SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทที่ 1

                                                   บทนำ

ภูมิหลัง

                                                                                 ั ิ
           ความรู ้ในปั จจุบนเกิดขึ้นใหม่มากมายเทคโนโลยีการสื่ อสารที่เข้ามาใกล้กบชีวตประจาวันมากขึ้น
                            ั
ทาให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ วเช่นการค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ Google.com ซึ่งองค์ความรู้ที่
                     ่
หลากหลายนี้ถูกเก็บอยูในหลากหลายรู ปแบบ ทั้ง เว็บ บล็อก ดิจิตอลไฟล์ มีเดียไฟล์ คลิปวีดีโอ และรู ปแบบ
อื่นๆอีกมากมาย ดังนั้น องค์กรต่างๆล้วนได้รับอิทธิ พลจากการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีท้ งสิ้ น ซึ่ งองค์กร
                                                                                     ั
                        ่
จะต้องปรับตัวเพื่อให้อยูรอดและทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ต้องเป็ นองค์กรที่เรี ยนรู ้อย่าง
เป็ นระบบ มีบุคลากรที่พร้อมที่จะเรี ยนรู้ มีวธีการเรี ยนรู้ที่มีความสาคัญในการสร้างการเรี ยนรู้ในบริ บทของ
                                             ิ
องค์กรแห่งการเรี ยนรู ้ตามรู ปแบบของ Marquardt มี 3 ประเภท คือ 1. การเรี ยนรู้เพื่อการปรับตัว (adaptive
learning) คือ การเรี ยนรู้จากประสบการณ์ในอดีตเพื่อการปรับปรุ งในอนาคต 2. การเรี ยนรู้จากการปฏิบติ
                                                                                               ั
(action learning) คือ การเรี ยนรู ้ที่นาเอาสถานการณ์หรื อสภาพปั ญหาที่เกิดขึ้นจริ งมาเป็ นฐานของการเรี ยนรู ้
3. ระบบการเรี ยนรู ้เพื่อมุ่งสู่ เป้ าหมายขององค์กร (anticipatory learning) คือ การเรี ยนรู ้ที่มุ่งสนองตอบ
ความสาเร็ จของเป้ าหมายองค์กร เช่น วิสัยทัศน์ (vision) (Marquardt, 1996, p. 23) ซึ่งจะทาให้องค์กร
                                                                             ่
สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงด้วยทุนตั้งต้นคือความรู ้ที่อยูในตัวบุคลากรในองค์กร

           ในปัจจุบนการพัฒนาองค์กรของไทยได้รับเอาแนวคิดการบริ หารจากต่างประเทศมาใช้อย่าง
                   ั
กว้างขวาง ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะดารงสถานภาพทางการแข่งขัน หรื อกล่าวอีกนัยคือเพื่อความอยูรอดในกระแส การ
                                                                                     ่
แข่งขันอันเชี่ยวกรากในระบบทุนนิยม (capitalist) ดังนั้นสถานภาพที่องค์กรต้องการคือการสร้างความยังยืน
                                                                                              ่
ให้กบองค์กรนันเอง ซึ่ งเครื่ องมือทางด้านการบริ หารประการหนึ่งที่จะสามารถมีส่วนช่วยให้องค์กรได้รับ
    ั        ่
ความสาเร็ จอันยังยืนคือ องค์กรแห่งการเรี ยนรู ้ (Learning Organization)
                ่

           องค์การแห่งการเรี ยนรู ้เป็ นองค์การในอุดมคติที่สามารถสร้างขึ้นมาได้ดวยความร่ วมมือของสมาชิก
                                                                                ้
ในองค์การโดยอาศัย The five disciplines เป็ นหลักที่สมาชิกในองค์การจะใช้เพื่อพัฒนาตนเอง และองค์การ
สู่ ความเป็ นองค์การอัจฉริ ยะที่จะสามารถดารงอยูในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมันคงซึ่งการที่จะปรับเปลี่ยน
                                               ่                        ่
องค์การสู่ ความเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ (learning organization) นั้นเราจะต้องคานึงถึงเป้ าหมายและ
                                                                                      ่ ั
ภาระหน้าที่ขององค์การเป็ นหลักวิเคราะห์หาปั ญหาที่แท้จริ งขององค์การโดยไม่หลงยึดติดอยูกบภาพลวงตา
ซึ่ งวิธีการวิเคราะห์ปัญหาและการแก้ไขปั ญหาได้กล่าวมาแล้วข้างต้นทั้งนี้ จะต้องพิจารณาถึงปั จจัยของแต่ละ
องค์การ เป็ นหลักวิธีการที่ใช้ได้ผลดีในองค์การหนึ่ง ๆ อาจจะใช้ไม่ได้ผลในองค์การหนึ่งก็เป็ นได้องค์การ
        ่
จะต้องมุงไปในทางใดจะต้องปรับตัวอย่างไร จะต้องตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงอย่างไรที่จะทาให้
          ่
องค์การอยูรอดเจริ ญเติบโต และทรงประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดได้ตลอดไปนั้น The five disciplines เป็ นสิ่ งที่
จะต้องศึกษาทาความเข้าใจและเชื่อมโยงตลอดจน การบูรณาการ (integration) ทางความคิดอีกมากเพื่อที่จะ
ได้ทาความเข้าใจองค์การแห่ งการเรี ยนรู ้และวิธีรที่จะสร้างองค์การ แห่งการเรี ยนรู ้ให้เกิดขึ้น

         สาหรับการศึกษาในทศวรรษที่ 21 สถานการณ์โลกมีความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ 19 ระบบ
การศึกษา ต้องมีการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะความเป็ นจริ ง การเปลี่ยนแปลงนี้ การศึกษาในทศวรรษ
ที่   21ในหลายประเทศมีแนวคิดในการพัฒนาและออกแบบการศึกษาตามแนวทางการพัฒนาประเทศของ
ตน ในประเทศสหรัฐอเมริ กาแนวคิดเรื่ อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21" ได้ถูก
พัฒนาขึ้น โดยภาคส่ วนที่เกิดจากวงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย บริ ษทเอกชนชั้นนาขนาดใหญ่ เช่น
                                                                ั
บริ ษทแอปเปิ้ ล บริ ษทไมโครซอฟ บริ ษทวอล์ดิสนีย ์ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ และสานักงานด้าน
     ั               ั              ั
การศึกษาของรัฐ รวมตัวและก่อตั้งเป็ นเครื อข่ายองค์กรความร่ วมมือเพื่อทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21
(Partnership for 21st Century Skills) หรื อเรี ยกย่อๆว่า เครื อข่าย P21

      หน่วยงานเหล่านี้มีความกังวลและเห็นความจาเป็ นที่เยาวชนจะต้องมีทกษะสาหรับการออกไป
                                                                        ั
ดารงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 จึงได้พฒนาวิสัยทัศน์และ
                                                                                 ั
กรอบความคิดเพื่อการเรี ยนรู้ในศตวรรษที่ 21ขึ้ น สามารถสรุ ปทักษะสาคัญอย่างย่อๆ ที่เด็กและเยาวชนควร
      ่
มีได้วา ทักษะการเรี ยนรู ้และนวัตกรรม หรื อ 3R และ 4C ซึ่ งมีองค์ประกอบ ดังนี้ Reading (การอ่าน), การ
เขียน(Writing) และ คณิ ตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์,
Communication- การสื่ อสาร Collaboration-การร่ วมมือ และ Creativity-ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงทักษะ
ชีวตและอาชีพ และทักษะด้านสารสนเทศสื่ อและเทคโนโลยี และการบริ หารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่
    ิ
ซึ่ งจะเห็นได้วาการศึกษาในศตวรรษ ที่ 21 นั้นได้ถูกออกแบบโดยการมีส่วนร่ วมจากส่ วนต่างๆ ให้สังคมมี
               ่
ส่ วนในการชี้ทิศทางการศึกษาและยังให้ความสาคัญกับการศึกษามาโดยตลอด (ชัชวาลย์, 2548, หน้า
17) กล่าวว่า สังคมแห่งความรู ้ ความรู ้ถือเป็ นทรัพยากรหลัก ซึ่ งแตกต่างจากปั จจัยการผลิตอื่น ๆ เพราะ
ความรู ้ไม่ได้ยดติดกับประเทศใดประเทศหนึ่ง หรื อที่ใดที่หนึ่ง สามารถสร้างขึ้นใหม่ได้ ความรู ้เป็ นสิ่ งที่ตอง
               ึ                                                                                          ้
เปลี่ยนแปลงอยูเ่ สมอ

         อย่างไรก็ตาม      องค์การแห่ งการเรี ยนรู ้เป็ นแนวคิดใหม่ที่ยงไม่ถูกนามาเป็ นนโยบายหลักในการจัด
                                                                       ั
การศึกษาของสถานศึกษาในประเทศไทย (วรนุช แคนทอง, 2549, หน้า 4) หากแต่ปัจจุบนนี้มีการศึกษามี
                                                                         ั
การเปลี่ยนแปลงหลายด้าน เช่น การใช้ Tablet การใช้สื่อในรู ปแบบใหม่ เช่น Social Media ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่ใหม่
สาหรับวงการศึกษาไทย ครู และผูบริ หารจะต้องตื่นตัวและเรี ยนรู ้สิ่งใหม่ๆเพื่อให้สามารถปรับตัวยืนหยัดอยู่
                             ้
ได้ทุกการณ์เปลี่ยนแปลง         ซึ่งองค์กรที่จะยืนหยัดและสามารถสร้างความได้เปรี ยบในการแข่งขันได้น้ น
                                                                                                   ั
                      ั     ่        ่
จะต้องมีการพัฒนาที่มีลกษณะยังยืน ไม่วาสภาพแวดล้อมจะเปลี่ยนไปอย่างไร ซึ่ งการพัฒนาองค์กรด้วย
แนวคิดแบบองค์กรแห่งการเรี ยนรู ้จะเป็ นคาตอบที่ดีที่จะนาพาองค์กรยุคใหม่ไปสู่ ความสาเร็ จ               ซึ่ ง
คุณลักษณะขององค์กรแห่งการเรี ยนรู ้ตามแนวทางนั้น ประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลัก 5 ประการ ได้แก่
1.พลวัตแห่งการเรี ยนรู ้ (learning dynamics) 2.การปรับเปลี่ยนองค์กร (organization transformation) 3.การ
เพิ่มอานาจแก่บุคคล (people empowerment) 4.การจัดการความรู้ (knowledge management) 5.การใช้
เทคโนโลยี (technology application) (Marquardt , 1996, pp. 20-21) สาหรับการทาวิจยในครั้งนี้ ผวจย
                                                                               ั            ู้ ิ ั
ทาวิจยเพื่อศึกษาการเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู และผูบริ หาร สังกัด
     ั                                                                                ้
สานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ตามกรอบแนวคิด 5 ประการของเซ็งกี้ (Senge,
1990, p.126) ซึ่ งได้แก่ 1) การเรี ยนรู้ของสมาชิกในองค์กร 2) ความมีสติ 3) การมีวสัยทัศน์ร่วมกันของคน
                                                                                ิ
ในองค์การ 4) การเรี ยนรู้เป็ นทีม 5) ระบบการคิดของคนในองค์การ เพื่อเป็ นข้อมูลพื้นฐานในการนาพัฒนา
การเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษา สานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3

ควำมมุ่งหมำยในกำรวิจัย

การวิจยครั้งนี้ผวจยได้กาหนดจุดมุ่งหมายไว้ 2 ประการคือ
      ั         ู้ ิ ั

1.เพื่อศึกษาการเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู และผูบริ หาร สังกัด
                                                                                  ้
สานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3

2.เพื่อเปรี ยบเทียบการเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู และผูบริ หาร
                                                                                         ้
สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 จาแนกตาม ตาแหน่ง อายุ วุฒิการศึกษา
ประสบการณ์การทางาน วิทยฐานะ และขนาดของโรงเรี ยน

ควำมสำคัญของกำรวิจัย

        ผลการวิจยครั้งนี้ จะทาให้ทราบถึงการเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็น
                ั
ของครู และผูบริ หาร สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ซึ่ งใช้เป็ นข้อมูลพื้นฐาน
            ้
ในการกาหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ให้เป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้มากขึ้น โดยส่ งเสริ มให้ครู และผูบริ หารร่ วมกัน
                                                                                           ้
เป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู้

ขอบเขตของงำนวิจัย

        1.ขอบเขตด้ ำนเนือหำ
                        ้

        การวิจยครั้งนี้เป็ นลักษณะการวิจยเชิงสารวจ (servey research) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วย
              ั                         ั
แบบสอบถาม โดยเป็ นการศึกษาการเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู
และผูบริ หาร สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ซึ่งมีกรอบการศึกษา 5 ประการ
     ้
ตามแนวคิดของเซ็งกี้(Senge, 1990, p.122) คือ 1) การเรี ยนรู้ของสมาชิกในองค์กร 2) ความมีสติ 3) การมี
วิสัยทัศน์ร่วมกันของคนในองค์การ 4) การเรี ยนรู้เป็ นทีม 5) ระบบการคิดของคนในองค์การ

        2.ประชำกำรและกลุ่ มตัวอย่ ำง

        2.1 ประชากร

            ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคลากรครู และผูบริ หารสถานศึกษา สังกัดสานักงานพื้นที่
                                                                ้
การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ปี พุทธศักราช 2555 จานวน 202 โรงเรี ยน ซึ่งมีจานวนครู 1,814 คน
และผูบริ หาร 202 คน
     ้

        2.2 กลุ่มตัวอย่าง

            กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู และผูบริ หารสถานศึกษา สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
                                          ้
เพชรบูรณ์เขต 3 การหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างเนื่ องจากประชากรจานวนแน่นอน (finite population) สู ตรที่
ใช้ในการคานวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จึงใช้สูตรของยามาเน่ (Yamane) ที่ระดับความเชื่ อมันร้อยละ
                                                                                      ่
95 และยอมให้เกิดความคลาดเคลื่อน ร้อยละ 5 (Yamane, 1960, pp. 1088-1089) ได้จานวน 334 คน โดย
กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามความเหมาะสมเป็ นผูบริ หารร้อยละ 40 ได้จานวน 137 คน ครู ร้อยละ 60 ได้
                                           ้
จานวน 197 คน โดยการสุ่ มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified random sompling)
3. ตัวแปรทีศึกษำ
           ่

3.1 ตัวแปรอิสระ(independent variables) ได้แก่ สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จาแนกได้ดงนี้
                                                          ้                     ั

         3.1.1 ตาแหน่ง

                1) ผูบริ หาร
                     ้

                2) ครู

         3.1.2 วุฒิการศึกษา

                1) ปริ ญญาตรี

                2) สู งกว่าปริ ญญาตรี

         3.1.3 อายุ

                1) น้อยกว่า 30 ปี

                2) 30 – 40 ปี

                3) 41 - 50 ปี

                4) มากกว่า 50 ปี

         3.1.4 วิทยฐานะ

                1) ไม่มี

                2) ชานาญการ

                3) ชานาญการพิเศษ

                4) เชี่ยวชาญ

                5) เชี่ยวชาญพิเศษ

         3.1.5 ประสบการณ์ในตาแหน่ง
1) น้อยกว่า 10 ปี

                2) 10 - 20 ปี

                3) มากกว่า 20 ปี

         3.1.6 การอบรมเกี่ยวกับองค์การแห่งการเรี ยนรู ้

                1) เคย

                2) ไม่เคย

         3.1.7 ขนาดของสถานศึกษา

                1) ขนาดเล็ก นักเรี ยนต่ากว่า 120 คน

                2) ขนาดกลาง นักเรี ยนตั้งแต่ 120–600 คน

                3) ขนาดใหญ่ นักเรี ยนตั้งแต่ 601–1,500 คน

                4) ขนาดใหญ่พิเศษ นักเรี ยนตั้งแต่ 1,501 คนขึ้นไป

    3.2 ตัวแปรตาม (dependent variables)

       ตัวแปรตาม คือ การเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู
และผูบริ หาร สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ตามแนวคิดของเซ็งกี้
     ้
(Senge, 1990, p.122) ซึ่ งประกอบด้วยคุณลักษะ 5 ประการ ได้แก่

        3.2.1 การเรี ยนรู้ของสมาชิกในองค์กร (personal mastery)

        3.2.2 ความมีสติ (mental model)

        3.2.3 การมีวสัยทัศน์ร่วมกันของคนในองค์การ (shared vision)
                    ิ

        3.2.4 การเรี ยนรู้เป็ นทีม (team learning )

        3.2.5 ระบบการคิดของคนในองค์การ (systems thinking)
นิยำมศัพท์เฉพำะ

         1.องค์การแห่งการเรี ยนรู ้ หมายถึง องค์การที่ซ่ ึงคนในองค์การได้ขยายขอบเขตความสามารถของ
ตนอย่างต่อเนื่อง ทั้งในระดับบุคคลระดับกลุ่มและระดับองค์การเพื่อนาไปสู่ จุดหมายที่บุคคลในระดับต่าง ๆ
ต้องการอย่างแท้จริ งเป็ นองค์การที่มีความคิดใหม่ ๆ และการแตกแขนงของความคิดได้รับการยอมรับเอาใน
ใส่ และเป็ นองค์การที่ซ่ ึงบุคคลเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง ในเรื่ องของวิธีการที่จะเรี ยนรู ้ไปด้วยกันทั้งองค์การ

         2.การเรี ยนรู้ของสมาชิกในองค์กร หมายถึง ลักษณะการเรี ยนรู้ของคนในองค์การซึ่งจะสะท้อนให้
เห็นถึงการเรี ยนรู ้ขององค์การได้สมาชิกขององค์การที่เป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้น้ น จะมีลกษณะสนใจและ
                                                                                    ั      ั
ใฝ่ หาที่จะเรี ยนรู ้สิ่งใหม่ ๆ อยูเ่ สมอมีความปรารถนาที่จะเรี ยนรู ้เพื่อเพิ่ม ศักยภาพ ของตน มุ่งสู่ จุดหมาย และ
ความสาเร็ จที่ได้กาหนดไว้

         3.ความมีสติ หมายถึง แบบแผนทางจิตสานึกของคนในองค์การซึ่งจะต้องสะท้อนถึงพฤติกรรมของ
คนในองค์การองค์การแห่งการเรี ยนรู ้จะเกิดขึ้นได้เมื่อ สมาชิกในองค์การมีแบบแผนทางจิตสานึกหรื อความ
มีสติที่เอื้อต่อการสะท้อนภาพที่ถูกต้องชัดเจน และมีการจาแนกแยกแยะโดยมุ่งหวังที่จะปรับปรุ งความ
ถูกต้องในการมองโลกและปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นรวมทั้งการทาความเข้าใจในวิธีการที่จะสร้างความ
                                                                                              ่
กระจ่างชัด เพื่อการตัดสิ นใจได้อย่างถูกต้องหรื อมีวธีการที่จะตอบสนองความเปลี่ยนแปลงที่ปรากฏอยูได้
                                                   ิ
อย่างเหมาะสม มี mental ability ไม่ผนแปรเรรวนหรื อท้อถอยเมื่อเผชิ ญกับวิกฤตการณ์ต่าง ๆ ซึ่ งการที่จะ
                                   ั
ปรับ Mental model ของคนในองค์การให้เป็ นไปในทางที่ถูกต้องอาจจะใช้หลักการของศาสนาพุทธ ในการ
                            ่
ฝึ กสติรักษาศีล และดารงตนอยูในธรรมะ

         4.การมีวสัยทัศน์ร่วมกันของคนในองค์การ หมายถึง การมีวสัยทัศน์ร่วมกันของคนทั้งองค์การ
                 ิ                                           ิ
องค์การแห่งการเรี ยนรู ้จะต้องเป็ นองค์การที่สมาชิกทุกคนได้รับการ พัฒนาวิสัยทัศน์ของตนให้สอดคล้อง
กับวิสัยทัศน์รวมขององค์การซึ่ งจะสนับสนุนให้เกิดการรวมพลังของสมาชิกที่มีความคาดหวังต่อความ
เปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าต่อไป ภายใต้จุดมุ่งหมายเดียวกันของคนทั้งองค์การ

         5.การเรี ยนรู้เป็ นทีม หมายถึง การเรี ยนรู ้ร่วมกันของสมาชิกในองค์การโดยอาศัยความรู ้และความคิด
ของมวลสมาชิกในการแลกเปลี่ยน และพัฒนาความฉลาดรอบรู ้และความสามารถของทีมให้บงเกิดผลยิงขึ้น
                                                                          ั        ่
เรี ยกว่า การอาศัยความสามารถของสมาชิกแต่ละบุคคล องค์การแห่งการเรี ยนรู ้จะเกิดได้เมื่อมีการรวมพลัง
ของกลุ่มต่าง ๆ ภายในองค์การเป็ นการรวมตัวของทีมงานที่มีประสิ ทธิ ภาพ สู งซึ่ งเกิดจากการที่สมาชิกในทีม
มีการเรี ยนรู ้ร่วมกันมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์กนอย่างต่อเนื่ องและ สม่าเสมอ
                                                              ั
6.ระบบการคิดของคนในองค์การ หมายถึง กระบวนการคิดอย่างเป็ นระบบ เป็ นกระบวนการใน
การหาความสัมพันธ์ของสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเห็นแบบแผน เห็นขั้นตอนของการพัฒนา คือ เห็นทั้งป่ า และ
เห็นต้นไม้แต่ละต้นด้วย (See Wholes instead of part, See the forest and the trees)

        7.ผูบริ หาร หมายถึง ผูอำนวยกำรสถำนศึกษำ และรองผูอำนวยกำรสถำนศึกษำ ทีทำหน้ำที่
            ้                 ้                         ้                   ่
บริหำรสถำนศึกษำ สังกัดสำนักงำนเขตพืนทีกำรศึกษำประถมศึกษำเพชรบูรณ์ เขต 3
                                   ้ ่

        8.ครู หมายถึ ง ครูผู้ท่ปฏิบติห น้ ำที่ส อนในสถำนศึกษำ สังกัดสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ
                               ี ั
ประถมศึกษำเพชรบูรณ์ เขต 3

        9.ขนาดของสถานศึกษา หมายถึง ขนาดของสถานศึกษา จาแนกตามจานวนนักเรี ยน ดังนี้ (เขตตรวจ
ราชการที่ 5, 2549)

         สถานศึกษาขนาดเล็ก มีนกเรี ยน 300 คนลงมา
                              ั

         สถานศึกษาขนาดกลาง มีนกเรี ยน 301-1000 คน
                              ั

         สถานศึกษาขนาดใหญ่ มีนกเรี ยน 1001-2000 คน
                              ั

         สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีนกเรี ยน 2001 คนขึ้นไป
                                   ั

กรอบแนวคิดกำรวิจัย

        การวิจยครั้งนี้ ผูวจยศึกษาการเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู
              ั           ้ิั
และผูบริ หาร สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 โดยใช้กรอบแนวคิดการวิจย 5
     ้                                                                                    ั
ประการของเซ็งกี้ (Senge, 1990, p.126) ซึ่ งได้แก่ 1) การเรี ยนรู้ของสมาชิกในองค์กร 2) ความมีสติ 3) การมี
วิสัยทัศน์ร่วมกันของคนในองค์การ 4) การเรี ยนรู้เป็ นทีม 5) ระบบการคิดของคนในองค์การ
ตัวแปรอิสระ                                         ตัวแปรตำม

             (independent variable)                            (dependent variable)



 สถำนภำพผูตอบแบบสอบถำม
          ้                                          การเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของ
    1. ตำแหน่ง                                       สถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู และ
                                                     ผูบริ หาร สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษา
                                                       ้
    2. วุฒกำรศึกษำ
          ิ
                                                     ประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ใน 5 ด้ำน
    3. อำยุ
                                                     1. การเรี ยนรู้ของสมาชิกในองค์กร
    4. สถำนภำพกำรสมรส
                                                      2. ความมีสติ
    5. วิทยฐำนะ
                                                     3. การมีวสัยทัศน์ร่วมกันของคนใน
                                                              ิ
    6. ประสบกำรณ์ในตำแหน่ง
                                                     องค์การ
    7. การอบรมเกี่ยวกับองค์การแห่งการ
                                                     4. การเรี ยนรู้เป็ นทีม
 เรี ยนรู้
                                                      5. ระบบการคิดของคนในองค์การ
    9. ขนำดของสถำนศึกษำ



ภำพ 1 กรอบแนวคิดในกำรวิจย
                        ั


สมมติ ฐานในการวิ จยั
        การเป็ นองค์ก ารแห่ ง การเรี ย นรู ้ ข องสถานศึ ก ษาตามความคิ ดเห็ นของครู และผูบ ริ หาร สั ง กัด
                                                                                        ้
สานักงานพื้นที่การศึ กษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์ เขต 3 มีควำมแตกต่ำงกันเมื่อจำแนกตำม ตำแหน่ ง
วุฒกำรศึกษำ อำยุ วิทยฐำนะ ประสบกำรณ์ในตำแหน่ ง การอบรมเกี่ ยวกับองค์การแห่ งการเรี ยนรู ้ และ
   ิ
ขนำดของสถำนศึกษำ
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้

More Related Content

What's hot

Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
Successes and failures of km
Successes and failures of kmSuccesses and failures of km
Successes and failures of kmmaruay songtanin
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) Sasichay Sritep
 
วิสัยทัศน์เพื่อขับเคลื่อนภารกิจของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแ...
วิสัยทัศน์เพื่อขับเคลื่อนภารกิจของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแ...วิสัยทัศน์เพื่อขับเคลื่อนภารกิจของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแ...
วิสัยทัศน์เพื่อขับเคลื่อนภารกิจของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแ...Dr.Choen Krainara
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5Pateemoh254
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5nattawad147
 

What's hot (10)

นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
Successes and failures of km
Successes and failures of kmSuccesses and failures of km
Successes and failures of km
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
 
วิสัยทัศน์เพื่อขับเคลื่อนภารกิจของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแ...
วิสัยทัศน์เพื่อขับเคลื่อนภารกิจของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแ...วิสัยทัศน์เพื่อขับเคลื่อนภารกิจของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแ...
วิสัยทัศน์เพื่อขับเคลื่อนภารกิจของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแ...
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 

Viewers also liked

บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
การบูรณาการสื่อและแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการสื่อและแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงการบูรณาการสื่อและแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการสื่อและแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงWeerachat Martluplao
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social MediaWeerachat Martluplao
 
แผนประหยัดพลังงาน แบบมีส่วนร่วม
แผนประหยัดพลังงาน แบบมีส่วนร่วมแผนประหยัดพลังงาน แบบมีส่วนร่วม
แผนประหยัดพลังงาน แบบมีส่วนร่วมWeerachat Martluplao
 
Iraq’s electricity crisis a review hh istepanian june 2013
Iraq’s electricity crisis a review hh istepanian  june 2013Iraq’s electricity crisis a review hh istepanian  june 2013
Iraq’s electricity crisis a review hh istepanian june 2013Harry Istepanian
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงานแบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงานWeerachat Martluplao
 
Doble moral panista
Doble moral panistaDoble moral panista
Doble moral panistaGATOlobato
 

Viewers also liked (14)

Intro agile
Intro agileIntro agile
Intro agile
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
การบูรณาการสื่อและแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการสื่อและแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงการบูรณาการสื่อและแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการสื่อและแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
 
teorias mateticaa
teorias mateticaateorias mateticaa
teorias mateticaa
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
 
Karenp
KarenpKarenp
Karenp
 
Pom china presentacion_cmp
Pom china presentacion_cmpPom china presentacion_cmp
Pom china presentacion_cmp
 
Kodu game
Kodu game Kodu game
Kodu game
 
แผนประหยัดพลังงาน แบบมีส่วนร่วม
แผนประหยัดพลังงาน แบบมีส่วนร่วมแผนประหยัดพลังงาน แบบมีส่วนร่วม
แผนประหยัดพลังงาน แบบมีส่วนร่วม
 
Iraq’s electricity crisis a review hh istepanian june 2013
Iraq’s electricity crisis a review hh istepanian  june 2013Iraq’s electricity crisis a review hh istepanian  june 2013
Iraq’s electricity crisis a review hh istepanian june 2013
 
6 28-12
6 28-126 28-12
6 28-12
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงานแบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
 
Doble moral panista
Doble moral panistaDoble moral panista
Doble moral panista
 
Formato iniciacion pmi
Formato iniciacion pmiFormato iniciacion pmi
Formato iniciacion pmi
 

Similar to บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้นะนาท นะคะ
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 

Similar to บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (20)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 

More from Weerachat Martluplao

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐWeerachat Martluplao
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานWeerachat Martluplao
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40Weerachat Martluplao
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย Weerachat Martluplao
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556Weerachat Martluplao
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นWeerachat Martluplao
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57Weerachat Martluplao
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมWeerachat Martluplao
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationWeerachat Martluplao
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentWeerachat Martluplao
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesWeerachat Martluplao
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายWeerachat Martluplao
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นWeerachat Martluplao
 

More from Weerachat Martluplao (20)

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
Asean curriculum thai
Asean curriculum thaiAsean curriculum thai
Asean curriculum thai
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ application
 
Stem workshop report
Stem workshop reportStem workshop report
Stem workshop report
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
trigonometry
trigonometrytrigonometry
trigonometry
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric charges
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
 
Force and motion
Force and motion Force and motion
Force and motion
 

บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้

  • 1. บทที่ 1 บทนำ ภูมิหลัง ั ิ ความรู ้ในปั จจุบนเกิดขึ้นใหม่มากมายเทคโนโลยีการสื่ อสารที่เข้ามาใกล้กบชีวตประจาวันมากขึ้น ั ทาให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ วเช่นการค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ Google.com ซึ่งองค์ความรู้ที่ ่ หลากหลายนี้ถูกเก็บอยูในหลากหลายรู ปแบบ ทั้ง เว็บ บล็อก ดิจิตอลไฟล์ มีเดียไฟล์ คลิปวีดีโอ และรู ปแบบ อื่นๆอีกมากมาย ดังนั้น องค์กรต่างๆล้วนได้รับอิทธิ พลจากการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีท้ งสิ้ น ซึ่ งองค์กร ั ่ จะต้องปรับตัวเพื่อให้อยูรอดและทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ต้องเป็ นองค์กรที่เรี ยนรู ้อย่าง เป็ นระบบ มีบุคลากรที่พร้อมที่จะเรี ยนรู้ มีวธีการเรี ยนรู้ที่มีความสาคัญในการสร้างการเรี ยนรู้ในบริ บทของ ิ องค์กรแห่งการเรี ยนรู ้ตามรู ปแบบของ Marquardt มี 3 ประเภท คือ 1. การเรี ยนรู้เพื่อการปรับตัว (adaptive learning) คือ การเรี ยนรู้จากประสบการณ์ในอดีตเพื่อการปรับปรุ งในอนาคต 2. การเรี ยนรู้จากการปฏิบติ ั (action learning) คือ การเรี ยนรู ้ที่นาเอาสถานการณ์หรื อสภาพปั ญหาที่เกิดขึ้นจริ งมาเป็ นฐานของการเรี ยนรู ้ 3. ระบบการเรี ยนรู ้เพื่อมุ่งสู่ เป้ าหมายขององค์กร (anticipatory learning) คือ การเรี ยนรู ้ที่มุ่งสนองตอบ ความสาเร็ จของเป้ าหมายองค์กร เช่น วิสัยทัศน์ (vision) (Marquardt, 1996, p. 23) ซึ่งจะทาให้องค์กร ่ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงด้วยทุนตั้งต้นคือความรู ้ที่อยูในตัวบุคลากรในองค์กร ในปัจจุบนการพัฒนาองค์กรของไทยได้รับเอาแนวคิดการบริ หารจากต่างประเทศมาใช้อย่าง ั กว้างขวาง ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะดารงสถานภาพทางการแข่งขัน หรื อกล่าวอีกนัยคือเพื่อความอยูรอดในกระแส การ ่ แข่งขันอันเชี่ยวกรากในระบบทุนนิยม (capitalist) ดังนั้นสถานภาพที่องค์กรต้องการคือการสร้างความยังยืน ่ ให้กบองค์กรนันเอง ซึ่ งเครื่ องมือทางด้านการบริ หารประการหนึ่งที่จะสามารถมีส่วนช่วยให้องค์กรได้รับ ั ่ ความสาเร็ จอันยังยืนคือ องค์กรแห่งการเรี ยนรู ้ (Learning Organization) ่ องค์การแห่งการเรี ยนรู ้เป็ นองค์การในอุดมคติที่สามารถสร้างขึ้นมาได้ดวยความร่ วมมือของสมาชิก ้ ในองค์การโดยอาศัย The five disciplines เป็ นหลักที่สมาชิกในองค์การจะใช้เพื่อพัฒนาตนเอง และองค์การ สู่ ความเป็ นองค์การอัจฉริ ยะที่จะสามารถดารงอยูในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมันคงซึ่งการที่จะปรับเปลี่ยน ่ ่ องค์การสู่ ความเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ (learning organization) นั้นเราจะต้องคานึงถึงเป้ าหมายและ ่ ั ภาระหน้าที่ขององค์การเป็ นหลักวิเคราะห์หาปั ญหาที่แท้จริ งขององค์การโดยไม่หลงยึดติดอยูกบภาพลวงตา ซึ่ งวิธีการวิเคราะห์ปัญหาและการแก้ไขปั ญหาได้กล่าวมาแล้วข้างต้นทั้งนี้ จะต้องพิจารณาถึงปั จจัยของแต่ละ
  • 2. องค์การ เป็ นหลักวิธีการที่ใช้ได้ผลดีในองค์การหนึ่ง ๆ อาจจะใช้ไม่ได้ผลในองค์การหนึ่งก็เป็ นได้องค์การ ่ จะต้องมุงไปในทางใดจะต้องปรับตัวอย่างไร จะต้องตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงอย่างไรที่จะทาให้ ่ องค์การอยูรอดเจริ ญเติบโต และทรงประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดได้ตลอดไปนั้น The five disciplines เป็ นสิ่ งที่ จะต้องศึกษาทาความเข้าใจและเชื่อมโยงตลอดจน การบูรณาการ (integration) ทางความคิดอีกมากเพื่อที่จะ ได้ทาความเข้าใจองค์การแห่ งการเรี ยนรู ้และวิธีรที่จะสร้างองค์การ แห่งการเรี ยนรู ้ให้เกิดขึ้น สาหรับการศึกษาในทศวรรษที่ 21 สถานการณ์โลกมีความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ 19 ระบบ การศึกษา ต้องมีการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะความเป็ นจริ ง การเปลี่ยนแปลงนี้ การศึกษาในทศวรรษ ที่ 21ในหลายประเทศมีแนวคิดในการพัฒนาและออกแบบการศึกษาตามแนวทางการพัฒนาประเทศของ ตน ในประเทศสหรัฐอเมริ กาแนวคิดเรื่ อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21" ได้ถูก พัฒนาขึ้น โดยภาคส่ วนที่เกิดจากวงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย บริ ษทเอกชนชั้นนาขนาดใหญ่ เช่น ั บริ ษทแอปเปิ้ ล บริ ษทไมโครซอฟ บริ ษทวอล์ดิสนีย ์ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ และสานักงานด้าน ั ั ั การศึกษาของรัฐ รวมตัวและก่อตั้งเป็ นเครื อข่ายองค์กรความร่ วมมือเพื่อทักษะการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรื อเรี ยกย่อๆว่า เครื อข่าย P21 หน่วยงานเหล่านี้มีความกังวลและเห็นความจาเป็ นที่เยาวชนจะต้องมีทกษะสาหรับการออกไป ั ดารงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 จึงได้พฒนาวิสัยทัศน์และ ั กรอบความคิดเพื่อการเรี ยนรู้ในศตวรรษที่ 21ขึ้ น สามารถสรุ ปทักษะสาคัญอย่างย่อๆ ที่เด็กและเยาวชนควร ่ มีได้วา ทักษะการเรี ยนรู ้และนวัตกรรม หรื อ 3R และ 4C ซึ่ งมีองค์ประกอบ ดังนี้ Reading (การอ่าน), การ เขียน(Writing) และ คณิ ตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์, Communication- การสื่ อสาร Collaboration-การร่ วมมือ และ Creativity-ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงทักษะ ชีวตและอาชีพ และทักษะด้านสารสนเทศสื่ อและเทคโนโลยี และการบริ หารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่ ิ ซึ่ งจะเห็นได้วาการศึกษาในศตวรรษ ที่ 21 นั้นได้ถูกออกแบบโดยการมีส่วนร่ วมจากส่ วนต่างๆ ให้สังคมมี ่ ส่ วนในการชี้ทิศทางการศึกษาและยังให้ความสาคัญกับการศึกษามาโดยตลอด (ชัชวาลย์, 2548, หน้า 17) กล่าวว่า สังคมแห่งความรู ้ ความรู ้ถือเป็ นทรัพยากรหลัก ซึ่ งแตกต่างจากปั จจัยการผลิตอื่น ๆ เพราะ ความรู ้ไม่ได้ยดติดกับประเทศใดประเทศหนึ่ง หรื อที่ใดที่หนึ่ง สามารถสร้างขึ้นใหม่ได้ ความรู ้เป็ นสิ่ งที่ตอง ึ ้ เปลี่ยนแปลงอยูเ่ สมอ อย่างไรก็ตาม องค์การแห่ งการเรี ยนรู ้เป็ นแนวคิดใหม่ที่ยงไม่ถูกนามาเป็ นนโยบายหลักในการจัด ั การศึกษาของสถานศึกษาในประเทศไทย (วรนุช แคนทอง, 2549, หน้า 4) หากแต่ปัจจุบนนี้มีการศึกษามี ั
  • 3. การเปลี่ยนแปลงหลายด้าน เช่น การใช้ Tablet การใช้สื่อในรู ปแบบใหม่ เช่น Social Media ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่ใหม่ สาหรับวงการศึกษาไทย ครู และผูบริ หารจะต้องตื่นตัวและเรี ยนรู ้สิ่งใหม่ๆเพื่อให้สามารถปรับตัวยืนหยัดอยู่ ้ ได้ทุกการณ์เปลี่ยนแปลง ซึ่งองค์กรที่จะยืนหยัดและสามารถสร้างความได้เปรี ยบในการแข่งขันได้น้ น ั ั ่ ่ จะต้องมีการพัฒนาที่มีลกษณะยังยืน ไม่วาสภาพแวดล้อมจะเปลี่ยนไปอย่างไร ซึ่ งการพัฒนาองค์กรด้วย แนวคิดแบบองค์กรแห่งการเรี ยนรู ้จะเป็ นคาตอบที่ดีที่จะนาพาองค์กรยุคใหม่ไปสู่ ความสาเร็ จ ซึ่ ง คุณลักษณะขององค์กรแห่งการเรี ยนรู ้ตามแนวทางนั้น ประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลัก 5 ประการ ได้แก่ 1.พลวัตแห่งการเรี ยนรู ้ (learning dynamics) 2.การปรับเปลี่ยนองค์กร (organization transformation) 3.การ เพิ่มอานาจแก่บุคคล (people empowerment) 4.การจัดการความรู้ (knowledge management) 5.การใช้ เทคโนโลยี (technology application) (Marquardt , 1996, pp. 20-21) สาหรับการทาวิจยในครั้งนี้ ผวจย ั ู้ ิ ั ทาวิจยเพื่อศึกษาการเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู และผูบริ หาร สังกัด ั ้ สานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ตามกรอบแนวคิด 5 ประการของเซ็งกี้ (Senge, 1990, p.126) ซึ่ งได้แก่ 1) การเรี ยนรู้ของสมาชิกในองค์กร 2) ความมีสติ 3) การมีวสัยทัศน์ร่วมกันของคน ิ ในองค์การ 4) การเรี ยนรู้เป็ นทีม 5) ระบบการคิดของคนในองค์การ เพื่อเป็ นข้อมูลพื้นฐานในการนาพัฒนา การเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษา สานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ควำมมุ่งหมำยในกำรวิจัย การวิจยครั้งนี้ผวจยได้กาหนดจุดมุ่งหมายไว้ 2 ประการคือ ั ู้ ิ ั 1.เพื่อศึกษาการเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู และผูบริ หาร สังกัด ้ สานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 2.เพื่อเปรี ยบเทียบการเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู และผูบริ หาร ้ สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 จาแนกตาม ตาแหน่ง อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทางาน วิทยฐานะ และขนาดของโรงเรี ยน ควำมสำคัญของกำรวิจัย ผลการวิจยครั้งนี้ จะทาให้ทราบถึงการเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็น ั ของครู และผูบริ หาร สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ซึ่ งใช้เป็ นข้อมูลพื้นฐาน ้ ในการกาหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษา
  • 4. ประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ให้เป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้มากขึ้น โดยส่ งเสริ มให้ครู และผูบริ หารร่ วมกัน ้ เป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู้ ขอบเขตของงำนวิจัย 1.ขอบเขตด้ ำนเนือหำ ้ การวิจยครั้งนี้เป็ นลักษณะการวิจยเชิงสารวจ (servey research) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วย ั ั แบบสอบถาม โดยเป็ นการศึกษาการเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู และผูบริ หาร สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ซึ่งมีกรอบการศึกษา 5 ประการ ้ ตามแนวคิดของเซ็งกี้(Senge, 1990, p.122) คือ 1) การเรี ยนรู้ของสมาชิกในองค์กร 2) ความมีสติ 3) การมี วิสัยทัศน์ร่วมกันของคนในองค์การ 4) การเรี ยนรู้เป็ นทีม 5) ระบบการคิดของคนในองค์การ 2.ประชำกำรและกลุ่ มตัวอย่ ำง 2.1 ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคลากรครู และผูบริ หารสถานศึกษา สังกัดสานักงานพื้นที่ ้ การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ปี พุทธศักราช 2555 จานวน 202 โรงเรี ยน ซึ่งมีจานวนครู 1,814 คน และผูบริ หาร 202 คน ้ 2.2 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู และผูบริ หารสถานศึกษา สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ้ เพชรบูรณ์เขต 3 การหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างเนื่ องจากประชากรจานวนแน่นอน (finite population) สู ตรที่ ใช้ในการคานวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จึงใช้สูตรของยามาเน่ (Yamane) ที่ระดับความเชื่ อมันร้อยละ ่ 95 และยอมให้เกิดความคลาดเคลื่อน ร้อยละ 5 (Yamane, 1960, pp. 1088-1089) ได้จานวน 334 คน โดย กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามความเหมาะสมเป็ นผูบริ หารร้อยละ 40 ได้จานวน 137 คน ครู ร้อยละ 60 ได้ ้ จานวน 197 คน โดยการสุ่ มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified random sompling)
  • 5. 3. ตัวแปรทีศึกษำ ่ 3.1 ตัวแปรอิสระ(independent variables) ได้แก่ สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จาแนกได้ดงนี้ ้ ั 3.1.1 ตาแหน่ง 1) ผูบริ หาร ้ 2) ครู 3.1.2 วุฒิการศึกษา 1) ปริ ญญาตรี 2) สู งกว่าปริ ญญาตรี 3.1.3 อายุ 1) น้อยกว่า 30 ปี 2) 30 – 40 ปี 3) 41 - 50 ปี 4) มากกว่า 50 ปี 3.1.4 วิทยฐานะ 1) ไม่มี 2) ชานาญการ 3) ชานาญการพิเศษ 4) เชี่ยวชาญ 5) เชี่ยวชาญพิเศษ 3.1.5 ประสบการณ์ในตาแหน่ง
  • 6. 1) น้อยกว่า 10 ปี 2) 10 - 20 ปี 3) มากกว่า 20 ปี 3.1.6 การอบรมเกี่ยวกับองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ 1) เคย 2) ไม่เคย 3.1.7 ขนาดของสถานศึกษา 1) ขนาดเล็ก นักเรี ยนต่ากว่า 120 คน 2) ขนาดกลาง นักเรี ยนตั้งแต่ 120–600 คน 3) ขนาดใหญ่ นักเรี ยนตั้งแต่ 601–1,500 คน 4) ขนาดใหญ่พิเศษ นักเรี ยนตั้งแต่ 1,501 คนขึ้นไป 3.2 ตัวแปรตาม (dependent variables) ตัวแปรตาม คือ การเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู และผูบริ หาร สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ตามแนวคิดของเซ็งกี้ ้ (Senge, 1990, p.122) ซึ่ งประกอบด้วยคุณลักษะ 5 ประการ ได้แก่ 3.2.1 การเรี ยนรู้ของสมาชิกในองค์กร (personal mastery) 3.2.2 ความมีสติ (mental model) 3.2.3 การมีวสัยทัศน์ร่วมกันของคนในองค์การ (shared vision) ิ 3.2.4 การเรี ยนรู้เป็ นทีม (team learning ) 3.2.5 ระบบการคิดของคนในองค์การ (systems thinking)
  • 7. นิยำมศัพท์เฉพำะ 1.องค์การแห่งการเรี ยนรู ้ หมายถึง องค์การที่ซ่ ึงคนในองค์การได้ขยายขอบเขตความสามารถของ ตนอย่างต่อเนื่อง ทั้งในระดับบุคคลระดับกลุ่มและระดับองค์การเพื่อนาไปสู่ จุดหมายที่บุคคลในระดับต่าง ๆ ต้องการอย่างแท้จริ งเป็ นองค์การที่มีความคิดใหม่ ๆ และการแตกแขนงของความคิดได้รับการยอมรับเอาใน ใส่ และเป็ นองค์การที่ซ่ ึงบุคคลเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง ในเรื่ องของวิธีการที่จะเรี ยนรู ้ไปด้วยกันทั้งองค์การ 2.การเรี ยนรู้ของสมาชิกในองค์กร หมายถึง ลักษณะการเรี ยนรู้ของคนในองค์การซึ่งจะสะท้อนให้ เห็นถึงการเรี ยนรู ้ขององค์การได้สมาชิกขององค์การที่เป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้น้ น จะมีลกษณะสนใจและ ั ั ใฝ่ หาที่จะเรี ยนรู ้สิ่งใหม่ ๆ อยูเ่ สมอมีความปรารถนาที่จะเรี ยนรู ้เพื่อเพิ่ม ศักยภาพ ของตน มุ่งสู่ จุดหมาย และ ความสาเร็ จที่ได้กาหนดไว้ 3.ความมีสติ หมายถึง แบบแผนทางจิตสานึกของคนในองค์การซึ่งจะต้องสะท้อนถึงพฤติกรรมของ คนในองค์การองค์การแห่งการเรี ยนรู ้จะเกิดขึ้นได้เมื่อ สมาชิกในองค์การมีแบบแผนทางจิตสานึกหรื อความ มีสติที่เอื้อต่อการสะท้อนภาพที่ถูกต้องชัดเจน และมีการจาแนกแยกแยะโดยมุ่งหวังที่จะปรับปรุ งความ ถูกต้องในการมองโลกและปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นรวมทั้งการทาความเข้าใจในวิธีการที่จะสร้างความ ่ กระจ่างชัด เพื่อการตัดสิ นใจได้อย่างถูกต้องหรื อมีวธีการที่จะตอบสนองความเปลี่ยนแปลงที่ปรากฏอยูได้ ิ อย่างเหมาะสม มี mental ability ไม่ผนแปรเรรวนหรื อท้อถอยเมื่อเผชิ ญกับวิกฤตการณ์ต่าง ๆ ซึ่ งการที่จะ ั ปรับ Mental model ของคนในองค์การให้เป็ นไปในทางที่ถูกต้องอาจจะใช้หลักการของศาสนาพุทธ ในการ ่ ฝึ กสติรักษาศีล และดารงตนอยูในธรรมะ 4.การมีวสัยทัศน์ร่วมกันของคนในองค์การ หมายถึง การมีวสัยทัศน์ร่วมกันของคนทั้งองค์การ ิ ิ องค์การแห่งการเรี ยนรู ้จะต้องเป็ นองค์การที่สมาชิกทุกคนได้รับการ พัฒนาวิสัยทัศน์ของตนให้สอดคล้อง กับวิสัยทัศน์รวมขององค์การซึ่ งจะสนับสนุนให้เกิดการรวมพลังของสมาชิกที่มีความคาดหวังต่อความ เปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าต่อไป ภายใต้จุดมุ่งหมายเดียวกันของคนทั้งองค์การ 5.การเรี ยนรู้เป็ นทีม หมายถึง การเรี ยนรู ้ร่วมกันของสมาชิกในองค์การโดยอาศัยความรู ้และความคิด ของมวลสมาชิกในการแลกเปลี่ยน และพัฒนาความฉลาดรอบรู ้และความสามารถของทีมให้บงเกิดผลยิงขึ้น ั ่ เรี ยกว่า การอาศัยความสามารถของสมาชิกแต่ละบุคคล องค์การแห่งการเรี ยนรู ้จะเกิดได้เมื่อมีการรวมพลัง ของกลุ่มต่าง ๆ ภายในองค์การเป็ นการรวมตัวของทีมงานที่มีประสิ ทธิ ภาพ สู งซึ่ งเกิดจากการที่สมาชิกในทีม มีการเรี ยนรู ้ร่วมกันมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์กนอย่างต่อเนื่ องและ สม่าเสมอ ั
  • 8. 6.ระบบการคิดของคนในองค์การ หมายถึง กระบวนการคิดอย่างเป็ นระบบ เป็ นกระบวนการใน การหาความสัมพันธ์ของสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเห็นแบบแผน เห็นขั้นตอนของการพัฒนา คือ เห็นทั้งป่ า และ เห็นต้นไม้แต่ละต้นด้วย (See Wholes instead of part, See the forest and the trees) 7.ผูบริ หาร หมายถึง ผูอำนวยกำรสถำนศึกษำ และรองผูอำนวยกำรสถำนศึกษำ ทีทำหน้ำที่ ้ ้ ้ ่ บริหำรสถำนศึกษำ สังกัดสำนักงำนเขตพืนทีกำรศึกษำประถมศึกษำเพชรบูรณ์ เขต 3 ้ ่ 8.ครู หมายถึ ง ครูผู้ท่ปฏิบติห น้ ำที่ส อนในสถำนศึกษำ สังกัดสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ี ั ประถมศึกษำเพชรบูรณ์ เขต 3 9.ขนาดของสถานศึกษา หมายถึง ขนาดของสถานศึกษา จาแนกตามจานวนนักเรี ยน ดังนี้ (เขตตรวจ ราชการที่ 5, 2549) สถานศึกษาขนาดเล็ก มีนกเรี ยน 300 คนลงมา ั สถานศึกษาขนาดกลาง มีนกเรี ยน 301-1000 คน ั สถานศึกษาขนาดใหญ่ มีนกเรี ยน 1001-2000 คน ั สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีนกเรี ยน 2001 คนขึ้นไป ั กรอบแนวคิดกำรวิจัย การวิจยครั้งนี้ ผูวจยศึกษาการเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู ั ้ิั และผูบริ หาร สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 โดยใช้กรอบแนวคิดการวิจย 5 ้ ั ประการของเซ็งกี้ (Senge, 1990, p.126) ซึ่ งได้แก่ 1) การเรี ยนรู้ของสมาชิกในองค์กร 2) ความมีสติ 3) การมี วิสัยทัศน์ร่วมกันของคนในองค์การ 4) การเรี ยนรู้เป็ นทีม 5) ระบบการคิดของคนในองค์การ
  • 9. ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตำม (independent variable) (dependent variable) สถำนภำพผูตอบแบบสอบถำม ้ การเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ของ 1. ตำแหน่ง สถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู และ ผูบริ หาร สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษา ้ 2. วุฒกำรศึกษำ ิ ประถมศึกษา เพชรบูรณ์เขต 3 ใน 5 ด้ำน 3. อำยุ 1. การเรี ยนรู้ของสมาชิกในองค์กร 4. สถำนภำพกำรสมรส 2. ความมีสติ 5. วิทยฐำนะ 3. การมีวสัยทัศน์ร่วมกันของคนใน ิ 6. ประสบกำรณ์ในตำแหน่ง องค์การ 7. การอบรมเกี่ยวกับองค์การแห่งการ 4. การเรี ยนรู้เป็ นทีม เรี ยนรู้ 5. ระบบการคิดของคนในองค์การ 9. ขนำดของสถำนศึกษำ ภำพ 1 กรอบแนวคิดในกำรวิจย ั สมมติ ฐานในการวิ จยั การเป็ นองค์ก ารแห่ ง การเรี ย นรู ้ ข องสถานศึ ก ษาตามความคิ ดเห็ นของครู และผูบ ริ หาร สั ง กัด ้ สานักงานพื้นที่การศึ กษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์ เขต 3 มีควำมแตกต่ำงกันเมื่อจำแนกตำม ตำแหน่ ง วุฒกำรศึกษำ อำยุ วิทยฐำนะ ประสบกำรณ์ในตำแหน่ ง การอบรมเกี่ ยวกับองค์การแห่ งการเรี ยนรู ้ และ ิ ขนำดของสถำนศึกษำ