยงานภาครัฐเกียวของ
                                                                                                                  ่
                                                            มากและไมมเี อกภาพ
                                                      8.    ระบบการจายเงินที่ลาชาของทางราชการ
                                                      9.    ระบบจัดซื้อจัดจางที่ไมสะทอนความเปนจริง
                                                      10.   ขาดการพัฒนาฝมือแรงงานและเทคโนโลยีอยางเปนระบบและ
                                                            ตอเนื่อง
                                                      11.   ขาดเกณฑมาตรฐานในการวัดการทํางาน
                                                      12.   คนงานมีคุณภาพชีวตต่ํา
                                                                               ิ
                                                      13.   การไหลออกจากระบบของแรงงานฝมือ
                                                      14.   ผลิตผลแรงงานอยูในเกณฑต่ํา
                                                      15.   บุคลากรขาดทักษะดานภาษาการใชเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร
SWOT Analysis อุตสาหกรรมกอสรางไทย
         โอกาส (Opportunity)                                       ภัยคุกคาม (Threats)
1.   โครงการทีมขนาดใหญและใชเทคโนโลยีสูงมี
               ่ ี                                1.   การบังคับใหเปดเสรีทางการคาและบริการของ WTO, APEC
     จํานวนมาก ไทยยังมีสวนแบงนอยมาก                 และ AFTA
2.   ประเทศเพื่อนบานกําลังพัฒนาโครงการกอสราง   2.   การบังคับใชมาตรฐานทีสูงขึนจากประเทศที่เจริญแลว (เชน ISO
                                                                              ่ ้
     สาธารณูปโภคพื้นฐานขนาดใหญ                        9002, ISO 14000, ISO 18000, UIA)
3.   โอกาสในการพัฒนาอุตสาหกรรมอื่นที่เกี่ยวของ   3.   การแขงขันกับบริษัทตางชาติที่ตนทุนต่ํากวา เพราะไดรับการ
     กับอุตสาหกรรมกอสราง                             สนับสนุนดานเงินทุนจากรัฐบาล
4.   การเปดการคาเสรีทําใหไทยมีโอกาสมากขึน
                                           ้      4.   การแขงขันทีใชเทคโนโลยีสูงกวา
                                                                   ่
5.   เศรษฐกิจมีแนวโนมฟนตัว                     5.   มีการไหลเขาของแรงงานตางชาติราคาถูก
การเจรจาการคาบริการระหวางประเทศ
• WTO ได จําแนกบริการออกเปน 12 ประเภท โดยประเภทที่ 3 คือ การ
  กอสรางและการบริการทางวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
• ในการเจราจาการคาระหวางประเทศ มีประเทศที่ผลักดันการเปดตลาด
  การคาบริการการกอสรางระหวางประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย แคนาดา
  ไตหวัน สหภาพยุโรป ญี่ปุน เกาหลี มาเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด
  นอรเวย สิงคโปร ตุรกีและสหรัฐอเมริกา โดยจัดทําขอเรียกรอง
  โดยเฉพาะการยกเลิกการจํากัดสัดสวนหุนตางชาติ และขอยกเลิกการ
  จํากัดประเภท
• ไทยมี พรบ.การประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ.2542 ถือเปนธุรกิจที่
  ยังไมพรอมแขงขัน
ลักษณะธุรกิจและบริการ
• ภายในประเทศมีผูประกอบการอยูมาก มีรายใหญไมกี่ราย ทําใหเปน
  ธุรกิจที่ไมสามารถผูกขาดไดโดยงาย
• เปนธุรกิจที่มีการแขงขันสูง โดยเนนการแขงขันในเชิงราคาเปนหลัก
• เปนการแขงขันราคาดวยกันเองระหวางผูประกอบการภายในประเทศ
  และบริษัทขามชาติ (Multinational Contractors)
• สหรัฐอเมริกา มีความชํานาญดานการปโตรเลียม อุตสาหกรรมเคมี
• ญี่ปุนและเกาหลี มีความชํานาญดานการกอสรางโรงงานการผลิต
• ยุโรป มีความชํานาญดานการกอสรางอาคาร สาธารณูปโภค
• จีน เริ่มมีบทบาทอยางยิ่งในชวง 5 ปที่ผานมา โดนมีรัฐบาลเปน
  ผูสนับสนุน
ลักษณะธุรกิจและบริการ (ตอ)
• ขอมูลวารสาร “Engineering News Record” รายงานวาในป พ.ศ.2550
  ผูรับเหมากอสรางรายใหญของโลก 225 อันดับแรก มีรายรับจากนอก
  ประเทศรวมกันเปนมูลคา 310.25 พันลานเหรียญสหรัฐฯ โดยมีสัดสวน
  รายรับจากนอกประเทศตอรายรับทั้งหมด ดังนี้ ยุโรปรอยละ 31
  ตะวันออกกลางรอยละ 20 เอเซียแปซิฟกรอยละ 18 สหรัฐฯรอยละ 12
  แอฟริการอยละ 9
• ผูรับเหมารายใหญ 3 อันดับแรก ไดแก Hochtief AG จากเยอรมัน Vinci
  จากฝรั่งเศส และ SKANSKA จากสวีเดน มีรายรับจากนอกประเทศตอ
  รายรับทั้งหมด เปนสัดสวนรอยละ 89 ,35 และ 75 ตามลําดับ
The Top 20 Global Contractors (Based on Total Firm Contracting Revenue)




แหลงที่มา : http://enr.construction.com/toplists/GlobalContractors/101-200.asp
Porter’s Diamond
วิเคราะหความสามารถในการแขงขันในอุตสาหกรรม
            กอสรางไทยเมื่อเทียบกับอาเซียน+ 4
ผูประกอบการของไทยยังไมมีความพรอมในการออกไปแขงขันโดยตรงกับผูแขงขัน
ในอาเซียน+4 ทั้งนี้เนื่องจาก
1.ดานเงินทุน ไดแก แหลงเงินกูดอกเบี้ยต่ํากวาแบงคตางชาติ , คาธรรมเนียมในการ
                                                       
จัดทําหลักทรัพยค้ําประกัน
2.ดานศักยภาพของผูประกอบการ ไดแก ระบบการบริหารงาน ความเปนมืออาชีพ
ดานภาษา ดานกฏหมาย
3.ดานการตลาด ไดแก ขาดขอมูลวิเคราะหการลงทุนที่มีความแมนยํา
แตสิ่งที่ไทยไดเปรียบคือ
1.ชางฝมือที่มีศักยภาพ โดยมีตนทุนคาแรงงานที่ต่ํา
ขอเสนอแนวทางการลงทุนอุตสาหกรรมกอสรางขามชาติ ณ
                     ขณะนี้
• การเขาไปเปนสวนหนึ่งของ Supply chain ในโครงการกอสรางตางชาติ
  เพื่อใหเกิดการเรียนรู การเสริมสรางทักษะ วัฒนธรรม เชน การเขาไปเปน
  ผูรับเหมาเฉพาะคาแรงงานในการกอสราง
• การใชฐานผลิตในไทยและสงออกไปยังตางประเทศ เชน การประกอบโรงงาน
  สําเร็จรูปแลวขนยายลงเรือสงไปยังประเทศญี่ปุน
• การรวมมือกันระหวาง ผูประกอบการ ธนาคาร ผูจาหนายสินคา เพื่อออกไป
                                                   ํ
  แขงขันยังตางประเทศ
แนวทางในอนาคตเพื่อผลักดันอุตสาหกรรมกอสรางไทยในการ
                   แขงขันกับตางประเทศ
     อุตสากรรมกอสรางจําเปนตองมีการปรับเปลี่ยนการดําเนินงานและความสัมพันธของธุรกิจเพื่อรองรับ
         Globalization โดยบทบาทของภาครัฐบาลเปนสิ่งทีจาเปนอยางยิงในการผลักดันอุตสาหกรรมกอสราง
                                                        ่ํ          ่
                                      ใหกาวหนาอยางมีเสถียรภาพและยั่งยืน
                                          
1.       การสรางความรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชน และระหวางอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของโดยรัฐเปนผูนํา
2.       การสงเสริมการสงออกอุตสาหกรรมกอสรางเหมือนเชนเดียวกับอุตสาหกรรมสงออกทีสาคัญอื่นๆ
                                                                                       ่ ํ
         โดยรัฐ
3.       การจูงใจใหสิทธิประโยชนในการสงออกและการอํานวยความสะดวกแกผูประกอบการกอสรางโดย
         รัฐ
4.       การยกระดับทักษะแรงงานกอสรางใหเปน Knowledge Worker
5.       การปรับปรุงมาตรฐานและเทคนิคการดําเนินงานของภาคเอกชนและรัฐ
6.       การยกระดับความเปนมืออาชีพ
7.       การพัฒนาเทคโนโลยีใหกาวทันตอตางชาติ
8.       สรางอาชีพชางไม ชางปูน กรรมกร ฯลฯ ใหเปนอาชีพทีแทจริงถาวร
                                                             ่
9.       ใหมีการจัดตังธนาคารรัฐเพื่อสนับสนุนทางการเงินใหกับผูประกอบการกอสรางที่ไปลงทุน
                      ้
         ตางประเทศ (Construction bank of Thailand)
จบการนําเสนอ

More Related Content

Similar to Construction industry analysis

กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน) กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน) DrDanai Thienphut
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการDrDanai Thienphut
 
ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3DrDanai Thienphut
 
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วชKant Weerakant Drive Thailand
 
NESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and ProductivityNESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and Productivityguestad02e0
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Tanya Sattaya-aphitan
 
การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน
การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน
การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน Dr.Choen Krainara
 
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Software Park Thailand
 
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"Software Park Thailand
 
Thaialnd Service Robot Market 2023
Thaialnd Service Robot Market 2023Thaialnd Service Robot Market 2023
Thaialnd Service Robot Market 2023SirintornIns
 
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-2019083101 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831thanaruk theeramunkong
 
True corporation public company limited
True corporation public company limitedTrue corporation public company limited
True corporation public company limitedNew Evo'v
 

Similar to Construction industry analysis (20)

Industry 2020
Industry 2020 Industry 2020
Industry 2020
 
Manpower demand
Manpower demandManpower demand
Manpower demand
 
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน) กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน)
 
Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
 
Clouds, big data, and smart assets
Clouds, big data, and smart assetsClouds, big data, and smart assets
Clouds, big data, and smart assets
 
Group5
Group5Group5
Group5
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09
 
ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3
 
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
 
NESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and ProductivityNESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and Productivity
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
 
การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน
การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน
การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน
 
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
 
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
 
Thaialnd Service Robot Market 2023
Thaialnd Service Robot Market 2023Thaialnd Service Robot Market 2023
Thaialnd Service Robot Market 2023
 
190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk
 
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-2019083101 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
 
True corporation public company limited
True corporation public company limitedTrue corporation public company limited
True corporation public company limited
 

More from Jarunat Jiraratsatit

Time for a contract renewal build on yor past success
Time for a contract renewal build on yor past successTime for a contract renewal build on yor past success
Time for a contract renewal build on yor past successJarunat Jiraratsatit
 
Sewing up a long term relationship
Sewing up a long term relationshipSewing up a long term relationship
Sewing up a long term relationshipJarunat Jiraratsatit
 
How to negotiate when vales are at stake
How to negotiate when vales are at stakeHow to negotiate when vales are at stake
How to negotiate when vales are at stakeJarunat Jiraratsatit
 
How to manage your negotiating team
How to manage your negotiating teamHow to manage your negotiating team
How to manage your negotiating teamJarunat Jiraratsatit
 
How snap judgment lead negotiators astray
How snap judgment lead negotiators astrayHow snap judgment lead negotiators astray
How snap judgment lead negotiators astrayJarunat Jiraratsatit
 
Damage control for disappointing results
Damage control for disappointing resultsDamage control for disappointing results
Damage control for disappointing resultsJarunat Jiraratsatit
 
Beyond salary negotiating for job satisfaction and success
Beyond salary negotiating for job satisfaction and successBeyond salary negotiating for job satisfaction and success
Beyond salary negotiating for job satisfaction and successJarunat Jiraratsatit
 
Using social media in your negotiations
Using social media in your negotiationsUsing social media in your negotiations
Using social media in your negotiationsJarunat Jiraratsatit
 

More from Jarunat Jiraratsatit (13)

Time for a contract renewal build on yor past success
Time for a contract renewal build on yor past successTime for a contract renewal build on yor past success
Time for a contract renewal build on yor past success
 
The danger of take it or leave it
The danger of take it or leave itThe danger of take it or leave it
The danger of take it or leave it
 
The cruial first five minutes
The cruial first five minutesThe cruial first five minutes
The cruial first five minutes
 
Sewing up a long term relationship
Sewing up a long term relationshipSewing up a long term relationship
Sewing up a long term relationship
 
How to negotiate when vales are at stake
How to negotiate when vales are at stakeHow to negotiate when vales are at stake
How to negotiate when vales are at stake
 
How to manage your negotiating team
How to manage your negotiating teamHow to manage your negotiating team
How to manage your negotiating team
 
How snap judgment lead negotiators astray
How snap judgment lead negotiators astrayHow snap judgment lead negotiators astray
How snap judgment lead negotiators astray
 
Damage control for disappointing results
Damage control for disappointing resultsDamage control for disappointing results
Damage control for disappointing results
 
Beyond salary negotiating for job satisfaction and success
Beyond salary negotiating for job satisfaction and successBeyond salary negotiating for job satisfaction and success
Beyond salary negotiating for job satisfaction and success
 
Becoming a manager of negotiators
Becoming a manager of negotiatorsBecoming a manager of negotiators
Becoming a manager of negotiators
 
When your agent works against you
When your agent works against youWhen your agent works against you
When your agent works against you
 
Using social media in your negotiations
Using social media in your negotiationsUsing social media in your negotiations
Using social media in your negotiations
 
Lighter industry in_india
Lighter industry in_indiaLighter industry in_india
Lighter industry in_india
 

Construction industry analysis

  • 1. วิเคราะหเปรียบเทียบความไดเปรียบของอุตสาหกรรมกอสรางไทยกับอาเซียน+ 4 วิชา บร.603 การวิเคราะหอุตสาหกรรมและการแขงขัน Team Member ขวัญตา จันทรสองแสง เลขทะเบียน 5302010110 จารุณัฐ จิรรัตนสถิต เลขทะเบียน 5302010128 กรกช วิเศษสินธุ เลขทะเบียน 5302010169 1
  • 2. อุตสาหกรรมกอสรางในประเทศไทย • การลงทุนภาคกอสรางของไทยเคยมีมูลคาสูงถึงปละ 8 แสนลานบาท • การลงทุนในโครงการภาครัฐและเอกชนมีสัดสวนที่ใกลเคียงกัน • ชวง 5 ปกอนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ (พ.ศ.2540) อุตสาหรรมกอสรางมี สัดสวนรอยละ 6-6.4 ตอ GDP ของประเทศและลดเหลือ รอยละ 4.8 ใน ป พ.ศ. 2540 และลดลงอยางตอเนื่องจนอยูในระดับประมาณรอยละ 2.72 ของ GDP ในชวงป พ.ศ.2552 • การขยายตัวและการหดตัวของภาคกอสรางมีความผันผวนมากเนื่องจาก ขาดทิศทางและเสถียรภาพจากนโยบายของรัฐบาลและความไมแนนอน ทางการเมือง
  • 4. อุตสาหกรรมกอสรางในประเทศไทย (ตอ) • ขอมูลกรมพัฒนาธุรกิจการคา (ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ.2553) - ธุรกิจกอสรางที่จดทะเบียนในประเทศไทย 74,965 ราย - อนุญาตใหคนตางดาวประกอบธุรกิจกอสราง 436 ราย - ออกหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจของคนตางดาว 238 ราย • ขอมูลจากสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทย - กอนวิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ.2540 มีแรงงานประมาณ 4 ลานคน - ป พ.ศ.2553 ลดลงเหลือประมาณ 2.5 ลานคน - มีวิศวกรที่จดทะเบียนกับสภาวิศวกรประมาณ 108,000 คน
  • 5. ปญหาของอุตสาหกรรมกอสรางไทย ปจจัยภายใน ปจจัยภายนอก • ขาดหนวยงานเจาภาพ • ระบบการเงิน/ภาษี • ระบบราชการไมทันสมัย • มีขอผูกมัดดานการชวยเหลือและ • ขาดการพัฒนาฝมือและแรงงาน เงินกู • ขาดการพัฒนาเทคโนโลยีอยางเปน • เงื่อนไขทางกฏหมายวาดวยการ ระบบและตอเนื่อง ประกอบอาชีพวิศวกรรม • ขาดประสบการณตางประเทศ
  • 6. SWOT Analysis อุตสาหกรรมกอสรางไทย จุดแข็ง (Strength) จุดออน (Weaknesses) 1. มีประสบการณยาวนาน 1. ขาดนโยบายการสงเสริมและสนับสนุนที่ชัดเจน และเปนการพัฒนา 2. สถาปนิก วิศวกร ชางเทคนิค และชางฝมือแรงงานมี อยางไรทิศทาง ศักยภาพ 2. ขาดการสนับสนุนอยางจริงจังจากภาครัฐในการแขงขันระดับสากล 3. มีผูประกอบการจํานวนมาก 3. ยังคงตองพึ่งพาเทคโนโลยีตางประเทศอยางมาก 4. มีอุตสาหกรรมสนับสนุนมาก 4. ขาดความเปนชาตินิยม 5. มีความสามารถในการปรับตัวสูง 5. การถายโอนเทคโนโลยียังมีไมมาก/ไมมี R&D 6. ขาดแหลงขอมูลที่ใชอางอิง 7. ขาดความคลองตัวในการทํางานเนื่องจากมีหนวยงานภาครัฐเกียวของ ่ มากและไมมเี อกภาพ 8. ระบบการจายเงินที่ลาชาของทางราชการ 9. ระบบจัดซื้อจัดจางที่ไมสะทอนความเปนจริง 10. ขาดการพัฒนาฝมือแรงงานและเทคโนโลยีอยางเปนระบบและ ตอเนื่อง 11. ขาดเกณฑมาตรฐานในการวัดการทํางาน 12. คนงานมีคุณภาพชีวตต่ํา ิ 13. การไหลออกจากระบบของแรงงานฝมือ 14. ผลิตผลแรงงานอยูในเกณฑต่ํา 15. บุคลากรขาดทักษะดานภาษาการใชเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร
  • 7. SWOT Analysis อุตสาหกรรมกอสรางไทย โอกาส (Opportunity) ภัยคุกคาม (Threats) 1. โครงการทีมขนาดใหญและใชเทคโนโลยีสูงมี ่ ี 1. การบังคับใหเปดเสรีทางการคาและบริการของ WTO, APEC จํานวนมาก ไทยยังมีสวนแบงนอยมาก และ AFTA 2. ประเทศเพื่อนบานกําลังพัฒนาโครงการกอสราง 2. การบังคับใชมาตรฐานทีสูงขึนจากประเทศที่เจริญแลว (เชน ISO ่ ้ สาธารณูปโภคพื้นฐานขนาดใหญ 9002, ISO 14000, ISO 18000, UIA) 3. โอกาสในการพัฒนาอุตสาหกรรมอื่นที่เกี่ยวของ 3. การแขงขันกับบริษัทตางชาติที่ตนทุนต่ํากวา เพราะไดรับการ กับอุตสาหกรรมกอสราง สนับสนุนดานเงินทุนจากรัฐบาล 4. การเปดการคาเสรีทําใหไทยมีโอกาสมากขึน ้ 4. การแขงขันทีใชเทคโนโลยีสูงกวา ่ 5. เศรษฐกิจมีแนวโนมฟนตัว 5. มีการไหลเขาของแรงงานตางชาติราคาถูก
  • 8. การเจรจาการคาบริการระหวางประเทศ • WTO ได จําแนกบริการออกเปน 12 ประเภท โดยประเภทที่ 3 คือ การ กอสรางและการบริการทางวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง • ในการเจราจาการคาระหวางประเทศ มีประเทศที่ผลักดันการเปดตลาด การคาบริการการกอสรางระหวางประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย แคนาดา ไตหวัน สหภาพยุโรป ญี่ปุน เกาหลี มาเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด นอรเวย สิงคโปร ตุรกีและสหรัฐอเมริกา โดยจัดทําขอเรียกรอง โดยเฉพาะการยกเลิกการจํากัดสัดสวนหุนตางชาติ และขอยกเลิกการ จํากัดประเภท • ไทยมี พรบ.การประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ.2542 ถือเปนธุรกิจที่ ยังไมพรอมแขงขัน
  • 9. ลักษณะธุรกิจและบริการ • ภายในประเทศมีผูประกอบการอยูมาก มีรายใหญไมกี่ราย ทําใหเปน ธุรกิจที่ไมสามารถผูกขาดไดโดยงาย • เปนธุรกิจที่มีการแขงขันสูง โดยเนนการแขงขันในเชิงราคาเปนหลัก • เปนการแขงขันราคาดวยกันเองระหวางผูประกอบการภายในประเทศ และบริษัทขามชาติ (Multinational Contractors) • สหรัฐอเมริกา มีความชํานาญดานการปโตรเลียม อุตสาหกรรมเคมี • ญี่ปุนและเกาหลี มีความชํานาญดานการกอสรางโรงงานการผลิต • ยุโรป มีความชํานาญดานการกอสรางอาคาร สาธารณูปโภค • จีน เริ่มมีบทบาทอยางยิ่งในชวง 5 ปที่ผานมา โดนมีรัฐบาลเปน ผูสนับสนุน
  • 10. ลักษณะธุรกิจและบริการ (ตอ) • ขอมูลวารสาร “Engineering News Record” รายงานวาในป พ.ศ.2550 ผูรับเหมากอสรางรายใหญของโลก 225 อันดับแรก มีรายรับจากนอก ประเทศรวมกันเปนมูลคา 310.25 พันลานเหรียญสหรัฐฯ โดยมีสัดสวน รายรับจากนอกประเทศตอรายรับทั้งหมด ดังนี้ ยุโรปรอยละ 31 ตะวันออกกลางรอยละ 20 เอเซียแปซิฟกรอยละ 18 สหรัฐฯรอยละ 12 แอฟริการอยละ 9 • ผูรับเหมารายใหญ 3 อันดับแรก ไดแก Hochtief AG จากเยอรมัน Vinci จากฝรั่งเศส และ SKANSKA จากสวีเดน มีรายรับจากนอกประเทศตอ รายรับทั้งหมด เปนสัดสวนรอยละ 89 ,35 และ 75 ตามลําดับ
  • 11.
  • 12. The Top 20 Global Contractors (Based on Total Firm Contracting Revenue) แหลงที่มา : http://enr.construction.com/toplists/GlobalContractors/101-200.asp
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20. วิเคราะหความสามารถในการแขงขันในอุตสาหกรรม กอสรางไทยเมื่อเทียบกับอาเซียน+ 4 ผูประกอบการของไทยยังไมมีความพรอมในการออกไปแขงขันโดยตรงกับผูแขงขัน ในอาเซียน+4 ทั้งนี้เนื่องจาก 1.ดานเงินทุน ไดแก แหลงเงินกูดอกเบี้ยต่ํากวาแบงคตางชาติ , คาธรรมเนียมในการ  จัดทําหลักทรัพยค้ําประกัน 2.ดานศักยภาพของผูประกอบการ ไดแก ระบบการบริหารงาน ความเปนมืออาชีพ ดานภาษา ดานกฏหมาย 3.ดานการตลาด ไดแก ขาดขอมูลวิเคราะหการลงทุนที่มีความแมนยํา แตสิ่งที่ไทยไดเปรียบคือ 1.ชางฝมือที่มีศักยภาพ โดยมีตนทุนคาแรงงานที่ต่ํา
  • 21. ขอเสนอแนวทางการลงทุนอุตสาหกรรมกอสรางขามชาติ ณ ขณะนี้ • การเขาไปเปนสวนหนึ่งของ Supply chain ในโครงการกอสรางตางชาติ เพื่อใหเกิดการเรียนรู การเสริมสรางทักษะ วัฒนธรรม เชน การเขาไปเปน ผูรับเหมาเฉพาะคาแรงงานในการกอสราง • การใชฐานผลิตในไทยและสงออกไปยังตางประเทศ เชน การประกอบโรงงาน สําเร็จรูปแลวขนยายลงเรือสงไปยังประเทศญี่ปุน • การรวมมือกันระหวาง ผูประกอบการ ธนาคาร ผูจาหนายสินคา เพื่อออกไป ํ แขงขันยังตางประเทศ
  • 22. แนวทางในอนาคตเพื่อผลักดันอุตสาหกรรมกอสรางไทยในการ แขงขันกับตางประเทศ อุตสากรรมกอสรางจําเปนตองมีการปรับเปลี่ยนการดําเนินงานและความสัมพันธของธุรกิจเพื่อรองรับ Globalization โดยบทบาทของภาครัฐบาลเปนสิ่งทีจาเปนอยางยิงในการผลักดันอุตสาหกรรมกอสราง ่ํ ่ ใหกาวหนาอยางมีเสถียรภาพและยั่งยืน  1. การสรางความรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชน และระหวางอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของโดยรัฐเปนผูนํา 2. การสงเสริมการสงออกอุตสาหกรรมกอสรางเหมือนเชนเดียวกับอุตสาหกรรมสงออกทีสาคัญอื่นๆ ่ ํ โดยรัฐ 3. การจูงใจใหสิทธิประโยชนในการสงออกและการอํานวยความสะดวกแกผูประกอบการกอสรางโดย รัฐ 4. การยกระดับทักษะแรงงานกอสรางใหเปน Knowledge Worker 5. การปรับปรุงมาตรฐานและเทคนิคการดําเนินงานของภาคเอกชนและรัฐ 6. การยกระดับความเปนมืออาชีพ 7. การพัฒนาเทคโนโลยีใหกาวทันตอตางชาติ 8. สรางอาชีพชางไม ชางปูน กรรมกร ฯลฯ ใหเปนอาชีพทีแทจริงถาวร ่ 9. ใหมีการจัดตังธนาคารรัฐเพื่อสนับสนุนทางการเงินใหกับผูประกอบการกอสรางที่ไปลงทุน ้ ตางประเทศ (Construction bank of Thailand)