SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
กําเนิดระบบสุรยะ
                                                    ิ
         ระบบสุริยะ (Solar System) ประกอบดวยดวงอาทิตยและบริวาร ซึ่งโคจรอยูรอบดวงอาทิตยไดแก
ดาวเคราะห 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห ดาวเคราะหนอยและดาวหาง ดาวเคราะห 4 ดวงที่อยูใกลดวง
อาทิตยเรียกวา ดาวเคราะหชั้นใน ซึ่งเปนดาวเคราะหขนาดเล็กและมีพื้นผิวเปนของแข็ง ไดแก ดาวพุธ ดาว
ศุกร โลกและดาวอังคาร ดาวเคราะห 5 ดวงที่อยูถัดออกไปเรียกวา ดาวเคราะหชั้นนอก ซึ่งมีขนาดใหญ
และมีองคประกอบสวนใหญเปนกาซ ยกเวนดาวเคราะหดวงนอกสุด คือ ดาวพลูโตที่มีขนาดเล็กและมี
พื้นผิวเปนของแข็ง




                               ภาพที่ 1 ระบบสุริยะ (ที่มา: JPL/ NASA)

        ระบบสุริยะเกิดจากกลุมกาซและฝุนในอวกาศ ยุบรวมกันภายใตอทธิพลของแรงโนมถวง เมื่อ
                                                                  ิ
4,600 ลานปที่ผานมา ทีใจกลางของกลุมกาซเกิดเปนดาวฤกษ คือ ดวงอาทิตย เศษฝุนและกาซที่เหลือ
                        ่
จากการเกิดเปนดาวฤกษ เคลื่อนที่อยูลอมรอบ เกิดการชนและรวมตัวกันเปนภายใตอทธิพลของแรงโนม
                                                                             ิ
ถวงในชวงเวลาหลายรอยลานป ในที่สุดกลายเปนดาวเคราะหบริวารและวัตถุอื่นๆ ในระบบสุรยะ
                                                                                    ิ




                                     ภาพที่ 2 กําเนิดระบบสุริยะ
ขอมูลที่นารู
    • ระบบสุริยะมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 12,000 ลานกิโลเมตร
    • 99% ของเนื้อสารทังหมดของระบบสุริยะ รวมอยูทดวงอาทิตย
                       ้                           ี่

Copyright ©2004 The LESA Project                                                  โครงสรางของโลก 1/6
ตําแหนงของโลกในจักรวาล
                                   โลก (The Earth)
                                   โลกของเรามีขนาดเสนผานศูนยกลาง 12,756 กิโลเมตร โลกอยูหางจาก
                                   ดวงอาทิตย 150 ลานกิโลเมตร แสงอาทิตยตองใชเวลาเดินทางนาน
                                   8 นาที กวาจะถึงโลก
                                   ระบบสุริยะ (Solar System)
                                   ประกอบดวยดวงอาทิตยเปนดาวฤกษอยูตรงศูนยกลาง มีดาวเคราะห 9
                                   ดวง เปนบริวารโคจรลอมรอบ ดาวเคราะหแตละดวงอาจมีดวงจันทรเปน
                                   บริ วารโคจล อมรอบอี กที หนึ่ ง ดาวพลู โตอยู ห างจากดวงอาทิ ตย 6
                                   พันลานกิโลเมตร แสงอาทิตยตองใชเวลาเดินทางนาน 5 ชั่วโมงครึ่ง
                                   กวาจะถึงดาวพลูโต
                                   ดาวฤกษเพื่อนบาน (Stars)
                                   ดาวฤกษแตละดวงอาจมีระบบดาวเคราะหเปนบริวาร เชนเดียวกับระบบ
                                   สุริยะของเรา ดาวฤกษแตละดวงอยูหางกันเปนระยะทางหลายลานลาน
                                   กิโลเมตร ดาวฤกษที่อยูใกลที่สุดของดวงอาทิตยชื่อ “ปรอกซิมา เซนทอ
                                   รี” (Proxima Centauri) อยูหางออกไป 40 ลานลานกิโลเมตร หรือ 4.2
                                   ปแสง ดาวฤกษซึ่งมองเห็นเปนดวงสวางบนทองฟา สวนมากจะอยูหางไม
                                   เกิน 2,000 ปแสง
                                   กาแล็กซี (Galaxy)
                                   กาแล็กซีคืออาณาจักรของดวงดาว กาแล็กซีของเราชื่อ “กาแล็กซีทาง
                                   ชางเผือก” (The Milky Way Galaxy) มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 1 แสน
                                   ปแสง ประกอบดวยดาวฤกษประมาณ 1 พันลานดวง ดวงอาทิตยของเรา
                                   อยูหางจากใจกลางของกาแล็กซีเปนระยะทางประมาณ 3 หมื่นปแสง
                                   (2 ใน 3 ของรัศมี)
                                   กระจุกกาแล็กซี (Cluster of galaxies)
                                   กาแล็กซีอยูรวมกันเปน กลุม (Group) หรือกระจุก (Cluster) “กลุม
                                   กาแล็กซีของเรา” (The local group) มีจํานวนมากกวา 10 กาแล็กซี
                                   กาแล็ ก ซี เ พื่ อ นบ า นของเรามี ชื่ อ ว า “กาแล็ ก ซี แ อนโดรมี ด า”
                                   (Andromeda galaxy) อยูหาง 2.3 ลานปแสง กลุมกาแล็กซีทองถิ่น
                                   มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 10 ลานปแสง
                                   ซูเปอรคลัสเตอร (Supercluster)
                                   ซูเปอรคลัสเตอร ประกอบดวยกระจุกกาแล็กซีหลายกระจุก “ซูเปอรคลัส
                                   เตอรของเรา” (The local supercluster) มีกาแล็กซีประมาณ 2 พัน


Copyright ©2004 The LESA Project                                                       โครงสรางของโลก 2/6
กาแล็กซี ตรงใจกลางเปนที่ตงของ “กระจุกเวอรโก” (Virgo cluster) ซึ่งประกอบดวยกาแล็กซีประมาณ 50
                          ั้
กาแล็กซี อยูหางออกไป 65 ลานปแสง กลุมกาแล็กซีทองถิ่นของเรา กําลังเคลื่อนทีออกจากกระจุกเวอรโก ดวย
                                                                           ่
ความเร็ว 400 กิโลเมตร/วินาที
เอกภพ (Universe)
“เอกภพ” หรือ “จักรวาล” หมายถึง อาณาบริเวณโดยรวมซึ่งบรรจุทุกสรรพสิ่งทั้งหมด นักดาราศาสตรยังไม
ทราบวา ขอบของเอกภพสิ้นสุดที่ตรงไหน แตพวกเขาพบวากระจุกกาแล็กซีกําลังเคลือนที่ออกจากกัน นั่นแสดง
                                                                            ่
ใหเห็นวาเอกภพกําลังขยายตัว เมื่อคํานวณยอนกลับนักดาราศาสตรพบวา เมื่อกอนทุกสรรพสิ่งเปนจุด ๆ
เดียว เอกภพถือกําเนิดขึ้นดวย ”การระเบิดใหญ” (Big Bang) เมื่อประมาณ 13,000 ลานปมาแลว



                                       โครงสรางของโลก
กําเนิดโลก
        เมื่อประมาณ 4,600 ลานปมาแลว กลุมกาซในเอกภพบริเวณนี้ ไดรวมตัวกันเปนหมอกเพลิงมีชื่อวา
“โซลารเนบิวลา” (Solar แปลวา สุริยะ, Nebula แปลวา หมอกเพลิง) แรงโนมถวงทําใหกลุมกาซยุบตัวและ
หมุนตัวเปนรูปจาน ใจกลางมีความรอนสูงเกิดปฏิกิริยานิวเคลียรแบบฟวชั่น กลายเปนดาวฤกษที่ชอวาดวง
                                                                                           ื่
อาทิตย สวนวัสดุที่อยูรอบๆ มีอณหภูมต่ํากวา รวมตัวเปนกลุมๆ มีมวลสารและความหนาแนนมากขึ้นเปน
                              ุ     ิ
ชั้นๆ และกลายเปนดาวเคราะหในที่สุด (ภาพที่ 1)




                                     ภาพที่ 1 กําเนิดระบบสุริยะ

        โลกในยุคแรกเปนของเหลวหนืดรอน ถูกกระหน่ําชนดวยอุกกาบาตตลอดเวลา องคประกอบซึ่งเปน
ธาตุห นัก เช น เหล็ ก และนิ เกิ ล จมตัวลงสูแ กนกลางของโลก ขณะที่องค ประกอบซึ่งเปนธาตุเบา เช น
ซิลิกอน ลอยตัวขึ้นสูเปลือกนอก กาซตางๆ เชน ไฮโดรเจนและคารบอนไดออกไซด พยายามแทรกตัวออก
จากพื้นผิว กาซไฮโดรเจนถูกลมสุริยะจากดวงอาทิตยทําลายใหแตกเปนประจุ สวนหนึ่งหลุดหนีออกสู

Copyright ©2004 The LESA Project                                                   โครงสรางของโลก 3/6
อวกาศ อีกสวนหนึ่งรวมตัวกับออกซิเจนกลายเปนไอน้ํา เมื่อโลกเย็นลง เปลือกนอกตกผลึกเปนของแข็ง
ไอน้ําในอากาศควบแนนเกิดฝน น้ําฝนไดละลายคารบอนไดออกไซดลงมาสะสมบนพื้นผิว เกิดทะเลและ
มหาสมุ ท ร สองพั น ล า นป ต อ มาการวิ วั ฒ นาการของสิ่ ง มี ชี วิ ต ได นํ า คาร บ อนไดออกไซด ม าผ า นการ
สังเคราะหแสง เพื่อสรางพลังงาน และใหผลผลิตเปนกาซออกซิเจน กาซออกซิเจนที่ลอยขึ้นสูชั้นบรรยากาศ
ชั้นบน แตกตัวและรวมตัวเปนกาซโอโซน ซึ่งชวยปองกันอันตรายจากรังสีอุลตราไวโอเล็ต ทําใหสิ่งมีชีวิต
มากขึ้น และปริมาณของออกซิเจนมากขึ้นอีก ออกซิเจนจึงมีบทบาทสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงบนพื้นผิวโลก
ในเวลาตอมา (ภาพที่ 2)




                                            ภาพที่ 2 กําเนิดโลก

โครงสรางภายในของโลก
        โลกมีขนาดเสนผานศูนยกลางยาว 12,756 กิโลเมตร (รัศมี 6,378 กิโลเมตร) มีมวลสาร 6 x 1024
กิโลกรัม และมีความหนาแนนเฉลี่ย 5.5 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร (หนาแนนกวาน้ํา 5.5 เทา)
นักธรณีวิทยาทําการศึกษาโครงสรางภายในของโลก โดยศึกษาการเดินทางของ “คลื่นซิสมิค” (Seismic
waves) ซึ่งมี 2 ลักษณะ คือ




                        ภาพที่ 3 คลื่นปฐมภูมิ (P wave) และคลื่นทุติยภูมิ (S wave)


Copyright ©2004 The LESA Project                                                           โครงสรางของโลก 4/6
• คลื่นปฐมภูมิ (P wave) เปนคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดย
               อนุภาคของตัวกลางนั้นเกิดการเคลื่อนไหวแบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นสงผานไป
               คลื่นนี้สามารถเคลื่อนที่ผานตัวกลางที่เปนของแข็ง ของเหลว และกาซ เปนคลื่นที่สถานีวัด
               แรงสั่นสะเทือนสามารถรับไดกอนชนิดอืน โดยมีความเร็วประมาณ 6 – 8 กิโลเมตร/วินาที
                                                       ่
               คลื่นปฐมภูมทําใหเกิดการอัดหรือขยายตัวของชั้นหิน ดังภาพที่ 3
                            ิ
             • คลื่นทุติยภูมิ (S wave) เปนคลื่นตามขวางที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลางโดย
               อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉากกับทิศทางที่คลื่นผาน มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน
               คลื่นชนิดนี้ผานไดเฉพาะตัวกลางที่เปนของแข็งเทานั้น ไมสามารถเดินทางผานของเหลว
               คลื่นทุติยภูมิมีความเร็วประมาณ 3 – 4 กิโลเมตร/วินาที คลื่นทุติยภูมิทําใหชั้นหินเกิดการ
               คดโคง




                     ภาพที่ 4 การเดินทางของ P wave และ S wave ขณะเกิดแผนดินไหว

       ขณะที่เกิดแผนดินไหว (Earthquake) จะเกิดแรงสั่นสะเทือนหรือคลื่นซิสมิคขยายแผจากศูนยเกิด
แผนดินไหวออกไปโดยรอบทุกทิศทุกทาง เนื่องจากวัสดุภายในของโลกมีความหนาแนนไมเทากัน และมี
สถานะต า งกั น คลื่ น ทั้ ง สองจึ ง มี ค วามเร็ ว และทิ ศ ทางที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปดั ง ภาพที่ 4 คลื่ น ปฐมภู มิ ห รื อ
P wave สามารถเดินทางผานศูนยกลางของโลกไปยังซีกโลกตรงขามโดยมีเขตอับ (Shadow zone) อยู
ระหวางมุม 100 – 140 องศา แตคลื่นทุติยภูมิ หรือ S wave ไมสามารถเดินทางผานชั้นของเหลวได จึง
ปรากฏแตบนซีกโลกเดียวกับจุดเกิดแผนดินไหว โดยมีเขตอับอยูที่มุม 120 องศาเปนตนไป




Copyright ©2004 The LESA Project                                                                 โครงสรางของโลก 5/6
โครงสรางภายในของโลกแบงตามองคประกอบทางเคมี
         นักธรณีวิทยา แบงโครงสรางภายในของโลกออกเปน 3 สวน โดยพิจารณาจากองคประกอบทางเคมี
ดังนี้ (ภาพที่ 5)
             • เปลือกโลก (Crust) เปนผิวโลกชั้นนอก มีองคประกอบสวนใหญเปนซิลิกอนออกไซด และ
                  อะลูมิเนียมออกไซด
             • แมนเทิล (Mantle)        คือสวนซึ่งอยูอยูใตเปลือกโลกลงไปจนถึงระดับความลึก 2,900
                  กิโลเมตร มีองคประกอบหลักเปนซิลิคอนออกไซด แมกนีเซียมออกไซด และเหล็กออกไซด
             • แกนโลก (Core) คือสวนที่อยูใจกลางของโลก มีองคประกอบหลักเปนเหล็ก และนิเกิล




                      ภาพที่ 5 องคประกอบทางเคมีของโครงสรางภายในของโลก




Copyright ©2004 The LESA Project                                                โครงสรางของโลก 6/6
ภาพที่ 6 โครงสรางภายในของโลก

โครงสรางภายในของโลกแบงตามคุณสมบัติทางกายภาพ
    นักธรณีวิทยา แบงโครงสรางภายในของโลกออกเปน 5 สวน โดยพิจารณาจากคุณสมบัติทางกายภาพ
ดังนี้ (ภาพที่ 6)
         • ลิโทสเฟยร (Lithosphere) คือ สวนชั้นนอกสุดของโลก ประกอบดวย เปลือกโลกและแมนเทิล
            ชั้นบนสุด ดังนี้
                  o เปลือกทวีป (Continental crust) สวนใหญเปนหินแกรนิตมีความหนาเฉลี่ย 35
                    กิโลเมตร ความหนาแนน 2.7 กรัม/ลูกบาศกเซนติเมตร
                  o เปลือกสมุทร (Oceanic crust) เปนหินบะซอลตความหนาเฉลีย 5 กิโลเมตร ความ
                                                                           ่
                    หนาแนน 3 กรัม/ลูกบาศกเซนติเมตร (มากกวาเปลือกทวีป)
                  o แมนเทิลชั้นบนสุด (Uppermost mantle) เปนวัตถุแข็งซึ่งรองรับเปลือกทวีปและ
                    เปลือกสมุทรอยูลึกลงมาถึงระดับลึก 100 กิโลเมตร
         • แอสทีโนสเฟยร (Asthenosphere) เปนแมนเทิลชันบนซึ่งอยูใตลิโทสเฟยรลงมาจนถึงระดับ
                                                              ้
            700 กิโลเมตร เปนวัสดุเนื้อออนอุณหภูมิประมาณ 600 – 1,000°C เคลื่อนที่ดวยกลไกการพา
                                                                                   
            ความรอน (Convection) มีความหนาแนนประมาณ 3.3 กรัม/เซนติเมตร



Copyright ©2004 The LESA Project                                             โครงสรางของโลก 7/6
• เมโซสเฟยร (Mesosphere) เปนแมนเทิลชั้นลางซึ่งอยูลึกลงไปจนถึงระดับ 2,900 กิโลเมตร มี
                                                            
         สถานะเปนของแข็งอุณหภูมิประมาณ 1,000 – 3,500°C มีความหนาแนนประมาณ 5.5 กรัม/
         เซนติเมตร
       • แกนชั้นนอก (Outer core) อยูลึกลงไปถึงระดับ 5,150 กิโลเมตร เปนเหล็กหลอมละลายมี
         อุณหภูมิสูง 1,000 – 3,500°C เคลื่อนตัวดวยกลไกการพาความรอนทําใหเกิดสนามแมเหล็ก
         โลก มีความหนาแนน 10 กรัม/ลูกบาศกเซนติเมตร
       • แกนชั้นใน (Inner core) เปนเหล็กและนิเกิลในสถานะของแข็งซึ่งมีอุณหภูมสูงถึง 5,000 °C
                                                                                ิ
         ความหนาแนน 12 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร จุดศูนยกลางของโลกอยูทระดับลึก 6,370
                                                                             ี่
         กิโลเมตร
สนามแมเหล็กโลก
        แกนโลกมีองคประกอบหลักเปนเหล็ก แกนโลกชั้นใน (Inner core) มีความกดดันสูงจึงมีสถานะ
เปนของแข็ง สวนแกนชั้นนอก (Outer core) มีความกดดันนอยกวาจึงมีสถานะเปนของเหลวหนืด
แกนชั้นในมีอุณหภูมิสูงกวาแกนชั้นนอก พลังงานความรอนจากแกนชั้นใน จึงถายเทขึ้นสูแกนชั้นนอกดวย
การพาความรอน (Convection) เหล็กหลอมละลายเคลื่อนที่หมุนวนอยางชาๆ ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ของ
กระแสไฟฟา และเหนี่ยวนําใหเกิดสนามแมเหล็กโลก (The Earth’s magnetic field)




                                    ภาพที่ 7 แกนแมเหล็กโลก
        อยางไรก็ตามแกนแมเหล็กโลกและแกนหมุนของโลกมิใชแกนเดียวกัน แกนแมเหล็กโลกมีขั้วเหนือ
อยูทางดานใต และมีแกนใตอยูทางดานเหนือ แกนแมเหล็กโลกเอียงทํามุมกับแกนเหนือ-ใตทางภูมิศาสตร
(แกนหมุนของโลก) 12 องศา ดังภาพที่ 7




Copyright ©2004 The LESA Project                                                 โครงสรางของโลก 8/6
ภาพที่ 8 สนามแมเหล็กโลก

       สนามแมเหล็กโลกก็มิใชเปนรูปทรงกลม (ภาพที่ 8) อิทธิพลของลมสุริยะทําใหดานที่อยูใกลดวง
อาทิตยมีความกวางนอยกวาดานตรงขามดวงอาทิตย สนามแมเหล็กโลกไมใชส่ิงคงที่ แตมีการเปลี่ยนแปลง
ความเขมและสลับขั้วเหนือ-ใต ทุกๆ หนึ่งหมื่นป ในปจจุบันสนามแมเหล็กโลกอยูในชวงที่มีกําลังออน
สนามแมเหล็กโลกเปนสิ่งที่จําเปนที่เอื้ออํานวยในการดํารงชีวิต หากปราศจากสนามแมเหล็กโลกแลว
อนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตยและอวกาศ จะพุงชนพื้นผิวโลก ทําใหสิ่งมีชีวิตไมสามารถดํารงอยูได
(ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในบทที่ 3 พลังงานจากดวงอาทิตย)

เกร็ดความรู: ทิศเหนือที่อานไดจากเข็มทิศแมเหล็ก อาจจะไมตรงกับทิศเหนือจริง ดวยเหตุผล 2 ประการคือ
                          
          • ขั้วแมเหล็กโลก และขั้วโลก มิใชจดเดียวกัน
                                                  ุ
          • ในบางพื้นที่ของโลก เสนแรงแมเหล็กมีความเบี่ยงเบน (Magnetic deviation) มิไดขนาน
                กับเสนลองจิจูด (เสนแวง) ทางภูมศาสตร แตโชคดีทบริเวณประเทศไทยมีคาความ
                                                    ิ               ี่
                เบี่ยงเบน = 0 ดังนั้นจึงถือวา ทิศเหนือแมเหล็กเปนทิศเหนือจริงได




Copyright ©2004 The LESA Project                                                   โครงสรางของโลก 9/6
การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก
      เปลือกโลกมิไดเปนแผนเดียวตอเนื่องติดกันดังเชนเปลือกไข หากแตเหมือนเปลือกไขแตกราว มี
แผนหลายแผนเรียงชิดติดกันเรียกวา “เพลต” (Plate) ซึ่งมีอยูประมาณ 20 เพลต เพลตที่มีขนาดใหญ ไดแก
เพลตแปซิฟก เพลตอเมริกาเหนือ เพลตอเมริกาใต เพลตยูเรเซีย เพลตแอฟริกา เพลตอินโด-ออสเตรเลีย
และเพลตแอนตารกติก เปนตน เพลตแปซิฟกเปนเพลตที่ใหญที่สุดและไมมีเปลือกทวีป กินอาณาเขตหนึ่ง
ในสามของพื้นผิวโลก เพลตทุกเพลตเคลื่อนตัวเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปรางอยูตลอดเวลา (ดูภาพที่ 1)




                                         ภาพที่ 1 การเคลื่อนตัวของเพลต
กระบวนการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก
         เพลตประกอบดวยเปลือกทวีปและเปลือกมหาสมุทรวางตัวอยูบนแมนเทิลชั้นบนสุด ซึ่งเปนของแข็ง
ในชั้นลิโทสเฟยร ลอยอยูบนหินหนืดรอนในชั้นแอสทีโนสเฟยรอีกทีหนึ่ง หินหนืด (Magma) เปนวัสดุ
เนื้อออนเคลื่อนที่หมุนเวียนดวยการพาความรอนภายในโลก คลายการเคลื่อนตัวของน้ําเดือดในกาตมน้ํา
การเคลื่ อ นตั ว ของวั ส ดุ ใ นชั้ น แอสที โ นสเฟ ย ร ทํ า ให เ กิ ด การเคลื่ อ นตั ว เพลต (ดู ภ าพที่ 2) เราเรี ย ก
กระบวนการเชนนี้วา “ธรณีแปรสัณฐาน” หรือ “เพลตเทคโทนิคส” (Plate Tectonics)




                                     ภาพที่ 2 กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน

Copyright ©2004 The LESA Project                                                                 โครงสรางของโลก 10/6
• การพาความรอนจากภายในของโลกทําใหวัสดุในชั้นแอสทีโนสเฟยร (Convection cell) ลอยตัวดัน
     พื้นมหาสมุทรขึ้นมากลายเปน “สันกลางมหาสมุทร” (Mid-ocean ridge) หินหนืดรอนหรือแมกมา
     ซึ่งโผลขึ้นมาผลักพื้นมหาสมุทรใหเคลื่อนที่ขยายตัวออกทางขาง
   • เนื่องจากเปลือกมหาสมุทรมีความหนาแนนมากกวาเปลือกทวีป ดังนั้นเมื่อเปลือกมหาสมุทรชน
     กับเปลือกทวีป เปลือกมหาสมุทรจะมุดตัวต่ําลงกลายเปน “เหวมหาสมุทร” (Trench) และหลอม
     ละลายในแมนเทิลอีกครังหนึ่ง
                             ้
   • มวลหินหนืดที่เกิดจากการรีไซเคิลของเปลือกมหาสมุทรทีจมตัวลง เรียกวา “พลูตอน” (Pluton) มี
                                                           ่
     ความหนาแนนนอยกวาเปลือกทวีป จึงลอยตัวแทรกขึ้นมาเปนแนวภูเขาไฟ เชน เทือกเขาแอนดีส
     ทางฝงตะวันตกของทวีปอเมริกาใต




                                      ภาพที่ 3 รอยตอของเพลต
รอยตอของขอบเพลต (Plate boundaries)
   • เพลตแยกจากกัน (Divergent) เมื่อแมกมาในชั้นแอสทีโนสเฟยรดันตัวขึ้น ทําใหเพลตจะขยายตัว
     ออกจากกัน แนวเพลตแยกจากกันสวนมากเกิดขึ้นในบริเวณสันกลางมหาสมุทร (ภาพที่ 3)
   • เพลตชนกัน (Convergent) เมื่อเพลตเคลื่อนที่เขาชนกัน เพลตที่มีความหนาแนนสูงกวาจะมุดตัว
     ลงและหลอมละลายในแมนเทิล สวนเพลตที่มีความหนาแนนนอยกวาจะถูกเกยสูงขึ้นกลายเปน
     เทือกเขา เชน เทือกเขาหิมาลัย เกิดจากการชนกันของเพลตอินเดียและเพลตเอเชีย เทือกเขา
     แอพพาเลเชียน เกิดจากการชนกันของเพลตอเมริกาเหนือกับเพลตแอฟริกา
   • รอยเลื่อน (Transform fault) เปนรอยเลื่อนขนาดใหญ มักเกิดขึ้นในบริเวณเทือกเขากลาง
     มหาสมุทร แตบางครั้งก็เกิดขึ้นบริเวณชายฝง เชน รอยเลื่อนแอนเดรียส ที่ทําใหเกิดแผนดินไหวใน
     รัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา เกิดจากการเคลื่อนที่สวนกันของเพลตอเมริกาเหนือและ
     เพลตแปซิฟก

วัฏจักรวิลสัน
         หินบนเปลือกโลกสวนใหญมีอายุนอยไมกี่รอยลานป เมื่อเทียบกับโลกซึ่งมีอายุประมาณ 4,000 ลานป
และเปลือกโลกก็มีการเคลื่อนที่อยูตลอดเวลา นักธรณีวิทยาชาวแคนาดาชื่อ ทูโซ วิลสัน ไดตั้งสมมติฐานไววา
เพลตขนาดใหญถูกทําลายและสรางขี้นใหมในลักษณะรีไซเคิลทุกๆ 500 ลานป เนื่องจากโลกของเรามีเสน
รอบวงยาวประมาณ 40,000 กิโลเมตร จึงคํานวณไดวา เพลตเคลื่อนที่ดวยความเร็วปละ 4 เซนติเมตร
ดังนั้นเพลตสองเพลตซึ่งแยกตัวออกจากกันในซีกโลกหนึ่ง จะเคลื่อนที่ไปชนกันในซีกโลกตรงขามโดยใช
เวลาประมาณ 500 ลานป ดูรายละเอียดในภาพที่ 4

Copyright ©2004 The LESA Project                                                    โครงสรางของโลก 11/6
ภาพที่ 4 วัฏจักรวิลสัน

   • ภาพที่ 4 ก. เพลตเกิดขึ้นใหมจากการโผลขึ้นของแมกมาในจุดรอนใตมหาสมุทร แมกมาดันเปลือก
     ทวีปทั้งสองแยกจากกัน และเคลื่อนที่ไปชนเปลือกมหาสมุทรในซีกโลกฝงตรงขามซึ่งมีอุณหภูมิ
     ต่ํากวาและจมตัวลง การชนกันทําใหมหาสมุทรทางดานตรงขามมีขนาดเล็กลง
   • ภาพที่ 4 ข. เปลือกทวีปชนกันทําใหเกิดทวีปขนาดยักษในซีกโลกหนึ่ง และอีกซีกโลกหนึ่งกลายเปน
     มหาสมุทรขนาดยักษเชนกัน
   • ภาพที่ 4 ค. เมื่อเวลาผานไปเปลือกโลกเกิดการแยกตัวเนื่องจากจุดรอนขางใต ทําใหเกิดเปลือก
     มหาสมุทรอันใหม ดันเปลือกทวีปใหแยกตัวจากกัน และเคลื่อนที่ไปชนกับเปลือกมหาสมุทรในซีก
     ตรงขามที่เย็นกวา ทําใหมหาสมุทรทางดานตรงขามมีขนาดเล็กลง และในที่สดเปลือกทวีปทั้งสอง
                                                                            ุ
     จะชนกัน เปนอันครบกระบวนการของวัฏจักรวิลสัน




                                   ภาพที่ 5 โลกเมื่อ 200 ลานปกอน
ทวีปในอดีต
       เมื่อมองดูแผนที่โลก หากเราตัดสวนที่เปนพื้นมหาสมุทรออก จะพบวาสวนโคงของขอบแตละทวีป
นั้น โคงรับกันราวกับนํามาเลื่อนตอกันไดเสมือนเกมสตอแผนภาพ (Jigsaw หรือ puzzle) นักธรณีวิทยา
พบวา ตามบริเวณแนวรอยตอของเพลตตางๆ มักเปนที่ตั้งของเทือกเขาสูงและภูเขาไฟ ทั้งบนทวีปและใต
มหาสมุทร การศึกษาการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกดวยทฤษฎีเพลตเทคโทนิคส ประกอบกับรองรอยทาง

Copyright ©2004 The LESA Project                                              โครงสรางของโลก 12/6
ธรณีวิทยาในอดีตพบวา เมื่อ 200 ลานปกอน ทุกทวีปอยูชิดติดกันเปนแผนดินขนาดใหญเรียกวา “แพนเจีย”
(Pangaea) โดยมีดินแดนทางตอนเหนือชื่อ “ลอเรเซีย” (Lawresia) และดินแดนทางใตชื่อ “กอนดวานา”
(Gonwana) ซึ่งแบงแยกดวยทะเลเททิส ดังที่แสดงในภาพที่ 5




                 ภาพที่ 6 สภาพภูมิอากาศในอดีต สีเขียวคือปาเขตรอน สีขาวคือธารน้ําแข็ง
         ภาพที่ 6 แสดงใหเห็นวาเมื่อ 200 ลานปกอน ทางตอนใตของทวีปอเมริกาใต แอฟริกา อินเดีย
ออสเตรเลีย เคยอยูชิดติดกับทวีปแอนตารกติกในบริเวณขั้วใต ซึ่งเปนเขตหนาวเย็น โดยมีหลักฐานเปน
รองรอยของธารน้ําแข็งในอดีต ในขณะที่ตอนใตของทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป และเอเชีย มีหลักฐานบงชี้วา
เคยเปนเขตรอนแถบศูนยสูตรมากอน เนื่องจากอุดมสมบูรณดวยถานหินและน้ํามัน ซึ่งเกิดจากการทับถม
ของพืชในอดีต ประกอบกับหลักฐานทางฟอสซิลในภาพที่ 7 แสดงใหเห็นวา เมื่อครั้งกอนแผนดินเหลานี้เคย
อยูชิดติดกัน พืชและสัตวบางชนิดจึงแพรขยายพันธุบนดินแดนเหลานี้ในอดีต




                                   ภาพที่ 7 การแพรพันธุของสัตวในอดีต




Copyright ©2004 The LESA Project                                                 โครงสรางของโลก 13/6

More Related Content

What's hot

บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sunnative
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ployprapim
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์T
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemnative
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพMoukung'z Cazino
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
Universe
UniverseUniverse
Universeyokyoi
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลMeanz Mean
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 

What's hot (14)

บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 
Solarsystem
SolarsystemSolarsystem
Solarsystem
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar system
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 

Similar to 42101 3

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพTa Lattapol
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพsarawut chaiyong
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2556
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 

Similar to 42101 3 (20)

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Univers1
Univers1Univers1
Univers1
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 

42101 3

  • 1. กําเนิดระบบสุรยะ ิ ระบบสุริยะ (Solar System) ประกอบดวยดวงอาทิตยและบริวาร ซึ่งโคจรอยูรอบดวงอาทิตยไดแก ดาวเคราะห 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห ดาวเคราะหนอยและดาวหาง ดาวเคราะห 4 ดวงที่อยูใกลดวง อาทิตยเรียกวา ดาวเคราะหชั้นใน ซึ่งเปนดาวเคราะหขนาดเล็กและมีพื้นผิวเปนของแข็ง ไดแก ดาวพุธ ดาว ศุกร โลกและดาวอังคาร ดาวเคราะห 5 ดวงที่อยูถัดออกไปเรียกวา ดาวเคราะหชั้นนอก ซึ่งมีขนาดใหญ และมีองคประกอบสวนใหญเปนกาซ ยกเวนดาวเคราะหดวงนอกสุด คือ ดาวพลูโตที่มีขนาดเล็กและมี พื้นผิวเปนของแข็ง ภาพที่ 1 ระบบสุริยะ (ที่มา: JPL/ NASA) ระบบสุริยะเกิดจากกลุมกาซและฝุนในอวกาศ ยุบรวมกันภายใตอทธิพลของแรงโนมถวง เมื่อ ิ 4,600 ลานปที่ผานมา ทีใจกลางของกลุมกาซเกิดเปนดาวฤกษ คือ ดวงอาทิตย เศษฝุนและกาซที่เหลือ ่ จากการเกิดเปนดาวฤกษ เคลื่อนที่อยูลอมรอบ เกิดการชนและรวมตัวกันเปนภายใตอทธิพลของแรงโนม ิ ถวงในชวงเวลาหลายรอยลานป ในที่สุดกลายเปนดาวเคราะหบริวารและวัตถุอื่นๆ ในระบบสุรยะ ิ ภาพที่ 2 กําเนิดระบบสุริยะ ขอมูลที่นารู • ระบบสุริยะมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 12,000 ลานกิโลเมตร • 99% ของเนื้อสารทังหมดของระบบสุริยะ รวมอยูทดวงอาทิตย ้ ี่ Copyright ©2004 The LESA Project โครงสรางของโลก 1/6
  • 2. ตําแหนงของโลกในจักรวาล โลก (The Earth) โลกของเรามีขนาดเสนผานศูนยกลาง 12,756 กิโลเมตร โลกอยูหางจาก ดวงอาทิตย 150 ลานกิโลเมตร แสงอาทิตยตองใชเวลาเดินทางนาน 8 นาที กวาจะถึงโลก ระบบสุริยะ (Solar System) ประกอบดวยดวงอาทิตยเปนดาวฤกษอยูตรงศูนยกลาง มีดาวเคราะห 9 ดวง เปนบริวารโคจรลอมรอบ ดาวเคราะหแตละดวงอาจมีดวงจันทรเปน บริ วารโคจล อมรอบอี กที หนึ่ ง ดาวพลู โตอยู ห างจากดวงอาทิ ตย 6 พันลานกิโลเมตร แสงอาทิตยตองใชเวลาเดินทางนาน 5 ชั่วโมงครึ่ง กวาจะถึงดาวพลูโต ดาวฤกษเพื่อนบาน (Stars) ดาวฤกษแตละดวงอาจมีระบบดาวเคราะหเปนบริวาร เชนเดียวกับระบบ สุริยะของเรา ดาวฤกษแตละดวงอยูหางกันเปนระยะทางหลายลานลาน กิโลเมตร ดาวฤกษที่อยูใกลที่สุดของดวงอาทิตยชื่อ “ปรอกซิมา เซนทอ รี” (Proxima Centauri) อยูหางออกไป 40 ลานลานกิโลเมตร หรือ 4.2 ปแสง ดาวฤกษซึ่งมองเห็นเปนดวงสวางบนทองฟา สวนมากจะอยูหางไม เกิน 2,000 ปแสง กาแล็กซี (Galaxy) กาแล็กซีคืออาณาจักรของดวงดาว กาแล็กซีของเราชื่อ “กาแล็กซีทาง ชางเผือก” (The Milky Way Galaxy) มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 1 แสน ปแสง ประกอบดวยดาวฤกษประมาณ 1 พันลานดวง ดวงอาทิตยของเรา อยูหางจากใจกลางของกาแล็กซีเปนระยะทางประมาณ 3 หมื่นปแสง (2 ใน 3 ของรัศมี) กระจุกกาแล็กซี (Cluster of galaxies) กาแล็กซีอยูรวมกันเปน กลุม (Group) หรือกระจุก (Cluster) “กลุม กาแล็กซีของเรา” (The local group) มีจํานวนมากกวา 10 กาแล็กซี กาแล็ ก ซี เ พื่ อ นบ า นของเรามี ชื่ อ ว า “กาแล็ ก ซี แ อนโดรมี ด า” (Andromeda galaxy) อยูหาง 2.3 ลานปแสง กลุมกาแล็กซีทองถิ่น มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 10 ลานปแสง ซูเปอรคลัสเตอร (Supercluster) ซูเปอรคลัสเตอร ประกอบดวยกระจุกกาแล็กซีหลายกระจุก “ซูเปอรคลัส เตอรของเรา” (The local supercluster) มีกาแล็กซีประมาณ 2 พัน Copyright ©2004 The LESA Project โครงสรางของโลก 2/6
  • 3. กาแล็กซี ตรงใจกลางเปนที่ตงของ “กระจุกเวอรโก” (Virgo cluster) ซึ่งประกอบดวยกาแล็กซีประมาณ 50 ั้ กาแล็กซี อยูหางออกไป 65 ลานปแสง กลุมกาแล็กซีทองถิ่นของเรา กําลังเคลื่อนทีออกจากกระจุกเวอรโก ดวย   ่ ความเร็ว 400 กิโลเมตร/วินาที เอกภพ (Universe) “เอกภพ” หรือ “จักรวาล” หมายถึง อาณาบริเวณโดยรวมซึ่งบรรจุทุกสรรพสิ่งทั้งหมด นักดาราศาสตรยังไม ทราบวา ขอบของเอกภพสิ้นสุดที่ตรงไหน แตพวกเขาพบวากระจุกกาแล็กซีกําลังเคลือนที่ออกจากกัน นั่นแสดง ่ ใหเห็นวาเอกภพกําลังขยายตัว เมื่อคํานวณยอนกลับนักดาราศาสตรพบวา เมื่อกอนทุกสรรพสิ่งเปนจุด ๆ เดียว เอกภพถือกําเนิดขึ้นดวย ”การระเบิดใหญ” (Big Bang) เมื่อประมาณ 13,000 ลานปมาแลว โครงสรางของโลก กําเนิดโลก เมื่อประมาณ 4,600 ลานปมาแลว กลุมกาซในเอกภพบริเวณนี้ ไดรวมตัวกันเปนหมอกเพลิงมีชื่อวา “โซลารเนบิวลา” (Solar แปลวา สุริยะ, Nebula แปลวา หมอกเพลิง) แรงโนมถวงทําใหกลุมกาซยุบตัวและ หมุนตัวเปนรูปจาน ใจกลางมีความรอนสูงเกิดปฏิกิริยานิวเคลียรแบบฟวชั่น กลายเปนดาวฤกษที่ชอวาดวง ื่ อาทิตย สวนวัสดุที่อยูรอบๆ มีอณหภูมต่ํากวา รวมตัวเปนกลุมๆ มีมวลสารและความหนาแนนมากขึ้นเปน  ุ ิ ชั้นๆ และกลายเปนดาวเคราะหในที่สุด (ภาพที่ 1) ภาพที่ 1 กําเนิดระบบสุริยะ โลกในยุคแรกเปนของเหลวหนืดรอน ถูกกระหน่ําชนดวยอุกกาบาตตลอดเวลา องคประกอบซึ่งเปน ธาตุห นัก เช น เหล็ ก และนิ เกิ ล จมตัวลงสูแ กนกลางของโลก ขณะที่องค ประกอบซึ่งเปนธาตุเบา เช น ซิลิกอน ลอยตัวขึ้นสูเปลือกนอก กาซตางๆ เชน ไฮโดรเจนและคารบอนไดออกไซด พยายามแทรกตัวออก จากพื้นผิว กาซไฮโดรเจนถูกลมสุริยะจากดวงอาทิตยทําลายใหแตกเปนประจุ สวนหนึ่งหลุดหนีออกสู Copyright ©2004 The LESA Project โครงสรางของโลก 3/6
  • 4. อวกาศ อีกสวนหนึ่งรวมตัวกับออกซิเจนกลายเปนไอน้ํา เมื่อโลกเย็นลง เปลือกนอกตกผลึกเปนของแข็ง ไอน้ําในอากาศควบแนนเกิดฝน น้ําฝนไดละลายคารบอนไดออกไซดลงมาสะสมบนพื้นผิว เกิดทะเลและ มหาสมุ ท ร สองพั น ล า นป ต อ มาการวิ วั ฒ นาการของสิ่ ง มี ชี วิ ต ได นํ า คาร บ อนไดออกไซด ม าผ า นการ สังเคราะหแสง เพื่อสรางพลังงาน และใหผลผลิตเปนกาซออกซิเจน กาซออกซิเจนที่ลอยขึ้นสูชั้นบรรยากาศ ชั้นบน แตกตัวและรวมตัวเปนกาซโอโซน ซึ่งชวยปองกันอันตรายจากรังสีอุลตราไวโอเล็ต ทําใหสิ่งมีชีวิต มากขึ้น และปริมาณของออกซิเจนมากขึ้นอีก ออกซิเจนจึงมีบทบาทสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงบนพื้นผิวโลก ในเวลาตอมา (ภาพที่ 2) ภาพที่ 2 กําเนิดโลก โครงสรางภายในของโลก โลกมีขนาดเสนผานศูนยกลางยาว 12,756 กิโลเมตร (รัศมี 6,378 กิโลเมตร) มีมวลสาร 6 x 1024 กิโลกรัม และมีความหนาแนนเฉลี่ย 5.5 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร (หนาแนนกวาน้ํา 5.5 เทา) นักธรณีวิทยาทําการศึกษาโครงสรางภายในของโลก โดยศึกษาการเดินทางของ “คลื่นซิสมิค” (Seismic waves) ซึ่งมี 2 ลักษณะ คือ ภาพที่ 3 คลื่นปฐมภูมิ (P wave) และคลื่นทุติยภูมิ (S wave) Copyright ©2004 The LESA Project โครงสรางของโลก 4/6
  • 5. • คลื่นปฐมภูมิ (P wave) เปนคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดย อนุภาคของตัวกลางนั้นเกิดการเคลื่อนไหวแบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นสงผานไป คลื่นนี้สามารถเคลื่อนที่ผานตัวกลางที่เปนของแข็ง ของเหลว และกาซ เปนคลื่นที่สถานีวัด แรงสั่นสะเทือนสามารถรับไดกอนชนิดอืน โดยมีความเร็วประมาณ 6 – 8 กิโลเมตร/วินาที ่ คลื่นปฐมภูมทําใหเกิดการอัดหรือขยายตัวของชั้นหิน ดังภาพที่ 3 ิ • คลื่นทุติยภูมิ (S wave) เปนคลื่นตามขวางที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลางโดย อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉากกับทิศทางที่คลื่นผาน มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน คลื่นชนิดนี้ผานไดเฉพาะตัวกลางที่เปนของแข็งเทานั้น ไมสามารถเดินทางผานของเหลว คลื่นทุติยภูมิมีความเร็วประมาณ 3 – 4 กิโลเมตร/วินาที คลื่นทุติยภูมิทําใหชั้นหินเกิดการ คดโคง ภาพที่ 4 การเดินทางของ P wave และ S wave ขณะเกิดแผนดินไหว ขณะที่เกิดแผนดินไหว (Earthquake) จะเกิดแรงสั่นสะเทือนหรือคลื่นซิสมิคขยายแผจากศูนยเกิด แผนดินไหวออกไปโดยรอบทุกทิศทุกทาง เนื่องจากวัสดุภายในของโลกมีความหนาแนนไมเทากัน และมี สถานะต า งกั น คลื่ น ทั้ ง สองจึ ง มี ค วามเร็ ว และทิ ศ ทางที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปดั ง ภาพที่ 4 คลื่ น ปฐมภู มิ ห รื อ P wave สามารถเดินทางผานศูนยกลางของโลกไปยังซีกโลกตรงขามโดยมีเขตอับ (Shadow zone) อยู ระหวางมุม 100 – 140 องศา แตคลื่นทุติยภูมิ หรือ S wave ไมสามารถเดินทางผานชั้นของเหลวได จึง ปรากฏแตบนซีกโลกเดียวกับจุดเกิดแผนดินไหว โดยมีเขตอับอยูที่มุม 120 องศาเปนตนไป Copyright ©2004 The LESA Project โครงสรางของโลก 5/6
  • 6. โครงสรางภายในของโลกแบงตามองคประกอบทางเคมี นักธรณีวิทยา แบงโครงสรางภายในของโลกออกเปน 3 สวน โดยพิจารณาจากองคประกอบทางเคมี ดังนี้ (ภาพที่ 5) • เปลือกโลก (Crust) เปนผิวโลกชั้นนอก มีองคประกอบสวนใหญเปนซิลิกอนออกไซด และ อะลูมิเนียมออกไซด • แมนเทิล (Mantle) คือสวนซึ่งอยูอยูใตเปลือกโลกลงไปจนถึงระดับความลึก 2,900 กิโลเมตร มีองคประกอบหลักเปนซิลิคอนออกไซด แมกนีเซียมออกไซด และเหล็กออกไซด • แกนโลก (Core) คือสวนที่อยูใจกลางของโลก มีองคประกอบหลักเปนเหล็ก และนิเกิล ภาพที่ 5 องคประกอบทางเคมีของโครงสรางภายในของโลก Copyright ©2004 The LESA Project โครงสรางของโลก 6/6
  • 7. ภาพที่ 6 โครงสรางภายในของโลก โครงสรางภายในของโลกแบงตามคุณสมบัติทางกายภาพ นักธรณีวิทยา แบงโครงสรางภายในของโลกออกเปน 5 สวน โดยพิจารณาจากคุณสมบัติทางกายภาพ ดังนี้ (ภาพที่ 6) • ลิโทสเฟยร (Lithosphere) คือ สวนชั้นนอกสุดของโลก ประกอบดวย เปลือกโลกและแมนเทิล ชั้นบนสุด ดังนี้ o เปลือกทวีป (Continental crust) สวนใหญเปนหินแกรนิตมีความหนาเฉลี่ย 35 กิโลเมตร ความหนาแนน 2.7 กรัม/ลูกบาศกเซนติเมตร o เปลือกสมุทร (Oceanic crust) เปนหินบะซอลตความหนาเฉลีย 5 กิโลเมตร ความ ่ หนาแนน 3 กรัม/ลูกบาศกเซนติเมตร (มากกวาเปลือกทวีป) o แมนเทิลชั้นบนสุด (Uppermost mantle) เปนวัตถุแข็งซึ่งรองรับเปลือกทวีปและ เปลือกสมุทรอยูลึกลงมาถึงระดับลึก 100 กิโลเมตร • แอสทีโนสเฟยร (Asthenosphere) เปนแมนเทิลชันบนซึ่งอยูใตลิโทสเฟยรลงมาจนถึงระดับ ้ 700 กิโลเมตร เปนวัสดุเนื้อออนอุณหภูมิประมาณ 600 – 1,000°C เคลื่อนที่ดวยกลไกการพา  ความรอน (Convection) มีความหนาแนนประมาณ 3.3 กรัม/เซนติเมตร Copyright ©2004 The LESA Project โครงสรางของโลก 7/6
  • 8. • เมโซสเฟยร (Mesosphere) เปนแมนเทิลชั้นลางซึ่งอยูลึกลงไปจนถึงระดับ 2,900 กิโลเมตร มี  สถานะเปนของแข็งอุณหภูมิประมาณ 1,000 – 3,500°C มีความหนาแนนประมาณ 5.5 กรัม/ เซนติเมตร • แกนชั้นนอก (Outer core) อยูลึกลงไปถึงระดับ 5,150 กิโลเมตร เปนเหล็กหลอมละลายมี อุณหภูมิสูง 1,000 – 3,500°C เคลื่อนตัวดวยกลไกการพาความรอนทําใหเกิดสนามแมเหล็ก โลก มีความหนาแนน 10 กรัม/ลูกบาศกเซนติเมตร • แกนชั้นใน (Inner core) เปนเหล็กและนิเกิลในสถานะของแข็งซึ่งมีอุณหภูมสูงถึง 5,000 °C ิ ความหนาแนน 12 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร จุดศูนยกลางของโลกอยูทระดับลึก 6,370 ี่ กิโลเมตร สนามแมเหล็กโลก แกนโลกมีองคประกอบหลักเปนเหล็ก แกนโลกชั้นใน (Inner core) มีความกดดันสูงจึงมีสถานะ เปนของแข็ง สวนแกนชั้นนอก (Outer core) มีความกดดันนอยกวาจึงมีสถานะเปนของเหลวหนืด แกนชั้นในมีอุณหภูมิสูงกวาแกนชั้นนอก พลังงานความรอนจากแกนชั้นใน จึงถายเทขึ้นสูแกนชั้นนอกดวย การพาความรอน (Convection) เหล็กหลอมละลายเคลื่อนที่หมุนวนอยางชาๆ ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ของ กระแสไฟฟา และเหนี่ยวนําใหเกิดสนามแมเหล็กโลก (The Earth’s magnetic field) ภาพที่ 7 แกนแมเหล็กโลก อยางไรก็ตามแกนแมเหล็กโลกและแกนหมุนของโลกมิใชแกนเดียวกัน แกนแมเหล็กโลกมีขั้วเหนือ อยูทางดานใต และมีแกนใตอยูทางดานเหนือ แกนแมเหล็กโลกเอียงทํามุมกับแกนเหนือ-ใตทางภูมิศาสตร (แกนหมุนของโลก) 12 องศา ดังภาพที่ 7 Copyright ©2004 The LESA Project โครงสรางของโลก 8/6
  • 9. ภาพที่ 8 สนามแมเหล็กโลก สนามแมเหล็กโลกก็มิใชเปนรูปทรงกลม (ภาพที่ 8) อิทธิพลของลมสุริยะทําใหดานที่อยูใกลดวง อาทิตยมีความกวางนอยกวาดานตรงขามดวงอาทิตย สนามแมเหล็กโลกไมใชส่ิงคงที่ แตมีการเปลี่ยนแปลง ความเขมและสลับขั้วเหนือ-ใต ทุกๆ หนึ่งหมื่นป ในปจจุบันสนามแมเหล็กโลกอยูในชวงที่มีกําลังออน สนามแมเหล็กโลกเปนสิ่งที่จําเปนที่เอื้ออํานวยในการดํารงชีวิต หากปราศจากสนามแมเหล็กโลกแลว อนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตยและอวกาศ จะพุงชนพื้นผิวโลก ทําใหสิ่งมีชีวิตไมสามารถดํารงอยูได (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในบทที่ 3 พลังงานจากดวงอาทิตย) เกร็ดความรู: ทิศเหนือที่อานไดจากเข็มทิศแมเหล็ก อาจจะไมตรงกับทิศเหนือจริง ดวยเหตุผล 2 ประการคือ  • ขั้วแมเหล็กโลก และขั้วโลก มิใชจดเดียวกัน ุ • ในบางพื้นที่ของโลก เสนแรงแมเหล็กมีความเบี่ยงเบน (Magnetic deviation) มิไดขนาน กับเสนลองจิจูด (เสนแวง) ทางภูมศาสตร แตโชคดีทบริเวณประเทศไทยมีคาความ ิ ี่ เบี่ยงเบน = 0 ดังนั้นจึงถือวา ทิศเหนือแมเหล็กเปนทิศเหนือจริงได Copyright ©2004 The LESA Project โครงสรางของโลก 9/6
  • 10. การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก เปลือกโลกมิไดเปนแผนเดียวตอเนื่องติดกันดังเชนเปลือกไข หากแตเหมือนเปลือกไขแตกราว มี แผนหลายแผนเรียงชิดติดกันเรียกวา “เพลต” (Plate) ซึ่งมีอยูประมาณ 20 เพลต เพลตที่มีขนาดใหญ ไดแก เพลตแปซิฟก เพลตอเมริกาเหนือ เพลตอเมริกาใต เพลตยูเรเซีย เพลตแอฟริกา เพลตอินโด-ออสเตรเลีย และเพลตแอนตารกติก เปนตน เพลตแปซิฟกเปนเพลตที่ใหญที่สุดและไมมีเปลือกทวีป กินอาณาเขตหนึ่ง ในสามของพื้นผิวโลก เพลตทุกเพลตเคลื่อนตัวเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปรางอยูตลอดเวลา (ดูภาพที่ 1) ภาพที่ 1 การเคลื่อนตัวของเพลต กระบวนการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก เพลตประกอบดวยเปลือกทวีปและเปลือกมหาสมุทรวางตัวอยูบนแมนเทิลชั้นบนสุด ซึ่งเปนของแข็ง ในชั้นลิโทสเฟยร ลอยอยูบนหินหนืดรอนในชั้นแอสทีโนสเฟยรอีกทีหนึ่ง หินหนืด (Magma) เปนวัสดุ เนื้อออนเคลื่อนที่หมุนเวียนดวยการพาความรอนภายในโลก คลายการเคลื่อนตัวของน้ําเดือดในกาตมน้ํา การเคลื่ อ นตั ว ของวั ส ดุ ใ นชั้ น แอสที โ นสเฟ ย ร ทํ า ให เ กิ ด การเคลื่ อ นตั ว เพลต (ดู ภ าพที่ 2) เราเรี ย ก กระบวนการเชนนี้วา “ธรณีแปรสัณฐาน” หรือ “เพลตเทคโทนิคส” (Plate Tectonics) ภาพที่ 2 กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน Copyright ©2004 The LESA Project โครงสรางของโลก 10/6
  • 11. • การพาความรอนจากภายในของโลกทําใหวัสดุในชั้นแอสทีโนสเฟยร (Convection cell) ลอยตัวดัน พื้นมหาสมุทรขึ้นมากลายเปน “สันกลางมหาสมุทร” (Mid-ocean ridge) หินหนืดรอนหรือแมกมา ซึ่งโผลขึ้นมาผลักพื้นมหาสมุทรใหเคลื่อนที่ขยายตัวออกทางขาง • เนื่องจากเปลือกมหาสมุทรมีความหนาแนนมากกวาเปลือกทวีป ดังนั้นเมื่อเปลือกมหาสมุทรชน กับเปลือกทวีป เปลือกมหาสมุทรจะมุดตัวต่ําลงกลายเปน “เหวมหาสมุทร” (Trench) และหลอม ละลายในแมนเทิลอีกครังหนึ่ง ้ • มวลหินหนืดที่เกิดจากการรีไซเคิลของเปลือกมหาสมุทรทีจมตัวลง เรียกวา “พลูตอน” (Pluton) มี ่ ความหนาแนนนอยกวาเปลือกทวีป จึงลอยตัวแทรกขึ้นมาเปนแนวภูเขาไฟ เชน เทือกเขาแอนดีส ทางฝงตะวันตกของทวีปอเมริกาใต ภาพที่ 3 รอยตอของเพลต รอยตอของขอบเพลต (Plate boundaries) • เพลตแยกจากกัน (Divergent) เมื่อแมกมาในชั้นแอสทีโนสเฟยรดันตัวขึ้น ทําใหเพลตจะขยายตัว ออกจากกัน แนวเพลตแยกจากกันสวนมากเกิดขึ้นในบริเวณสันกลางมหาสมุทร (ภาพที่ 3) • เพลตชนกัน (Convergent) เมื่อเพลตเคลื่อนที่เขาชนกัน เพลตที่มีความหนาแนนสูงกวาจะมุดตัว ลงและหลอมละลายในแมนเทิล สวนเพลตที่มีความหนาแนนนอยกวาจะถูกเกยสูงขึ้นกลายเปน เทือกเขา เชน เทือกเขาหิมาลัย เกิดจากการชนกันของเพลตอินเดียและเพลตเอเชีย เทือกเขา แอพพาเลเชียน เกิดจากการชนกันของเพลตอเมริกาเหนือกับเพลตแอฟริกา • รอยเลื่อน (Transform fault) เปนรอยเลื่อนขนาดใหญ มักเกิดขึ้นในบริเวณเทือกเขากลาง มหาสมุทร แตบางครั้งก็เกิดขึ้นบริเวณชายฝง เชน รอยเลื่อนแอนเดรียส ที่ทําใหเกิดแผนดินไหวใน รัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา เกิดจากการเคลื่อนที่สวนกันของเพลตอเมริกาเหนือและ เพลตแปซิฟก วัฏจักรวิลสัน หินบนเปลือกโลกสวนใหญมีอายุนอยไมกี่รอยลานป เมื่อเทียบกับโลกซึ่งมีอายุประมาณ 4,000 ลานป และเปลือกโลกก็มีการเคลื่อนที่อยูตลอดเวลา นักธรณีวิทยาชาวแคนาดาชื่อ ทูโซ วิลสัน ไดตั้งสมมติฐานไววา เพลตขนาดใหญถูกทําลายและสรางขี้นใหมในลักษณะรีไซเคิลทุกๆ 500 ลานป เนื่องจากโลกของเรามีเสน รอบวงยาวประมาณ 40,000 กิโลเมตร จึงคํานวณไดวา เพลตเคลื่อนที่ดวยความเร็วปละ 4 เซนติเมตร ดังนั้นเพลตสองเพลตซึ่งแยกตัวออกจากกันในซีกโลกหนึ่ง จะเคลื่อนที่ไปชนกันในซีกโลกตรงขามโดยใช เวลาประมาณ 500 ลานป ดูรายละเอียดในภาพที่ 4 Copyright ©2004 The LESA Project โครงสรางของโลก 11/6
  • 12. ภาพที่ 4 วัฏจักรวิลสัน • ภาพที่ 4 ก. เพลตเกิดขึ้นใหมจากการโผลขึ้นของแมกมาในจุดรอนใตมหาสมุทร แมกมาดันเปลือก ทวีปทั้งสองแยกจากกัน และเคลื่อนที่ไปชนเปลือกมหาสมุทรในซีกโลกฝงตรงขามซึ่งมีอุณหภูมิ ต่ํากวาและจมตัวลง การชนกันทําใหมหาสมุทรทางดานตรงขามมีขนาดเล็กลง • ภาพที่ 4 ข. เปลือกทวีปชนกันทําใหเกิดทวีปขนาดยักษในซีกโลกหนึ่ง และอีกซีกโลกหนึ่งกลายเปน มหาสมุทรขนาดยักษเชนกัน • ภาพที่ 4 ค. เมื่อเวลาผานไปเปลือกโลกเกิดการแยกตัวเนื่องจากจุดรอนขางใต ทําใหเกิดเปลือก มหาสมุทรอันใหม ดันเปลือกทวีปใหแยกตัวจากกัน และเคลื่อนที่ไปชนกับเปลือกมหาสมุทรในซีก ตรงขามที่เย็นกวา ทําใหมหาสมุทรทางดานตรงขามมีขนาดเล็กลง และในที่สดเปลือกทวีปทั้งสอง ุ จะชนกัน เปนอันครบกระบวนการของวัฏจักรวิลสัน ภาพที่ 5 โลกเมื่อ 200 ลานปกอน ทวีปในอดีต เมื่อมองดูแผนที่โลก หากเราตัดสวนที่เปนพื้นมหาสมุทรออก จะพบวาสวนโคงของขอบแตละทวีป นั้น โคงรับกันราวกับนํามาเลื่อนตอกันไดเสมือนเกมสตอแผนภาพ (Jigsaw หรือ puzzle) นักธรณีวิทยา พบวา ตามบริเวณแนวรอยตอของเพลตตางๆ มักเปนที่ตั้งของเทือกเขาสูงและภูเขาไฟ ทั้งบนทวีปและใต มหาสมุทร การศึกษาการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกดวยทฤษฎีเพลตเทคโทนิคส ประกอบกับรองรอยทาง Copyright ©2004 The LESA Project โครงสรางของโลก 12/6
  • 13. ธรณีวิทยาในอดีตพบวา เมื่อ 200 ลานปกอน ทุกทวีปอยูชิดติดกันเปนแผนดินขนาดใหญเรียกวา “แพนเจีย” (Pangaea) โดยมีดินแดนทางตอนเหนือชื่อ “ลอเรเซีย” (Lawresia) และดินแดนทางใตชื่อ “กอนดวานา” (Gonwana) ซึ่งแบงแยกดวยทะเลเททิส ดังที่แสดงในภาพที่ 5 ภาพที่ 6 สภาพภูมิอากาศในอดีต สีเขียวคือปาเขตรอน สีขาวคือธารน้ําแข็ง ภาพที่ 6 แสดงใหเห็นวาเมื่อ 200 ลานปกอน ทางตอนใตของทวีปอเมริกาใต แอฟริกา อินเดีย ออสเตรเลีย เคยอยูชิดติดกับทวีปแอนตารกติกในบริเวณขั้วใต ซึ่งเปนเขตหนาวเย็น โดยมีหลักฐานเปน รองรอยของธารน้ําแข็งในอดีต ในขณะที่ตอนใตของทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป และเอเชีย มีหลักฐานบงชี้วา เคยเปนเขตรอนแถบศูนยสูตรมากอน เนื่องจากอุดมสมบูรณดวยถานหินและน้ํามัน ซึ่งเกิดจากการทับถม ของพืชในอดีต ประกอบกับหลักฐานทางฟอสซิลในภาพที่ 7 แสดงใหเห็นวา เมื่อครั้งกอนแผนดินเหลานี้เคย อยูชิดติดกัน พืชและสัตวบางชนิดจึงแพรขยายพันธุบนดินแดนเหลานี้ในอดีต ภาพที่ 7 การแพรพันธุของสัตวในอดีต Copyright ©2004 The LESA Project โครงสรางของโลก 13/6