SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจาทางแบบประยุกต์
      Smart Transport Management System. (Bus)




                            พัฒนาโดย

          นายชยานันท์ โสมนัสแสง รหัส 5202240039




             อาจารย์ที่ปรึ กษา : อาจารย์ ตะวัน ทองพุก

       กรรมการผูประเมิน : อาจารย์ ดร.พีรพัฒน์ ตรังรัฐพิทย์
                ้
                          อาจารย์ ณัฐวุฒิ บุญโรจน์ วงค์




เอกสารโครงร่ างนีเ้ ป็ นส่ วนหนึงของรายวิชาคพ.499 โครงงานคอมพิวเตอร์
                                ่
                            ประจาปี การศึกษา 2554
                        สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
                    คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจาทางแบบประยุกต์
      Smart Transport Management System. (Bus)




                            พัฒนาโดย

          นายชยานันท์ โสมนัสแสง รหัส 5202240039




             อาจารย์ที่ปรึ กษา : อาจารย์ ตะวัน ทองพุก

       กรรมการผูประเมิน : อาจารย์ ดร.พีรพัฒน์ ตรังรัฐพิทย์
                ้
                          อาจารย์ ณัฐวุฒิ บุญโรจน์ วงค์




เอกสารโครงร่ างนีเ้ ป็ นส่ วนหนึงของรายวิชาคพ.499 โครงงานคอมพิวเตอร์
                                ่
                            ประจาปี การศึกษา 2554
                        สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
                    คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                 ก

                                                         สารบัญ

                                                                                 หน้า
          สารบัญ                                                                  ก

          บทที่ 1 บทนา
                   1.1 หลักการและเหตุผล                                            1
                   1.2 ปํ ญหาและแนวทางการแก้ไข                                     1
                   1.3 วัถตุประสงค์ของโครงงาน                                      2
                   1.4 ขอบเขตของโครงงาน                                            2
                   1.5 กลุ่มผู ้ใช้โปรแกรม                                         2
                   1.6 ประโยชน์ ทคาดว่าจะได้รบ
                                     ี่      ั                                     2
                   1.7 แผนการดําเนิ นงานตลอดโครงงาน                                3

          บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
                   2.1 องค์ความรูประกอบโครงงาน
                                    ้                                              4
                   2.2 งานวิจัยทีเ่ กียวข้องหรือคล้ายคลึงกับโครงการทีท ํา
                                      ่                              ่             7
                   2.3 เทคนิ คและเทคโนโลยีทใช้   ี่                                12

          บทที่ 3 รายละเอียดโปรแกรมทีจะพัฒนา
                                           ่
                   3.1 เครื่องมือทีใช้ในการพัฒนา
                                   ่                                               18
                   3.2 Input / Output Specification                                19
                   3.3 Functional Specification                                    19
                   3.4 การออกแบบ
                              - หลักการทํางานของระบบ                               20
                              - Web structure                                      21
                              - Webpage layout                                     22
                              - Context diagram                                    23
                              - Data flow diagram                                  24
                              - Tables                                             27




ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                     1




                                                                                                        บทที่ 1
                                                                                                        บทนา


หลักการและเหตุผล
            ปัจจุบ ันมีการนําเทคโนโลยีตางๆ มากมายมาประยุกต์ใช้งานในกระบวนการทํางานต่างๆ ทีจําเป็ น ต้องใช้บุคลากร
                                         ่                                                  ่
มนุ ษย์เ พื่อเป็ นการลดต้นทุนทางด้านแรงงานโดยมีการประยุกต์นําเอาระบบการทํางานที่ถูกควบคุม ด้วย กลไกเครื่ องจั กร
หรือระบบคอมพิวเตอร์สงการเข้ามาแทนที่ เพื่อช่วยในเรื่องของประสิทธิภาพการทํางานทีดียิ่งขึ้น และยังช่วยประหยัดเวลา
                           ั่                                                   ่
ในการทํางานและเป็ นการทํางานทีสามารถควบคุมได้อีกทังยังเป็ นการส่งเสริมทางด้านเทคโนโลยี อีกทางหนึ่ งและมี ส่ วน
                                   ่                 ้
ช่วยแก้ปัญหาในส่วนของการทํางานทียุ่งยากและซับซ้อนเนื่ องจากศักยภาพการทํางานที่แ ตกต่างกัน ไปของแต่ละบุคคล
                                       ่
จึ งอาจก่อให้เ กิดปัญหาและความผิดพลาดของการทํางานในระบบได้

ปัญหาและแนวทางการแก้ไข
             ซึ่งจากปัญหาดด้านการทํางานดังกล่าวในปัจจุบ ันนั้นจึ งได้คิดที่จ ะมี การนํ า ระบบ M2M (Machine-to-Machine)
เข้ามาใช้เพื่อเป็ นการแก้ไขปัญหาและขั้นตอนในการทํางาน เพื่อความสะดวกและรวดเร็ ว อี กทั้ง ยัง ได้ความแม่ น ยํา ของ
ข้อมูลในระบบ ลดความผิดพลาดจากการทํางาน จึ งได้มีการพัฒ นาระบบจั ดการขึ้ นมาเพื่ อเป็ นตัวกลางคอยจั ดการและ
ควบคุมระบบการขนส่งของรถโดยสารประจําทาง โดยการประยุกต์ WLAN โดยเป็ นการต่อยอดองค์ความรู ้เ ดิ ม เพื่ อรองรับ
เทคโนโลยี M2M และสามารถนํามาประยุกต์ใช้งานได้อย่างง่ายแล้วยังประหยัดต้นทุนในการผลิต ลดต้น ทุน ในการใช้ง าน
เพื่อให้องค์กรร้านค้าและหน่ วยงานทัวไปสามารถนําไปใช้งานและนําไปประยุกต์ให้เ กิดประโยชน์ มากยิ่งขึ้น แล้วนอกจาก
                                      ่
นี้ ยังจะเป็ นการพัฒนาระบบทีสนับสนุ นเทคโนโลยีในแบบ M2M (Machine-to-Machine) เพื่อเป็ น การประยุ กต์ใ ช้ใ ห้ เ กิด
                               ่
ประโยชน์ เพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนาระบบทีจะลดความต้องการอาศัยบุคลากรคนในการทํางานของระบบในอนาคตอี ก
                                                ่
ต่อไป




ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                                    คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                   2

วัตถุ ประสงค์ ของโครงงาน
      1. เพื่อพัฒนาระบบทีใช้กับรถโดยสารประจําทางทีสามารถบอกตําแหน่ ง, ตรวจสอบคน, สิ่งของและสามารถจัดการ
                            ่                          ่
         ข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ ได้
      2. เพื่อเป็ นการพัฒนาระบบทีจะนําไปใช้ประโยชน์ ในธุรกิจขนส่งรถโดยสารประจําทาง
                                    ่
      3. เพื่อใช้เป็ นระบบสํารองในกรณีทระบบหลัก (GPS) ไม่สามารถทํางานได้เ นื่ องจากภูมิอากาศหรือข้อจํากัดทางด้าน
                                         ี่
         สถานที่ และลดค่าใช้จ่ ายในการส่งข้อมูล GPS ผ่านระบบมือถือได้
      4. เพื่อเป็ นการประยุกต์นําเอาเทคโนโลยีไร้สายทีมีอยู่มาประยุกต์ใช้ให้เ กิดประโยชน์ เฉพาะทางตามความเหมาะสม
                                                     ่
      5. เพื่อเป็ นการพัฒนาต่อยอดในส่วนของเฟิ ร์มแวร์อุปกรณ์ส่งสัญญาณ (Wireless Access Point) ทีเ่ ป็ นโอเพ่นซอร์ส
      6. เพื่อนําเทคโนโลยีมาพัฒนาใช้เพื่อลดข้อผิดพลาดทีเ่ กิดจากคน และช่วยประหยัดเวลาแก่การบริหารรถโดยสาร
         ประจําทาง

ขอบเขตของโครงงาน
   1. เพื่อพัฒนา Embedded Software ขึ้นมาเพื่อควบคุมการทํางานของอุปกรณ์ Wireless Access point ประเภท
       DD-WRT ซึ่งเฟิ ร์มแวร์เ ป็ นระบบลีนุกซ์ เพื่อให้อุปกรณ์ส่งสัญญาณทัง 2 ตัวสามารถทีจะติดต่อ เพื่อรับและ
                                                                            ้           ่
       ส่งข้อมูลซึ่งกันและกันได้
   2. ฝั่ง Wireless Server : เพื่อทําการรับและอ่านค่าจากการระบุต ัวตนของลูกข่ายพร้อมทังรับส่งข้อมูล
                                                                                      ้
   3. ฝั่ง Wireless client : อ่านและรับค่าจาก อุปกรณ์ฝั่งเซิฟเวอร์ พร้อมทังส่งข้อมูล
                                                                          ้
   4. รัศมีของการรับสัญญาณจากอุปกรณ์ส่งสัญญาณ 100 เมตร
   5. มีระบบเงื่อนไขในการใช้งานและระบบรักษาความปลอดภัยจากการใช้งาน
   6. สามารถใช้บอกตําแหน่ ง ตรวจสอบผู ้โดยสาร และตรวจสอบสินค้าได้ผานระบบออนไลน์
                                                                              ่
   7. สามารถเชือมต่อการทํางานของระบบผ่าน Web Server ทีเ่ ป็ นตัวจัดการด้านระบบสมาชิก
                 ่

กลุ่มผู้ใช้ โปรแกรม
     1. ผู ้ดูแลระบบ
     2. พนักงานทีท ํางานกับระบบ
                      ่
     3. บุคคลทีเ่ ป็ นสมาชิกระบบและบุคคลทีเ่ กียวข้องกับผู ้โดยสารหรื อสินค้า
                                               ่

ประโยชน์ที่คาดว่ าจะได้ รับ
   1. การลดค่าใช้จ่ ายในการใช้งานระบบเก่า
   2. ประยุกต์ใช้งานระบบเครือข่ายไร้สายให้เ กิดประโยชน์ มากขึ้น
   3. ลดกระบวนการทํางานทีจําเป็ นต้องใช้คน
                                ่
   4. เพื่อเพิ่มความสะดวกในการทํางานของกระบวนการระบบขนส่งรถโดยสารประจําทาง
   5. ผู ้ใช้งานสามารถติดตามและจัดการข้อมูลของการขนส่งผ่านเครือข่ายไร้สาย
   6. บุคคลทัวไปสามารถนํามาประยุกต์ใช้ได้กบองค์กรและร้านค้าทัวไป
                  ่                            ั                ่
   7. เพื่อเกิดประโยชน์ แก่ผู ้ทีสนใจศึกษาการทํางานของระบบ
                                  ่
   8. บุคคลทีสนใจสามารถนําเฟิ ร์มแวร์ทได้พฒนาจากโครงงานนําไปพัฒนาต่อยอดให้เ กิดประโยชน์ เ พิ่มขึ้น
                ่                         ี่ ั


ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                                  คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                       3

แผนการดาเนินงานตลอดโครงงาน




                                    รูปที่ 1.1 แสดงแผนการดําเนิ นงานตลอดโครงงาน

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                      คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                       4




                                                                                    บทที่ 2
                                                                         การทบทวนวรรณกรรม


องค์ ความรู้ ประกอบโครงงาน
Embedded Linux
              อุปกรณ์อิเ ล็กทรอนิ กส์ทนําระบบปฏิบ ัติการ Linux ฝั่งเข้าไปช่วยในการควบคุมการทํางาน สําหรับการใช้ง านของ
                                      ี่
ระบบจะสามารถทําให้อุปกรณ์เ ปรียบเสมือนเป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ธรรมดาทีสามารถใช้งานได้เ ครื่องหนึ่ ง และยัง ช่วยให้
                                                                                ่
อุปกรณ์ทถูกติดตังโปรแกรมสามารถประยุกต์ทางาน ทําให้ลดความซับซ้อนของการทํางานในหลายๆ ด้าน เช่น
           ี่       ้                            ํ
                  1. ทําให้ใช้ network มี TCP/IP stack ง่ายขึ้น
                  2. มีระบบ Multi thread ให้ใช้งาน
                  3. มี ไฟล์ File system
              สําหรับการสร้าง Embedded Linux ผู พ ัฒ นาต้องรู ้จั กพื้ น ฐานการเขี ย นโปรแกรมเพื่ อใช้ติดต่อ กับอุ ปกรณ์
                                                     ้
อิเ ล็กทรอนิ กส์และยังต้องสามารถทีจะเขียนโปรแกรม Linux driver เมื่อสามารถทีจะพัฒนาในส่ วนของโปรแกรมทั้ง สอง
                                           ่                                       ่
ส่วนนี้ แล้ว จึ งจะสามารถทีจะติดตังโปรแกรม Embedded Linux เพื่อควบคุมการทํางานของอุปกรณ์อิเ ล็กทรอนิ กส์ ตางๆ ได้
                               ่         ้                                                                      ่




                            รูปที่ 2.1 แสดงการประยุกต์ใช้งาน Embedded Linux ในด้านต่างๆ

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                                      คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                          5

         ปัจจุบ ันมีการประยุกต์ใช้อุปกรณ์ ที่เ ป็ น Embedded Linux ที่มี อยู่ ใ กล้ตวเรากัน มากขึ้ น คือการนํ า เอาอุ ปกรณ์
                                                                                    ั
Wireless Router มาประยุกต์เ พื่อติดตังและใช้งานโปรแกรม Linux สําหรับข้อดี ข องประยุ กต์ใ ช้อุปกรณ์ Wireless Router
                                       ้
คือสามารถช่วยประหยัดค่าใช้จ่ ายและยังสามารถทีจะเชือมต่อได้ก ับพอร์ต Internet และสามารถประยุ กต์ใ ช้ง านสัญ ญาณ
                                                    ่ ่
Wi-Fi ได้อีกด้วยจึ งเป็ นอุปกรณ์อิเ ล็กทรอนิ กส์อีกประเภทหนึ่ งทีสามารถนําเอามาประยุกต์ใช้งานได้อย่างเหมาะสม
                                                                 ่

Linksys WRT54G
           อุปกรณ์ทจะนํามาใช้ในการติดตัง Embedded Linux ในโครงงานนี้ คืออุปกรณ์ Wireless Access Point Router ของ
                     ี่                ้
Linksys รุ่น WRT54G ซึ่งจะประกอบไปด้วยพอร์ ต WAN 10/100Mbps จํ านวน 1 พอร์ ต สําหรับเชื่อมต่อเข้ากับระบบ
อินเทอร์เ น็ ต พอร์ ต LAN 10/100Mbps 4 พอร์ ต ในแบบสวิตซ์ที่รองรับการทํางานแบบ Auto NWay Negotiation, Auto
MDI-MDI-X ทุกพอร์ต สําหรับเชือมต่ออุปกรณ์เ ครือข่ายโดยใช้สายนําสัญญาณแบบ UTP ได้อย่างหลากหลาย
                                ่




                   รูปที่ 2.2 แสดงรูปร่างลักษณะและส่วนใช้งานต่างๆ ของอุปกรณ์ Linksys WRT54G

          Linksys WRT54G Wireless-G Broadband Router เป็ นอุปกรณ์ในแบบ All-in One ซึ่งออกแบบ มาให้ ครอบคลุ ม
ความต้องการอันหลาก หลาย ทัง การแชร์ การใช้ง านอิ น เทอร์ เ น็ ตความเร็ วสู ง เป็ นสวิตซ์ระดับ Fast Ethernet สําหรับ
                               ้
เชือมต่ออุปกรณ์ตางๆในระบบเครื อข่ าย และเป็ น Access Point ให้ กบระบบเครื อไร้ส ายมาตรฐาน IEEE 802.11g ซึ่ง
   ่              ่                                                  ั
สนับสนุ นอัตราความเร็วสูงสุด 54Mbps นอกจากนั้นยังมีฟังก์ช ันการ ทํางานทีรองรับความต้องการได้อย่างมากมาย
                                                                            ่
          โดยคุณลักษณะทางกายภาพอันโดดเด่นของ Linksys WRT54G ประกอบไปด้วยพอร์ ต WAN จํ านวน 1 พอร์ ต
สําหรับเชื่อมต่อเข้ากับระบบ อิ น เทอร์ เ น็ ต LAN 10/100Mbps 4 พอร์ ต แบบสวิตซ์ที่ รองรับการทํางาน Auto NWay
Negotiation, Auto MDI-MDI-X ทุกพอร์ต สําหรับเชือม ต่ออุปกรณ์ เครื อข่ ายโดยใช้ส ายนํ าสัญ ญาณแบบ UTP ได้อย่ าง
                                                     ่
หลากหลาย และมีเ สา รับส่งสัญญาณจํานวน 2 เสา ซึ่งสามารถถอดเปลี่ย นได้
           สําหรับการทํางานเป็ น Access Point ทีรองรับระบบไร้สาย IEEE 802.11b, IEEE 802.11g ซึ่งสนับสนุ น การรักษา
                                                 ่
ความปลอดภัย ด้วยการเข้า รหัส สัญ ญาณในแบบ Wi-Fi Proteced Access (WPA), WEP-256-bit, Wireless MAC Filtering
ในการกําหนดการใช้งานของเครื่องไคลเอนต์ ไร้ส าย นอกจากนั้ นก็ย ัง สนั บสนุ นฟี เจอร์ การทํา งานทั้ง DMZ, Statefull
Packet Inspection (SPI) Firewall, Internet Policy จึ งช่วยให้มนใจในการ ใช้งานอินเทอร์เ น็ ตความเร็วได้อย่างมันใจ
                                                              ั่                                             ่


ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                                         คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                6

          Linksys WRT54G สามารถทีจะกําหนดค่าการทํางานได้อย่างง่ายดายผ่าน โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ ซ่ ง มี เมนู ที่
                                    ่                                                                ึ
จัดแบ่งออกเป็ นหมวดหมู่อย่างชัดเจน จึ งสนับสนุ นการใช้งานทังระบบใช้สาย Fast Ethernet และระบบไร้ส าย 802.11g ได้
                                                           ้
อย่างคุมค่าและมีความยืดหยุ่นสูง
       ้




                         รูปที่ 2.3 แสดงข้อมูลคุณลักษณะเฉพาะของอุปกรณ์ Linksys WRT54G




ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                               คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                     7

งานวิจัยที่เกียวข้ อ งหรื อคล้ายคลึงกับโครงการที่ทา
              ่
    1. ชื่ อ                    : การ Upgrade Firmware DD-WRT v23 SP2 Linksys WRT54GL
         เว็บไซต์               : http://www.sys2u.com/xpert/viewtopic.php?f=3&t=62
         รายละเอียด

                 บทความเกียวกับการอัพเกรดเฟิ ร์มแวร์ บนอุ ปกรณ์ Linksys WRT54GL เพื่ อที่จ ะเป็ นการเพิ่ ม ตวาม
                             ่
          สามารถและฟั งก์ชนการใช้งานทีหลากหลายให้ก ับอุปกรณ์เ พื่อเป็ นการเตรียมพร้อมสําหรับการพัฒ นาโปรแกรม
                          ั่           ่
          Embedded Linux เพื่อประยุกต์ควบคุมการทํางานตามวัถตุประสงค์ของโครงงาน โดยมีต ัวอย่างบทความดังนี้

                   บนตัวอุปกรณ์ทเี่ ป็ นประเภท Router, Wireless Router ทีใช้งานในระบบเครือข่าย ผู ้ใช้งานสามารถเพิ่ ม
                                                                          ่
          ประสิทธิภาพของการใช้งานได้โดยการอัพเกรดเฟิ ร์มแวร์ บนตัวอุปกรณ์พวกนี้ ได้เ ลย แต่จ ะต้องตรวจสอบรุ่ น ที่
          ใช้งานและเวอร์ชนของอุปกรณ์ให้ถูกต้องก่อนการอัพเกรด ไม่เ ช่นนั้นอุปกรณ์อาจพังได้เ ลยเหมือนกัน
                          ั่
          การเพิ่มประสิทธิภาพเป็ นสิ่งทีดีในระบบในเรื่องของการใช้งาน เช่น ลดความร้อนของอุปกรณ์ลงจากการใช้งาน
                                         ่
          นานๆ ใช้งานได้เ สถียรมากกว่าเฟิ ร์มแวร์ต ัวเดิม มีฟังก์ชนใช้งานเพิ่มมากขึ้น
                                                                  ั่

                    ผู ้ใช้สามารถหา File ของ Firmware ได้ทวไปบนอิ น เตอร์ เ น็ ตเช่น SYS2U , Linksys , DD-WRT ฯ
                                                          ั่
          ตามแต่รุ่นของอุปกรณ์ทใช้งานอยู่
                                  ี่




                    รูปที่ 2.4 แสดงรูปภาพประกอบการอัพเกรดเฟิ ร์มแวร์ อุปกรณ์ Linksys WRT54G


ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                                    คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                         8

     2. ชื่ อ                 : การตังค่าทีจําเป็ นบนอุปกรณ์ Linksys WRT54GL
                                       ้ ่
        เว็บไซต์              : http://www.sys2u.com/xpert/viewtopic.php?f=3&t=472
        รายละเอียด

                    บทความเกียวกับการตั้ง ค่า พื้ น ฐานบนอุ ปกรณ์ Linksys WRT54GL ซึ่ง มี ส่ วนจํ าเป็ นในการใช้ง าน
                                ่
          อุปกรณ์เ บืองต้น ซึ่งทางผู ้พัฒนาระบบจะต้องมีความรูความเข้าใจในการตังค่าและการใช้งานพื้น ฐานของอุ ปกรณ์
                     ้                                       ้                ้
          เสียก่อนจึ งจะสามารถนํามาพัฒนาประยุกต์ ฟั งก์ชนใช้งานใหม่ๆ เพิ่มเติมได้ เพื่อเป็ นพื้นฐานทางด้านกระบวนการ
                                                          ั่
          วางแผนการใช้งาน Embedded Linux เพื่อติดตังในอุปกรณ์น้ ี ต่อไป ซึ่งจะมีเ นื้ อหาคราวๆ ดังนี้
                                                        ้

                    อุปกรณ์ Linksys WRT54GL เป็ นอุ ปกรณ์ ประเภท Wireless Router ที่เ รี ย กได่ ว่า มี ฟั งก์ชน ที่รองรับ
                                                                                                                 ั่
          Firmware ใหม่ๆ ได้ดีในระดับทีเ่ รียกได้วาคลอบคลุมฟั งก์ชนทีผู ้ใช้งานต้องการและราคาที่ค่อนข้า งคุม สุ ด ๆ ซึ่ง
                                                  ่                ั่ ่                                        ้
          เมื่อเวลาซือมา Firmware ทีได้มาจะเป็ นของ Linksys ซึ่งมีฟังก์ชนไม่มากเท่าไรนัก ทําให้ผู ้ใช้งาน นําอุปกรณ์ ตวนี้
                     ้              ่                                    ั่                                           ั
          มา Upgrade Firmware

                    ซึ่งภายในบทความก็จะประกอบด้วยบทนําเพื่อเพิ่มความเข้าใจให้ก ับผู ้ทีสนใจศึกษา และขั้นตอนการตั้ง
                                                                                       ่
          ค่าต่างๆ บนอุปกรณ์อย่างชัดเจน มีรูปภาพประกอบอย่างเป็ นขั้นเป็ นตอนเหมาะสําหรับผู ้ทีก ําลังเริ่มศึกษา
                                                                                              ่




                 รูปที่ 2.5 แสดงรูปภาพประกอบตัวอย่างการตัง ค่าพื้นฐานของอุปกรณ์ Linksys WRT54G
                                                         ้


ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                                        คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                     9

     3. ชื่ อ                 : การขยายสัญญาณไร้สายแบบ Client บนอุปกรณ์ Linksys WRT54GL
        เว็บไซต์              : http://www.sys2u.com/xpert/viewtopic.php?f=3&t=156
        รายละเอียด

                       บทความนี้ เป็ นบทความตัวอย่างเกียวกับความรู ้แ ละพื้ น ฐานการเชื่อมต่อ ระบบไร้ส ายของอุ ปกรณ์
                                                       ่
          Linksys WRT54GL แบบ Client ซึ่งทางผู ้พัฒนาจะได้ศึกษาข้อมูล และรูปแบบวิธีการเชือมต่อต่างๆ จากบทความ
                                                                                               ่
          นี้ เพื่อเกิดประโยชน์ แก่การวางโครงร่างและพัฒนาระบบต่อไป โดยมีเ นื้ อหาของบทความคราวๆ ดังนี้

                     Mode - Client บนตัว Linksys WRT54GL ทีถูกอัพเฟิ ร์ ม แวร์ DD-WRT v23 , v24ซึ่ ง จะมี Mode Client
                                                             ่
          นี้ ขึ้นมาใน เมนู Wireless โดยหลักการของโหมดทีวานี้ เมื่อใช้แล้ว สัญญาณไวเลสบน Linksys WRT54GL จะไม่
                                                          ่่
          ทํางานทันที แต่เ สาสัญญาณของอุปกรณ์ต ัวนี้ ทังหมด จะไปเกาะชือสัญญาณไวเลสทีถูกเซตเอาไว้ทันที ทําให้ เ วลา
                                                       ้                  ่            ่
          ใช้งานต้องออกมาที่ port lan บน wrt54gl แทน ส่วนในเรื่องของระบบเครือข่ายโหมด Client นั้น จะเป็ นอยู่ คนละ
          วง IP กับ Network หลักที่ WRT54GL ไปเกาะ

          ข้ อ ดีของ Mode Client มีความเสถียรในการเกาะสัญญาณดีกว่า Mode Repeater เพราะสัญญาณบน WRT54GL จะ
          ไปเกาะกับสัญญาณตัวหลักทังหมดเลยและออกมาเป็ น port lan
                                        ้
          ข้ อ เสี ย ของ Mode Client สัญญาณไวเลสบน WRT54GL จะไม่สามารถใช้งาน




            รูปที่ 2.6 แสดงรูปภาพประกอบการตังค่าการเชือมต่อแบบ Client ของอุปกรณ์ Linksys WRT54G
                                           ้          ่


ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                                    คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                      10

     4. ชื่ อ                 : การประยุกต์ใช้งาน Embedded Linux Computer ( Networking Setup )
        เว็บไซต์              : http://www.project4fun.com/node/20
        รายละเอียด

                       บทความเกี่ย วกับการประยุ กต์ใ ช้ง านซอต์ฟ แวร์ Embedded Linux บนอุ ปกรณ์ Linksys WRT54G
          เพื่อประยุกต์ใช้งาน เกียวกับ การ Setup Home Network เบืองต้น ซึ่ง ทางผู พ ัฒ นาก็จ ะได้ศึกษาตัวอย่ างรู ปแบบ
                                   ่                                   ้              ้
          วิธีการเชือมต่อแบบพื้นฐานนี้ มาประยุกต์ กับการวางแผนการวางโครงร่ างของระบบที่กาลัง จะพัฒ นาต่อไป
                     ่                                                                                    ํ
          มีเ นื้ อหาคราวๆ ดังนี้
                       Router WRT54GL ได้แปลงสภาพมาเป็ น Embedded Linux computer แล้ว แต่ยงขาดส่วนสําคัญส่วนนึ ง
                                                                                                      ั
          ทีต ้องเซ็ทอัพเพื่อให้สมบูรณ์แบบนั่นคือการทําให้อุปกรณ์สามารถเชือมต่อแบบไร้สายกับระบบเน็ ทเวิร์คภายใ น
             ่                                                                 ่
          บ้านในลักษณะเดียวกับการทีใช้ Laptop ต่ออินเตอร์เ น็ ทแบบไร้สายนั่นเอง ซึ่งการต่อในลักษณะแบบนี้ เรียกว่า
                                           ่
          Client Mode
                       โครงสร้างเน็ ทเวิร์คในบ้าน จากภายนอกเข้ามาก็จะเป็ น Cable ( หรือสายโทรศัพท์ในกรณีทเี่ ป็ น DSL )
          ซึ่งจะต่อผ่านโมเด็มเพื่อแปลงสัญญานทีเ่ ข้ามาไปเป็ นสัญญาน Ethernet ทีสามารถป้ อนเข้าคอมพิวเตอร์ภายใน
                                                                                    ่
          บ้านได้ แต่เ นื่ องจากมี Client PC หลายตัวดังนั้นจึ งต้องใช้ Router มาทําหน้าทีเ่ ป็ น NAT(Network Address
          Translation) และ Firewall การต่อกับ Router จะทําทังแบบใช้สาย และไร้สาย เป้ าหมายก็คอจะใช้ Embedded
                                                                  ้                                     ื
          Linux Computer ของเพื่อต่อเข้ากับระบบเน็ ทเวิร์คไร้สายทีมีอยู่แล้วในลักษณะ Client
                                                                         ่




           รูปที่ 2.7 แสดงรูปภาพประกอบการออกแบบและติดตัง ระบบ Client ของอุปกรณ์ Linksys WRT54G
                                                       ้


ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                                     คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                     11

     5. ชื่ อ                 : การประยุกต์ใช้งาน Embedded Linux Computer ( CGI )
        เว็บไซต์              : http://www.project4fun.com/node/26
        รายละเอียด

                    บทความนี้ จะอธิบายเกียวกับจุดเด่นอีกอย่างหนึ งของอุปกรณ์ Linksys WRT54G ซึ่งก็คอ CGI ซึ่งจะเป็ น
                                         ่                                                         ื
          ตัวช่วยให้ระบบสามารถทําการติดต่อกับ Web Server ภายนอกได้ซ่งจะเป็ นส่ วนช่วยในการเชื่อมต่อกับแม่ ข่ าย
                                                                         ึ
          ของระบบจากอุปกรณ์ Linksys WRT54G นี้ ซึ่งผู ้พัฒนาจะได้ศึกษาถึงรูปแบบการทํางานต่างๆ ดังนี้

                    ความสามารถเด่นอันนึ งของ WRT54G คือ มีโปรแกรม Web Server วิงอยู่ภายใน ซึ่ง ทํา ให้ เ ราสามารถ
                                                                                        ่
          เชือมต่อและควบคุมโปรแกรมทีวงบนมันด้วยเวบบราวเซอร์ โดยการใช้งานสามารถทํา ได้จ ากตั้ง แต่พี ซ ีไ ปจนถึ ง
             ่                               ่ ิ่
          มือถือ และหากทําการเซ็ทอัพบน Router หลักให้เ ชือมต่อกับอินเตอร์เ น็ ท เราก็จะสามารถควบคุม ใช้ง านได้จ ากที่
                                                             ่
          ใดก็ตามในโลกทีอินเตอร์เ น็ ทไปถึง ดังนั้นตอนนี้ จะว่าด้วยเรื่องหลักๆดังนี้
                           ่
                    1. การเชือมต่อโปรแกรมทีวงอยู่บนเครื่องผ่านWebserver
                                ่                  ่ ิ่
                    2. การใช้งานโปรแกรมผ่านอินเตอร์เ น็ ท
          การเชือมต่อโปรแกรมทีท ํางานอยู่บนเครื่องผ่าน Web server การเชือมต่อโปรแกรมกับเวบเซิฟเวอร์ท ําได้โดย
                ่                    ่                                      ่
          อาศัย Protocol ตัวนึ งทีเ่ รียกว่า CGI (Common Gateway Interface) หลักการก็คอโดยตามปกติ Application
                                                                                      ื
          Program ทัวไปจะส่งค่าทีพิมพ์ไปออก Standard Output ของระบบ (อาจจะเป็ น serial port หรือ tty) แต่ถาหาก
                      ่                 ่                                                                   ้
          โปรแกรมนั้นถูกเรียกใช้ผ่าน CGI ค่าทีถูกส่งออกไปยัง Standard Output ก็จะไปออกทีเ่ วบบราวเซอร์แทน
                                                    ่




                 รูปที่ 2.8 แสดงรูปภาพการทํางานคราวๆ ของระบบ CGI ของอุปกรณ์ Linksys WRT54G


ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                                    คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                            12

เทคนิคและเทคโนโลยีทใี่ ช้
การออกแบบฐานข้ อ มูล (Database Design)
          ระบบนี้ พัฒนาโดยใช้ระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เนื่ องจากเป็ นระบบการจัดเก็บข้อมู ลที่มี ประสิ ทธิ ภ าพ
โดยมีแนวคิดเกียวกับระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ดังนี้
                   ่
         ฐานข้ อ มูล (Database) เป็ นแหล่งในการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็ นระบบและมีประสิทธิภาพเพื่อรองรับการใช้ง านจาก
ผู ้ใช้และระบบงานต่างๆ พร้อมทังลดความยุ่งยากในการบํารุงรักษาข้อมู ล ซึ่ง ต้องอาศัย การออกแบบที่เ หมาะสมทั้ง ด้า น
                                       ้
ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ข้อมูลเหล่านี้ จะจัดเก็บให้อยู่รวมกัน โดยมี ผูบริ หารฐานข้อมู ล (Database Administrator: DBA)
                                                                        ้
เป็ นผู ้ดูแลและรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูลให้ผู ้ใช้หลายคนสามารถเข้าถึงข้อมูลทีจัดเก็บไว้ ตามหน้ าที่ที่กาหนดได้
                                                                                       ่                        ํ
ในเวลาเดียวกัน
           ฐานข้ อ มูล เชิ งสั มพันธ์ (Relational Database) หมายถึงโครงสร้างของแหล่งเก็บข้อ มู ล ซึ่ง ประกอบด้วย ข้อมู ลที่
จัดเก็บไว้ในแต่ละเอนทิต้ ี (Entity) และแต่ละเอนทิต้จะเชือมโยงด้วยความสัมพันธ์ โดยความสัม พัน ธ์ มี 3 แบบ คือ one-to-
                                                          ี ่
one, one-to-many, และ many-to-oneระบบการจัดการฐานข้อมู ลเชิง สัม พัน ธ์ (Relational Database Management System :
RDBMS) เป็ นซอฟต์แวร์ หรือโปรแกรมทีท ําหน้าทีควบคุมดูแลการสร้าง การเรียกใช้ และการจั ดเก็บข้อมู ลของฐานข้อมู ล
                                                ่       ่
เชิงสัมพันธ์

ข้ อ ดีของการใช้ ระบบฐานข้ อ มูลเชิ งสัมพันธ์ มีดังนี้
       - ลดความซํ้าซ้อนของข้อมูล (Reduced data redundancy) ข้อมูลทังหมดจะถูกจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลเดีย วกัน โดย
                                                                            ้
          ระบบฐานข้อมูลจะควบคุมการเกิดความซํ้าซ้อนของข้อมูล ซึ่งจะทําให้ประหยัดพื้นทีในการจัดเก็บข้อมูล และลด
                                                                                                ่
          การทํางานของบุคลากร
       - ควบคุมการคงสภาพของข้อมูล (Ensure data integrity) เมื่อมีการแก้ไขข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะ
          ควบคุมให้ขอมูลทีถูกแก้ไข ถูกต้องตามเกณฑ์ทก ําหนดไว้
                        ้    ่                             ี่
       - สามารถจัดการระบบความปลอดภัยของข้อมูล (Enforces data security) การป้ องกันไม่ให้ผู ้ทีไม่มีสิทธิเ ข้ามาใช้
                                                                                                       ่
          ข้อมูลในระบบ โดยผู ้ดูแลระบบจะกําหนดสิทธิการใช้งานของผู ้ใช้งานแต่ละคนตามความเหมาะสม และมีระดับ
          ในการใช้งานต่างกัน
       - ผู ้ใช้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ (Supported shared data) เนื่ องจากข้อมูลถูกจัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูลเดียวกัน ผู ้ทีมี
                                                                                                                          ่
          สิทธิในการใช้สามารถเรียกใช้ ข้อมูลได้พร้อมๆ กัน โดยไม่ต ้องสร้างฐานข้อมูลใหม่ เมื่อมีผู ้ใช้คนใดแก้ไขข้อมูล
          ผู ้ใช้คนอื่นๆจะได้รบข้อมูลทีเ่ ปลี่ยนแปลงทันที
                               ั
       - ลดความขัดแย้งของข้อมูล (Inconsistency) การลดความซํ้าซ้อนในการจัดเก็บข้อมูล เมื่อมีการแก้ไขข้อมูลจะทํา
          การแก้ไขเพียงแห่ งเดียว ดังนั้นผู ้ใช้แต่ละคนจึ งใช้ข้อมูลชุดเดียวกัน ทําให้ขอมูลมีความถูกต้องตรงกันเสมอ
                                                                                       ้
       - ทําให้เ กิดมาตรฐานของข้อมูล (Standard) การเก็บข้อมูลไว้ทีฐานข้อมูลเดียวกัน ทําให้ผู ้ดูแลระบบสามารถกําหนด
                                                                        ่
          มาตรฐานของข้อมูลได้ ทําให้การแลกเปลี่ยนข้อมูลของระบบเป็ นไปอย่างถูกต้อง
       - ข้อมูลมีความเป็ นอิสระ (Data independence) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดเก็บของฐานข้อมูล จะไม่มี
          ผลกระทบกับโปรแกรมทีใช้งานหรื อมีเ พียงเล็กน้อย
                                    ่




ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                                           คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                               13

การออกแบบฐานข้ อ มูล แบ่งเป็ น 2 ขั้นตอน คือ
    1. การออกแบบฐานข้อมูลเชิงแนวคิด (Conceptual Database Design) เป็ นการพัฒนารายละเอียดของข้อมูล ด้วยการ
       ใช้โมเดลข้อมูลเชิงตรรก (Logical Data Model) โดยมีการกําหนด Entity Relationship และแอตตริบวต์ของข้อมูล
                                                                                                         ิ
       ทีได้จากการวิเ คราะห์ ระบบ ซึ่งสามารถแสดงได้โดย ER Diagram
           ่
    2. การออกแบบฐานข้อมูลทางกายภาพ (Physical Database Design) เป็ นการพัฒนาโครงสร้างในการเก็บข้อมู ลจาก
       ข้อ 1 เพื่อให้ได้ฐานข้อมูลที่มี ประสิ ทธิ ภ าพมากที่สุ ด แต่ละระบบจั ดการฐานข้อมู ล จะมี ระบบการจั ดการ
       แฟ้ มข้อมูล ดัชนี ต ัวชี้ และการควบคุมความปลอดภัยในการใช้ข้อมูลตามความเหมาะสมของข้อมู ล สําหรับระบบ
       ทีพฒนานี้ ผู ้พัฒนาได้เ ลือกใช้ My SQL เป็ นระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ซ่งเป็ น ฐานข้อมู ลที่นิ ยมกัน มาก
             ่ ั                                                                           ึ
       เนื่ องจาก My SQL เป็ นฟรีแวร์ทางด้านฐานข้อมูลทีมีประสิทธิภาพสูง และเป็ นทางเลือกใหม่จากผลิตภัณ ฑ์ ระบบ
                                                             ่
       จัดการฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม หรือโครงสร้างภายในของ My SQL คือ การออกแบบการทํางานลักษณะของ
       ไคลเอนต์/เซิร์ฟเวอร์นั่นเอง ประกอบด้วยส่วนหลักๆ 2 ส่ วน คือ ส่ วนของผู ใ ห้ บริ การ (Server) และส่ วนของ
                                                                                        ้
       ผู ้ใช้บริการ (Client) โดยในแต่ละส่วนจะมีโปรแกรมสําหรับการทํางานตามหน้ าที่ส่ วนของผู ใ ห้ บริ การ หรื อ
                                                                                                       ้
       Server จะเป็ นส่วนทีท ําหน้าทีบริหารจัดการระบบฐานข้อมูล ในทีน้ ี หมายถึงตัว My SQL Server นั่นเอง และเป็ น
                                 ่      ่                                    ่
       ทีจัดเก็บข้อมูลทังหมด ข้อมูลทีเ่ ก็บไว้นี้ มีทงข้อมูลทีจําเป็ นสําหรับการทํางานกับระบบฐานข้อมูล และข้อมู ลที่เ กิด
              ่           ้                          ้ั        ่
       จากการทีผู ้ใช้แต่ละคนสร้างขึ้นมา ส่วนของผู ้ใช้บริการ หรือ Client ก็คอผู ้ใช้นั่นเอง โดยโปรแกรมสํา หรับใช้ง าน
                   ่                                                            ื
       ในส่วนนี้ ได้แก่ My SQL Client, Web Development Platform ต่างๆ (เช่น Java, Perl, PHP, ASP เป็ นต้น)

 My SQL
              My SQL เป็ นฐานข้อมูลแบบ open source ที่ไ ด้รับความนิ ยมในการใช้ง านสู ง สุ ดโปรแกรมหนึ่ งบนเครื่ อง
ให้บริการ มีความสามารถในการจัดการกับฐานข้อมู ลด้วยภาษา SQL (Structures Query Language) มี ประสิ ทธิ ภ าพสู ง มี
ความรวดเร็วในการทํางาน รองรับการทํางานจากผู ้ใช้หลายๆ คนและหลายๆ งานได้ในขณะเดียวกัน
              My SQL ถือเป็ นระบบจัดการฐานข้อมูล (Data Base Management System (DBMS)) ฐานข้อมู ลมี ลักษณะเป็ น
โครงสร้างของการเก็บรวบรวมข้อมูล การทีจะเพิ่มเติม เข้าถึงหรือประมวลผลข้อมูลทีเ่ ก็บในฐานข้อมูลจํ า เป็ นจะต้องอาศัย
                                          ่
ระบบจัดการฐานข้อมูล ซึ่งจะทําหน้าทีเ่ ป็ นตัวกลางในการจัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูลทังสํา หรับการใช้ง านเฉพาะ และ
                                                                                     ้
รองรับการทํางานของแอพลิเ คชันอื่นๆ ทีต ้องการใช้งานข้อมูลในฐานข้อมูล เพื่ อให้ ไ ด้รับความสะดวกในการจั ดการกับ
                                        ่
ข้อมูลจํานวนมาก My SQL ทําหน้าที่เ ป็ นทัง ตัวฐานข้อมู ลและระบบจั ดการฐานข้อมู ล สถาปั ตยกรรมของ My SQL
                                            ้
สถาปัตยกรรม หรือ โครงสร้างภายในของ My SQL ก็คอ การออกแบบการทํางานในลักษณะของClient/Server นั่ น เอง ซึ่ง
                                                    ื
ประกอบด้วยส่วนหลักๆ 2 ส่วน คือ ส่วนของผู ้ให้บริการ (Server) และ ส่วนของผู ้ใช้บริการ (Client) โดยในแต่ล่ะ ส่ วนจะมี
โปรแกรมสําหรับการทํางานตามหน้าทีของตนส่วนของผู ้ให้บริการ หรือ Server จะเป็ นส่วนทีท ําหน้าทีบริห ารจั ดการระบบ
                                      ่                                                   ่        ่
ฐานข้อมูลในทีน้ ี ก็หมายถึงตัว My SQL Server นั่นเอง และเป็ นทีจัดเก็บข้อมูลทังหมด ข้อมู ลที่เ ก็บไว้น้ ี มี ข ้อมู ลที่จํ า เป็ น
                  ่                                             ่             ้
สําหรับการทํางานกับระบบฐานข้อมูล และข้อมูลทีเ่ กิดจากการทีผู ้ใช้แต่ล่ะคนสร้างขึ้นมาส่วนของผู ้ใช้บริ การ หรื อ Client ก็
                                                              ่
คือผู ้ใช้นั่นเอง โดยโปรแกรมสํา หรับใช้ง านในส่ วนนี้ ได้แ ก่ My SQL Client, Access, Web Development Platform ต่างๆ
(เช่น Java, Perl, PHP, ASP เป็ นต้น)




ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                                              คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                              14

หลักการทางานในลักษณะ Client/ Server มีดงนี้ ั
    1. ทีฝั่งของ Server จะมีโปรแกรมหรือระบบสําหรับจัดการฐานข้อมูลทํางานรออยู่ เพื่อเตรียมหรือรอคอยการร้องขอ
              ่
        การใช้บริการจาก Client
    2. เมื่อมีการร้องขอการใช้บริการเข้ามา Server จะทําการตรวจสอบตามวิธีการของตน เช่น อาจจะมีการให้
        ผู ้ใช้บริการระบุชอและรหัสผ่าน และสําหรับ My SQL สามารถกําหนดได้วาจะอนุ ญาตหรือปฏิเ สธ Client ใดๆ
                          ื่                                                 ่
        ในระบบทีจะเข้าใช้บริการอีกด้วย ซึ่งจะได้แสดงรายละเอียดในเรื่องต่อไป
                      ่
    3. ถ้าผ่านการตรวจสอบ Server ก็จะอนุ มตการให้บริการแก่ Client ทีรองขอการใช้บริการนั้นๆ ต่อไปและถ้าในกรณี
                                              ัิ                     ่้
        ทีไม่ได้รบการอนุ มติ Server ก็จะส่งข่าวสารความผิดพลาดแจ้งกลับไปที่ Client ทีรองขอการใช้บริการนั้น
            ่       ั        ั                                                      ่้

            เครื่องคอมพิวเตอร์ทท ําหน้าทีเ่ ป็ น Client หรือ Server อาจจะอยู่บนเครื่องเดียวกัน หรื อแยกเครื่ องกัน ก็ไ ด้ ทัง นี้
                               ี่                                                                                          ้
ขึ้นอยู่ก ับลักษณะการทํางาน หรือการกําหนดของผู ้บริหารระบบ ตามปกติถ้าเป็ นการทํางานลักษณะ Web-based มี การใช้
ฐานข้อมูลขนาดไม่ใหญ่นัก ตัว My SQL Server และ Client มักจะมีอยู่บนเครื่องเดียวกัน โดยเครื่ องคอมพิ วเตอร์ ดัง กล่ าว
จะต้องมีทรัพยากรเพื่อการทํางาน เช่น เนื้ อที่ฮ าร์ ดดิ ส ก์ , RAM มากพอสมควร แต่ส ําหรับการทํางานจริ ง (Real-world
Application) ก็มกจะแยก Client และ Server ออกเป็ นคนละเครื่องกัน และสามารถรองรับงานได้ดีมากกว่า ดัง นั้ น ผู บริ ห าร
                   ั                                                                                                    ้
ระบบ หรือผู ้กําหนดนโยบายสําหรับการทํางานเครือข่าย จะต้องคํานึ งถึงเรื่องทีเ่ กียวข้องเหล่านี้ ให้ดี เพื่อที่จ ะทําให้ ร ะบบมี
                                                                                    ่
การทํางานรับการให้บริการแก่ผู ้ใช้อย่างมีประสิ ทธิภาพและข้อมูลมีความปลอดภัยมากที่สุด

ความสามารถของ My SQL
    - My SQL จัดเป็ นระบบฐานข้อมูลประเภท SQL-based ผู ้พัฒนาสามารถใช้คําสัง SQL ในการสังหรือใช้งานกับ My
                                                                                     ่                  ่
       SQL Server ได้โดยไม่ต ้องศึกษาเพิ่มเติมแต่อย่างใด ซึ่งความสามารถนี้ ถือว่าเป็ นแนวโน้มของระบบจัดการ
       ฐานข้อมูลในปัจจุบ ัน
    - สนับสนุ นการใช้งานสําหรับตัวประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หลายตัว
    - การทํางานแบบ Multi-threaded ใช้ Kernel Threads
    - สนับสนุ น API เพื่อใช้งานกับ Development Platform ต่างๆ มากมาย ไม่วาจะเป็ น C, C++,Java, Perl, PHP และ
                                                                                ่
       นอกจากนี้ ยังสามารถใช้งานร่วมกับ ODBC (Open Data Base Connectivity) ซึ่งทําให้เ ราสามารถใช้งานได้ก ัเครื่
       องมืออื่นๆ บน Windows Platform เช่น Access เป็ นต้น รวมทังสามารถนํามาประยุกต์เ พื่อใช้งานร่วมกับ ASP
                                                                      ้
       (Active Server Page) ได้อีกด้วย
    - My SQL สามารถรันได้บนระบบปฏิบ ัติการหลายตัวหลายค่าย ไม่วาจะเป็ น Linux, Solaris, Windows เป็ นต้น
                                                                         ่
    - ประเภทของข้อมูลทีสามารถใช้ใน My SQL ได้แก่ ตัวเลข (ทังแบบคิดและไม่คดเครื่องหมาย),FLOAT,
                             ่                                      ้                  ิ
       DOUBLE,CHAR, VARCHAR, TEXT, BLOB, DATE, TIME,DATETIME, TIMESTAMP, YEAR, SET และ
       ENUM
    - สนับสนุ น GROUP BY และ ORDER BY clause และ Group Functions
    - สนับสนุ น LEFT OUTER JOIN และ RIGHT OUTER JOIN
    - การกําหนดสิทธิและรหัสผ่าน ให้มีความปลอดภัย ความยืดหยุ่นสูง สามารถกําหนดเครื่องและ/หรือผู ้ใช้ ในการ
       เข้าถึงข้อมูลได้ มีการเข้ารหัสข้อมูล (Encryption) สําหรับรหัสผ่านของผู ้ใช้ด้วย ทําให้ผู ้ใช้มีความมันใจว่าข้อมูล
                                                                                                            ่
       จะมีความปลอดภัย ไม่มีใครสามารถทําการเข้าถึงข้อมูลได้หากไม่ได้รบอนุ ญาต
                                                                           ั


ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                                             คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                             15

     -    สามารถทําดัชนี (Index) ได้สูงสุดถึง 32 ดัชนี ในแต่ละตารางข้อมูล โดยทีในแต่ละดัชนี สามารถใช้ฟิ ลด์ได้ตงแต่ 1-
                                                                                      ่                             ้ั
          16 ฟิ ลด์
     -    สามารถรองรับข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งปัจจุบ ัน My SQL สามารถรองรับจํานวนข้อมูลได้ในระดับ60,000
          ตารางข้อมูล และ 5 ล้านระเบียน
     -    สนับสนุ นรูปแบบภาษา (Character Set) หลายชนิ ด เช่น ISO-8859-1 (Latin1), big5 และอื่นๆ ทําให้สามารถทํา
          การจัดเรียงข้อมูล หรือกําหนดการแสดงข้อผิดพลาด (Error Messages) ได้ตามรูปแบบภาษาทีต ้องการ    ่
     -    เครื่องทีท ําหน้าทีเ่ ป็ นผู ้ใช้บริการ สามารถเชือมเข้าสู่ My SQL Server โดยการใช้ TCP/IP Sockets, Unix Sockets
                    ่                                      ่
          (Unixes) หรือ Named Pipes (NT)

VB Visual Basic
           Visual Basic (VB) เป็ นโปรแกรมสําหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทก ําลังเป็ นที่ นิ ยมใช้อยู่ ใ นปั จ จุ บน โปรแกรม
                                                                                       ี่                     ั
Visual Basic เป็ นโปรแกรมทีได้เ ปลี่ยนรูปแบบการเขียนโปรแกรมใหม่ โดยมีชดคําสังมาสนับสนุ นการทํา งาน มี เ ครื่ องมื อ
                                ่                                                         ุ ่
ต่าง ๆ ทีเ่ รียกกันว่า คอนโทรล(Controls) ไว้สําหรับช่วยในการออกแบบโปรแกรม โดยเน้ น การออกแบบหน้ าจอแบบ
กราฟฟิ ก หรือทีเ่ รียกว่า Graphic User Interface (GUI) ทําให้การจัดรูปแบบหน้าจอเป็ นไปได้ง่าย และในการเขียนโปรแกรม
นั้นจะเขียนแบบ Event - Driven Programming คือ โปรแกรมจะทํางานก็ต่อเมื่ อเหตุการณ์ (Event) เกิดขึ้ น ตัวอย่ างของ
เหตุการณ์ได้แก่ ผู ้ใช้เลื่อนเมาส์ ผู ้ใช้กดปุ่ มบนคีย์บอร์ด ผู ้ใช้กดปุ่ มเมาส์ เป็ นต้น

ความหมายและความเป็ นมาของ Visual Basic
              ภาษา Visual Basic เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ที่พ ัฒ นาโดยบริ ษ ัทไมโครซอฟท์ซ่ ง เป็ น ึ
บริษททีสร้างระบบปฏิบ ัติการ Windows ทีใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบ ันโดยตัวภาษามีรากฐานมาจากภาษาเบสิ ก (Basic)
       ั ่                                   ่
ซึ่งย่อมาจาก Beginner’s All Purpose Symbolic(ชุดคําสังหรือ ภาษาคอมพิวเตอร์ สําหรับผู ้เริ่มต้น) ภาษาเบสิ กมี จุ ดเด่ น คือ ผู ้
                                                          ่
ทีไม่มีพื้นฐานเกียวกับการเขียนโปรแกรมเลย ก็สามารถเรียนรูและนําไปใช้งาน ได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ ว เมื่ อเทีย บกับ
   ่                ่                                              ้
ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาซี (C) ภาษาปาสคาล (Pascal) หรือแอสแชมบลี (Assembler)
          ไมโครซอฟท์ได้พฒนาโปรแกรมภาษา Basic นั บตั้ง แต่ภ าษา MBasic (Microsoft Basic),BasicA (Basic Advanced)
                           ั
และ Quick Basic ซึ่งได้ตดตังมาพร้อมกับระบบปฏิบ ัติการ MS Dos ในทีสุดใช้ชือว่า QBasic แต่ละเวอร์ ชน ที่ออกมามี การ
                             ิ ้                                             ่    ่                        ั
เพิมคําสังต่างๆ เข้าไปโดยตลอด ซึ่งโปรแกรมเหล่านี้ ล้วนแต่ทา งานใน Text Mode คือเป็ นตัวอักษรล้วนๆ จนกระทัง มี
     ่      ่                                                        ํ                                                    ่
ระบบปฏิบ ัติการ Windowsทางไมโครซอฟท์กได้ปรับปรุงภาษา Basic ออกมาใหม่เ พื่ อสนั บสนุ นการทํางานบน Windows
                                                 ็
ทําให้ Visual Basic ถือกําเนิ ดตังแต่บ ัดนั้น Visual Basic 1.0 เป็ นเวอร์ช ันแรกออกมาเมื่อปี 1991 โดยในช่วงแรกนั้ นยัง ไม่ มี
                                  ้
ความแตก ต่างจาก QBasic มากนัก แต่จะเน้นเครื่องมือทีใช้ในการเขียนโปรแกรมบนวินโดว์ ซึ่งได้รบความนิ ยมเป็ นอย่ างดี
                                                            ่                                        ั
ไมโครซอฟท์จึงได้พฒนา Visual Basic ให้ดีข้ ึนเรื่อยๆ จนในปัจจุบ ันเวอร์ช ันล่ า สุ ดคือ Visual Basic 6.0 ออกมาในช่วงปี
                       ั
1998 ได้เ พิ่มความสามารถ ในการเขียนโปรแกรมติดต่อกับเครือข่ ายอิ น เตอร์ เ น็ ต ด้านการเชื่อมต่อกับระบบฐานข้อมู ล
รวมทังเครื่องมือและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) ให้สมบูรณ์และสะดวกยิ่งขึ้น
        ้




ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                                            คพ.499 ปี การศึกษา 2551
ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์                                                                           16

ข้ อ ดีของการเขียนโปรแกรมด้ วย Visual Basic
         ข้อดีของการเขียนโปรแกรมด้วย Visual Basic คือง่ายต่อการเรียนรู ้ และเหมาะสํา หรับผู เ้ ริ่ ม ต้น ทั้ง ในเรื่ องของ
ไวยากรณ์ของภาษา และเครื่ องมื อในการใช้ง านภาษา Basic เป็ นภาษาที่มี คนเรี ย นรู ้ และมี การใช้ง านมากที่สุ ดใน
ประวัติศาสตร์ ของคอมพิวเตอร์ ภาษา Visual Basic มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง ทังในด้านการปรับปรุง ประสิ ทธิ ภ าพของตัว
                                                                                 ้
ภาษาและความเร็วในการประมวลผล และในด้านความสามารถใหม่ๆ เช่น ความสามารถการติดต่อกับระบบฐานข้อมู ล การ
เชือมต่อกับเครือข่ายอินเตอร์เ น็ ต เป็ นต้น ผู ้พัฒนาสําคัญของ Visual Basic คือคือบริ ษ ัทไมโครซอฟท์ เราจึ งมั่น ใจได้ว่า
    ่
Visual Basic จะยังมีการพัฒนา ปรับปรุง และคงอยู่ได้อีกนาน

ลักษณะการเขียนโปรแกรมของ Visual Basic
การเขียนโปรแกรมของ Visual Basic จะอยู่ในลักษณะของ Event–Driven คือเป็ นการเขียนโปรแกรมที่ตอบสนองต่อการ
ควบคุมเหตุการณ์ตางๆ มากมาย ทีเ่ กิดจากการกระทําของผู ้ใช้เป็ นการเขียนโปรแกรมที่ผูกไว้กบ เหตุการณ์ ที่ส ามารถเกิด
                   ่                                                                   ั
ขึ้นกับออบเจ็ คหรือ ส่วนประกอบต่างๆทีอยู่บนหน้าจอ ความต้องการของระบบในการติดตั้ง โปรแกรม Visual Basic 6.0ใน
                                      ่
การใช้งาน Visual Basic 6.0 จะมีการต้องการระบบดังต่อไปนี้
     - ระบบปฏิบ ัติการ Windows 95/98s หรือ Windows NT หรือ Windows XP
     - เครื่องคอมพิวเตอร์ทมี CPU 486 DX/66 MHz เป็ นอย่างตําขึ้นไปแต่ถาจะให้ท ํางานได้ดีควรจะเป็ น CPU รุ่น
                            ี่                                    ่        ้
         Pentium ขึ้นไป
     - ไดร์ฟ CD-ROM
     - จอภาพและการ์ดจอ ทีสนับสนุ นการทํางานของ Windows
                               ่

PHP
        PHP เป็ นภาษาจําพวก scripting language คําสังต่างๆจะเก็บอยู่ในไฟล์ทเี่ รีย กว่า สคริ ปต์ (script) และเวลาใช้ง าน
                                                        ่
ต้องอาศัยตัวแปลชุดคําสัง ตัวอย่างของภาษาสคริ ป เช่น JavaScript, Perl เป็ นต้น ลักษณะของ PHP ที่แ ตกต่างจากภาษา
                        ่
สคริปต์แบบอื่นๆ คือ PHP ได้รบการพัฒนาและออกแบบมา เพื่ อใช้ง านในการสร้างเอกสารแบบ HTML โดยสามารถ
                                ั
สอดแทรกหรือแก้ไขเนื้ อหาได้โดยอัตโนมัติ ดังนั้นจึ งกล่าวว่า PHP เป็ นภาษาทีเ่ รีย กว่า server-side หรื อ HTML-embedded
scripting language เป็ นเครื่องมือทีสาคัญชนิ ดหนึ่ งที่ช่วยให้ เ ราสามารถสร้างเอกสารแบบ Dynamic HTML ได้อย่ างมี
                                    ่ ํ
ประสิทธิภาพ
         (PHP Hypertext Preprocessor) PHP แต่เ ดิมคือ Personal Home Page แต่ในปัจจุบ ัน PHP หมายถึ ง PHP Hypertext
Preprocessor ซึ่งเป็ นภาษาสคริปต์แบบหนึ่ งทีเ่ รียกว่า เซิร์ฟเวอร์ไซด์สคริปต์ ทีประมวลผลฝั่งเซิร์ฟเวอร์ แล้วส่ ง ผลลัพ ธ์ ไ ป
                                                                                ่
ฝั่งไคลเอ็นต์ผานเว็บบราวเซอร์ ปัจจุบ ันได้รบความนิ ยมเป็ นอย่างมาก
               ่                             ั

จุดเด่ นของ PHP
     - Free เนื่ องจากสิ่งทีต ้องการสูงสุดของโปรแกรมเมอร์ในการพัฒนาเว็บ คือ ไม่เ สียค่าลิขสิทธิ์PHP ได้ตอบสนองต่อ
                             ่
          โปรแกรมเมอร์เ ป็ นอย่างดี เพราะเครื่องมือทีใช้เพื่อพัฒนาทุกอย่างสามารถหาได้โดยไม่เ สียค่าลิขสิทธิ์ ไม่วาจะ
                                                     ่                                                           ่
          เป็ นระบบปฏิบ ัติการ (Linux), โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ (Apache, OmniHTTPd), โปรแกรมระบบฐานข้อมูล (My
          SQL) และ Server SiteScript อย่าง PHP



ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ                                                          คพ.499 ปี การศึกษา 2551
P5202240039
P5202240039
P5202240039
P5202240039
P5202240039
P5202240039
P5202240039
P5202240039
P5202240039
P5202240039
P5202240039

More Related Content

What's hot

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6พงศธร ภักดี
 
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1พงศธร ภักดี
 
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1Ict Krutao
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1Surapong Jakang
 
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2Oh Aeey
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2พงศธร ภักดี
 
เอกสารประกอบการเรียน ภาษา HTML เบื้องต้น
เอกสารประกอบการเรียน  ภาษา HTML เบื้องต้นเอกสารประกอบการเรียน  ภาษา HTML เบื้องต้น
เอกสารประกอบการเรียน ภาษา HTML เบื้องต้นKon Bannok
 
Course Outline M6
Course Outline M6Course Outline M6
Course Outline M6Khemjira_P
 
แผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ictแผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้IctRachanok Songsang
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2wifi5822
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6krunuy5
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุงนายอุุเทน มาดา
 

What's hot (18)

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
 
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
 
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1
 
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
เอกสารประกอบการเรียน ภาษา HTML เบื้องต้น
เอกสารประกอบการเรียน  ภาษา HTML เบื้องต้นเอกสารประกอบการเรียน  ภาษา HTML เบื้องต้น
เอกสารประกอบการเรียน ภาษา HTML เบื้องต้น
 
Curriculum2551&2560
Curriculum2551&2560Curriculum2551&2560
Curriculum2551&2560
 
Course Outline M6
Course Outline M6Course Outline M6
Course Outline M6
 
โครงสร้างรายวิชาคอม ม.1
โครงสร้างรายวิชาคอม ม.1โครงสร้างรายวิชาคอม ม.1
โครงสร้างรายวิชาคอม ม.1
 
แผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ictแผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ict
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
แผนการสอนAccess 57
แผนการสอนAccess 57แผนการสอนAccess 57
แผนการสอนAccess 57
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุง
 

Similar to P5202240039

รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Knowledge Sharing for Travelling in Thailand, ICT, Sripatum University
Knowledge Sharing for Travelling in Thailand, ICT, Sripatum UniversityKnowledge Sharing for Travelling in Thailand, ICT, Sripatum University
Knowledge Sharing for Travelling in Thailand, ICT, Sripatum Universitybennypong
 
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.Prachoom Rangkasikorn
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
Budget estimation for commuting by bts and mrt, information technology, sripa...
Budget estimation for commuting by bts and mrt, information technology, sripa...Budget estimation for commuting by bts and mrt, information technology, sripa...
Budget estimation for commuting by bts and mrt, information technology, sripa...bennypong
 
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 

Similar to P5202240039 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Project ii v.2.0
Project ii v.2.0Project ii v.2.0
Project ii v.2.0
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
Knowledge Sharing for Travelling in Thailand, ICT, Sripatum University
Knowledge Sharing for Travelling in Thailand, ICT, Sripatum UniversityKnowledge Sharing for Travelling in Thailand, ICT, Sripatum University
Knowledge Sharing for Travelling in Thailand, ICT, Sripatum University
 
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Budget estimation for commuting by bts and mrt, information technology, sripa...
Budget estimation for commuting by bts and mrt, information technology, sripa...Budget estimation for commuting by bts and mrt, information technology, sripa...
Budget estimation for commuting by bts and mrt, information technology, sripa...
 
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
รายงาน Project2
รายงาน Project2รายงาน Project2
รายงาน Project2
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 

P5202240039

  • 1. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจาทางแบบประยุกต์ Smart Transport Management System. (Bus) พัฒนาโดย นายชยานันท์ โสมนัสแสง รหัส 5202240039 อาจารย์ที่ปรึ กษา : อาจารย์ ตะวัน ทองพุก กรรมการผูประเมิน : อาจารย์ ดร.พีรพัฒน์ ตรังรัฐพิทย์ ้ อาจารย์ ณัฐวุฒิ บุญโรจน์ วงค์ เอกสารโครงร่ างนีเ้ ป็ นส่ วนหนึงของรายวิชาคพ.499 โครงงานคอมพิวเตอร์ ่ ประจาปี การศึกษา 2554 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ
  • 2. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจาทางแบบประยุกต์ Smart Transport Management System. (Bus) พัฒนาโดย นายชยานันท์ โสมนัสแสง รหัส 5202240039 อาจารย์ที่ปรึ กษา : อาจารย์ ตะวัน ทองพุก กรรมการผูประเมิน : อาจารย์ ดร.พีรพัฒน์ ตรังรัฐพิทย์ ้ อาจารย์ ณัฐวุฒิ บุญโรจน์ วงค์ เอกสารโครงร่ างนีเ้ ป็ นส่ วนหนึงของรายวิชาคพ.499 โครงงานคอมพิวเตอร์ ่ ประจาปี การศึกษา 2554 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ
  • 3. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ ก สารบัญ หน้า สารบัญ ก บทที่ 1 บทนา 1.1 หลักการและเหตุผล 1 1.2 ปํ ญหาและแนวทางการแก้ไข 1 1.3 วัถตุประสงค์ของโครงงาน 2 1.4 ขอบเขตของโครงงาน 2 1.5 กลุ่มผู ้ใช้โปรแกรม 2 1.6 ประโยชน์ ทคาดว่าจะได้รบ ี่ ั 2 1.7 แผนการดําเนิ นงานตลอดโครงงาน 3 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม 2.1 องค์ความรูประกอบโครงงาน ้ 4 2.2 งานวิจัยทีเ่ กียวข้องหรือคล้ายคลึงกับโครงการทีท ํา ่ ่ 7 2.3 เทคนิ คและเทคโนโลยีทใช้ ี่ 12 บทที่ 3 รายละเอียดโปรแกรมทีจะพัฒนา ่ 3.1 เครื่องมือทีใช้ในการพัฒนา ่ 18 3.2 Input / Output Specification 19 3.3 Functional Specification 19 3.4 การออกแบบ - หลักการทํางานของระบบ 20 - Web structure 21 - Webpage layout 22 - Context diagram 23 - Data flow diagram 24 - Tables 27 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 4. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 1 บทที่ 1 บทนา หลักการและเหตุผล ปัจจุบ ันมีการนําเทคโนโลยีตางๆ มากมายมาประยุกต์ใช้งานในกระบวนการทํางานต่างๆ ทีจําเป็ น ต้องใช้บุคลากร ่ ่ มนุ ษย์เ พื่อเป็ นการลดต้นทุนทางด้านแรงงานโดยมีการประยุกต์นําเอาระบบการทํางานที่ถูกควบคุม ด้วย กลไกเครื่ องจั กร หรือระบบคอมพิวเตอร์สงการเข้ามาแทนที่ เพื่อช่วยในเรื่องของประสิทธิภาพการทํางานทีดียิ่งขึ้น และยังช่วยประหยัดเวลา ั่ ่ ในการทํางานและเป็ นการทํางานทีสามารถควบคุมได้อีกทังยังเป็ นการส่งเสริมทางด้านเทคโนโลยี อีกทางหนึ่ งและมี ส่ วน ่ ้ ช่วยแก้ปัญหาในส่วนของการทํางานทียุ่งยากและซับซ้อนเนื่ องจากศักยภาพการทํางานที่แ ตกต่างกัน ไปของแต่ละบุคคล ่ จึ งอาจก่อให้เ กิดปัญหาและความผิดพลาดของการทํางานในระบบได้ ปัญหาและแนวทางการแก้ไข ซึ่งจากปัญหาดด้านการทํางานดังกล่าวในปัจจุบ ันนั้นจึ งได้คิดที่จ ะมี การนํ า ระบบ M2M (Machine-to-Machine) เข้ามาใช้เพื่อเป็ นการแก้ไขปัญหาและขั้นตอนในการทํางาน เพื่อความสะดวกและรวดเร็ ว อี กทั้ง ยัง ได้ความแม่ น ยํา ของ ข้อมูลในระบบ ลดความผิดพลาดจากการทํางาน จึ งได้มีการพัฒ นาระบบจั ดการขึ้ นมาเพื่ อเป็ นตัวกลางคอยจั ดการและ ควบคุมระบบการขนส่งของรถโดยสารประจําทาง โดยการประยุกต์ WLAN โดยเป็ นการต่อยอดองค์ความรู ้เ ดิ ม เพื่ อรองรับ เทคโนโลยี M2M และสามารถนํามาประยุกต์ใช้งานได้อย่างง่ายแล้วยังประหยัดต้นทุนในการผลิต ลดต้น ทุน ในการใช้ง าน เพื่อให้องค์กรร้านค้าและหน่ วยงานทัวไปสามารถนําไปใช้งานและนําไปประยุกต์ให้เ กิดประโยชน์ มากยิ่งขึ้น แล้วนอกจาก ่ นี้ ยังจะเป็ นการพัฒนาระบบทีสนับสนุ นเทคโนโลยีในแบบ M2M (Machine-to-Machine) เพื่อเป็ น การประยุ กต์ใ ช้ใ ห้ เ กิด ่ ประโยชน์ เพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนาระบบทีจะลดความต้องการอาศัยบุคลากรคนในการทํางานของระบบในอนาคตอี ก ่ ต่อไป ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 5. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 2 วัตถุ ประสงค์ ของโครงงาน 1. เพื่อพัฒนาระบบทีใช้กับรถโดยสารประจําทางทีสามารถบอกตําแหน่ ง, ตรวจสอบคน, สิ่งของและสามารถจัดการ ่ ่ ข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ ได้ 2. เพื่อเป็ นการพัฒนาระบบทีจะนําไปใช้ประโยชน์ ในธุรกิจขนส่งรถโดยสารประจําทาง ่ 3. เพื่อใช้เป็ นระบบสํารองในกรณีทระบบหลัก (GPS) ไม่สามารถทํางานได้เ นื่ องจากภูมิอากาศหรือข้อจํากัดทางด้าน ี่ สถานที่ และลดค่าใช้จ่ ายในการส่งข้อมูล GPS ผ่านระบบมือถือได้ 4. เพื่อเป็ นการประยุกต์นําเอาเทคโนโลยีไร้สายทีมีอยู่มาประยุกต์ใช้ให้เ กิดประโยชน์ เฉพาะทางตามความเหมาะสม ่ 5. เพื่อเป็ นการพัฒนาต่อยอดในส่วนของเฟิ ร์มแวร์อุปกรณ์ส่งสัญญาณ (Wireless Access Point) ทีเ่ ป็ นโอเพ่นซอร์ส 6. เพื่อนําเทคโนโลยีมาพัฒนาใช้เพื่อลดข้อผิดพลาดทีเ่ กิดจากคน และช่วยประหยัดเวลาแก่การบริหารรถโดยสาร ประจําทาง ขอบเขตของโครงงาน 1. เพื่อพัฒนา Embedded Software ขึ้นมาเพื่อควบคุมการทํางานของอุปกรณ์ Wireless Access point ประเภท DD-WRT ซึ่งเฟิ ร์มแวร์เ ป็ นระบบลีนุกซ์ เพื่อให้อุปกรณ์ส่งสัญญาณทัง 2 ตัวสามารถทีจะติดต่อ เพื่อรับและ ้ ่ ส่งข้อมูลซึ่งกันและกันได้ 2. ฝั่ง Wireless Server : เพื่อทําการรับและอ่านค่าจากการระบุต ัวตนของลูกข่ายพร้อมทังรับส่งข้อมูล ้ 3. ฝั่ง Wireless client : อ่านและรับค่าจาก อุปกรณ์ฝั่งเซิฟเวอร์ พร้อมทังส่งข้อมูล ้ 4. รัศมีของการรับสัญญาณจากอุปกรณ์ส่งสัญญาณ 100 เมตร 5. มีระบบเงื่อนไขในการใช้งานและระบบรักษาความปลอดภัยจากการใช้งาน 6. สามารถใช้บอกตําแหน่ ง ตรวจสอบผู ้โดยสาร และตรวจสอบสินค้าได้ผานระบบออนไลน์ ่ 7. สามารถเชือมต่อการทํางานของระบบผ่าน Web Server ทีเ่ ป็ นตัวจัดการด้านระบบสมาชิก ่ กลุ่มผู้ใช้ โปรแกรม 1. ผู ้ดูแลระบบ 2. พนักงานทีท ํางานกับระบบ ่ 3. บุคคลทีเ่ ป็ นสมาชิกระบบและบุคคลทีเ่ กียวข้องกับผู ้โดยสารหรื อสินค้า ่ ประโยชน์ที่คาดว่ าจะได้ รับ 1. การลดค่าใช้จ่ ายในการใช้งานระบบเก่า 2. ประยุกต์ใช้งานระบบเครือข่ายไร้สายให้เ กิดประโยชน์ มากขึ้น 3. ลดกระบวนการทํางานทีจําเป็ นต้องใช้คน ่ 4. เพื่อเพิ่มความสะดวกในการทํางานของกระบวนการระบบขนส่งรถโดยสารประจําทาง 5. ผู ้ใช้งานสามารถติดตามและจัดการข้อมูลของการขนส่งผ่านเครือข่ายไร้สาย 6. บุคคลทัวไปสามารถนํามาประยุกต์ใช้ได้กบองค์กรและร้านค้าทัวไป ่ ั ่ 7. เพื่อเกิดประโยชน์ แก่ผู ้ทีสนใจศึกษาการทํางานของระบบ ่ 8. บุคคลทีสนใจสามารถนําเฟิ ร์มแวร์ทได้พฒนาจากโครงงานนําไปพัฒนาต่อยอดให้เ กิดประโยชน์ เ พิ่มขึ้น ่ ี่ ั ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 6. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 3 แผนการดาเนินงานตลอดโครงงาน รูปที่ 1.1 แสดงแผนการดําเนิ นงานตลอดโครงงาน ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 7. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 4 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม องค์ ความรู้ ประกอบโครงงาน Embedded Linux อุปกรณ์อิเ ล็กทรอนิ กส์ทนําระบบปฏิบ ัติการ Linux ฝั่งเข้าไปช่วยในการควบคุมการทํางาน สําหรับการใช้ง านของ ี่ ระบบจะสามารถทําให้อุปกรณ์เ ปรียบเสมือนเป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ธรรมดาทีสามารถใช้งานได้เ ครื่องหนึ่ ง และยัง ช่วยให้ ่ อุปกรณ์ทถูกติดตังโปรแกรมสามารถประยุกต์ทางาน ทําให้ลดความซับซ้อนของการทํางานในหลายๆ ด้าน เช่น ี่ ้ ํ 1. ทําให้ใช้ network มี TCP/IP stack ง่ายขึ้น 2. มีระบบ Multi thread ให้ใช้งาน 3. มี ไฟล์ File system สําหรับการสร้าง Embedded Linux ผู พ ัฒ นาต้องรู ้จั กพื้ น ฐานการเขี ย นโปรแกรมเพื่ อใช้ติดต่อ กับอุ ปกรณ์ ้ อิเ ล็กทรอนิ กส์และยังต้องสามารถทีจะเขียนโปรแกรม Linux driver เมื่อสามารถทีจะพัฒนาในส่ วนของโปรแกรมทั้ง สอง ่ ่ ส่วนนี้ แล้ว จึ งจะสามารถทีจะติดตังโปรแกรม Embedded Linux เพื่อควบคุมการทํางานของอุปกรณ์อิเ ล็กทรอนิ กส์ ตางๆ ได้ ่ ้ ่ รูปที่ 2.1 แสดงการประยุกต์ใช้งาน Embedded Linux ในด้านต่างๆ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 8. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 5 ปัจจุบ ันมีการประยุกต์ใช้อุปกรณ์ ที่เ ป็ น Embedded Linux ที่มี อยู่ ใ กล้ตวเรากัน มากขึ้ น คือการนํ า เอาอุ ปกรณ์ ั Wireless Router มาประยุกต์เ พื่อติดตังและใช้งานโปรแกรม Linux สําหรับข้อดี ข องประยุ กต์ใ ช้อุปกรณ์ Wireless Router ้ คือสามารถช่วยประหยัดค่าใช้จ่ ายและยังสามารถทีจะเชือมต่อได้ก ับพอร์ต Internet และสามารถประยุ กต์ใ ช้ง านสัญ ญาณ ่ ่ Wi-Fi ได้อีกด้วยจึ งเป็ นอุปกรณ์อิเ ล็กทรอนิ กส์อีกประเภทหนึ่ งทีสามารถนําเอามาประยุกต์ใช้งานได้อย่างเหมาะสม ่ Linksys WRT54G อุปกรณ์ทจะนํามาใช้ในการติดตัง Embedded Linux ในโครงงานนี้ คืออุปกรณ์ Wireless Access Point Router ของ ี่ ้ Linksys รุ่น WRT54G ซึ่งจะประกอบไปด้วยพอร์ ต WAN 10/100Mbps จํ านวน 1 พอร์ ต สําหรับเชื่อมต่อเข้ากับระบบ อินเทอร์เ น็ ต พอร์ ต LAN 10/100Mbps 4 พอร์ ต ในแบบสวิตซ์ที่รองรับการทํางานแบบ Auto NWay Negotiation, Auto MDI-MDI-X ทุกพอร์ต สําหรับเชือมต่ออุปกรณ์เ ครือข่ายโดยใช้สายนําสัญญาณแบบ UTP ได้อย่างหลากหลาย ่ รูปที่ 2.2 แสดงรูปร่างลักษณะและส่วนใช้งานต่างๆ ของอุปกรณ์ Linksys WRT54G Linksys WRT54G Wireless-G Broadband Router เป็ นอุปกรณ์ในแบบ All-in One ซึ่งออกแบบ มาให้ ครอบคลุ ม ความต้องการอันหลาก หลาย ทัง การแชร์ การใช้ง านอิ น เทอร์ เ น็ ตความเร็ วสู ง เป็ นสวิตซ์ระดับ Fast Ethernet สําหรับ ้ เชือมต่ออุปกรณ์ตางๆในระบบเครื อข่ าย และเป็ น Access Point ให้ กบระบบเครื อไร้ส ายมาตรฐาน IEEE 802.11g ซึ่ง ่ ่ ั สนับสนุ นอัตราความเร็วสูงสุด 54Mbps นอกจากนั้นยังมีฟังก์ช ันการ ทํางานทีรองรับความต้องการได้อย่างมากมาย ่ โดยคุณลักษณะทางกายภาพอันโดดเด่นของ Linksys WRT54G ประกอบไปด้วยพอร์ ต WAN จํ านวน 1 พอร์ ต สําหรับเชื่อมต่อเข้ากับระบบ อิ น เทอร์ เ น็ ต LAN 10/100Mbps 4 พอร์ ต แบบสวิตซ์ที่ รองรับการทํางาน Auto NWay Negotiation, Auto MDI-MDI-X ทุกพอร์ต สําหรับเชือม ต่ออุปกรณ์ เครื อข่ ายโดยใช้ส ายนํ าสัญ ญาณแบบ UTP ได้อย่ าง ่ หลากหลาย และมีเ สา รับส่งสัญญาณจํานวน 2 เสา ซึ่งสามารถถอดเปลี่ย นได้ สําหรับการทํางานเป็ น Access Point ทีรองรับระบบไร้สาย IEEE 802.11b, IEEE 802.11g ซึ่งสนับสนุ น การรักษา ่ ความปลอดภัย ด้วยการเข้า รหัส สัญ ญาณในแบบ Wi-Fi Proteced Access (WPA), WEP-256-bit, Wireless MAC Filtering ในการกําหนดการใช้งานของเครื่องไคลเอนต์ ไร้ส าย นอกจากนั้ นก็ย ัง สนั บสนุ นฟี เจอร์ การทํา งานทั้ง DMZ, Statefull Packet Inspection (SPI) Firewall, Internet Policy จึ งช่วยให้มนใจในการ ใช้งานอินเทอร์เ น็ ตความเร็วได้อย่างมันใจ ั่ ่ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 9. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 6 Linksys WRT54G สามารถทีจะกําหนดค่าการทํางานได้อย่างง่ายดายผ่าน โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ ซ่ ง มี เมนู ที่ ่ ึ จัดแบ่งออกเป็ นหมวดหมู่อย่างชัดเจน จึ งสนับสนุ นการใช้งานทังระบบใช้สาย Fast Ethernet และระบบไร้ส าย 802.11g ได้ ้ อย่างคุมค่าและมีความยืดหยุ่นสูง ้ รูปที่ 2.3 แสดงข้อมูลคุณลักษณะเฉพาะของอุปกรณ์ Linksys WRT54G ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 10. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 7 งานวิจัยที่เกียวข้ อ งหรื อคล้ายคลึงกับโครงการที่ทา ่ 1. ชื่ อ : การ Upgrade Firmware DD-WRT v23 SP2 Linksys WRT54GL เว็บไซต์ : http://www.sys2u.com/xpert/viewtopic.php?f=3&t=62 รายละเอียด บทความเกียวกับการอัพเกรดเฟิ ร์มแวร์ บนอุ ปกรณ์ Linksys WRT54GL เพื่ อที่จ ะเป็ นการเพิ่ ม ตวาม ่ สามารถและฟั งก์ชนการใช้งานทีหลากหลายให้ก ับอุปกรณ์เ พื่อเป็ นการเตรียมพร้อมสําหรับการพัฒ นาโปรแกรม ั่ ่ Embedded Linux เพื่อประยุกต์ควบคุมการทํางานตามวัถตุประสงค์ของโครงงาน โดยมีต ัวอย่างบทความดังนี้ บนตัวอุปกรณ์ทเี่ ป็ นประเภท Router, Wireless Router ทีใช้งานในระบบเครือข่าย ผู ้ใช้งานสามารถเพิ่ ม ่ ประสิทธิภาพของการใช้งานได้โดยการอัพเกรดเฟิ ร์มแวร์ บนตัวอุปกรณ์พวกนี้ ได้เ ลย แต่จ ะต้องตรวจสอบรุ่ น ที่ ใช้งานและเวอร์ชนของอุปกรณ์ให้ถูกต้องก่อนการอัพเกรด ไม่เ ช่นนั้นอุปกรณ์อาจพังได้เ ลยเหมือนกัน ั่ การเพิ่มประสิทธิภาพเป็ นสิ่งทีดีในระบบในเรื่องของการใช้งาน เช่น ลดความร้อนของอุปกรณ์ลงจากการใช้งาน ่ นานๆ ใช้งานได้เ สถียรมากกว่าเฟิ ร์มแวร์ต ัวเดิม มีฟังก์ชนใช้งานเพิ่มมากขึ้น ั่ ผู ้ใช้สามารถหา File ของ Firmware ได้ทวไปบนอิ น เตอร์ เ น็ ตเช่น SYS2U , Linksys , DD-WRT ฯ ั่ ตามแต่รุ่นของอุปกรณ์ทใช้งานอยู่ ี่ รูปที่ 2.4 แสดงรูปภาพประกอบการอัพเกรดเฟิ ร์มแวร์ อุปกรณ์ Linksys WRT54G ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 11. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 8 2. ชื่ อ : การตังค่าทีจําเป็ นบนอุปกรณ์ Linksys WRT54GL ้ ่ เว็บไซต์ : http://www.sys2u.com/xpert/viewtopic.php?f=3&t=472 รายละเอียด บทความเกียวกับการตั้ง ค่า พื้ น ฐานบนอุ ปกรณ์ Linksys WRT54GL ซึ่ง มี ส่ วนจํ าเป็ นในการใช้ง าน ่ อุปกรณ์เ บืองต้น ซึ่งทางผู ้พัฒนาระบบจะต้องมีความรูความเข้าใจในการตังค่าและการใช้งานพื้น ฐานของอุ ปกรณ์ ้ ้ ้ เสียก่อนจึ งจะสามารถนํามาพัฒนาประยุกต์ ฟั งก์ชนใช้งานใหม่ๆ เพิ่มเติมได้ เพื่อเป็ นพื้นฐานทางด้านกระบวนการ ั่ วางแผนการใช้งาน Embedded Linux เพื่อติดตังในอุปกรณ์น้ ี ต่อไป ซึ่งจะมีเ นื้ อหาคราวๆ ดังนี้ ้ อุปกรณ์ Linksys WRT54GL เป็ นอุ ปกรณ์ ประเภท Wireless Router ที่เ รี ย กได่ ว่า มี ฟั งก์ชน ที่รองรับ ั่ Firmware ใหม่ๆ ได้ดีในระดับทีเ่ รียกได้วาคลอบคลุมฟั งก์ชนทีผู ้ใช้งานต้องการและราคาที่ค่อนข้า งคุม สุ ด ๆ ซึ่ง ่ ั่ ่ ้ เมื่อเวลาซือมา Firmware ทีได้มาจะเป็ นของ Linksys ซึ่งมีฟังก์ชนไม่มากเท่าไรนัก ทําให้ผู ้ใช้งาน นําอุปกรณ์ ตวนี้ ้ ่ ั่ ั มา Upgrade Firmware ซึ่งภายในบทความก็จะประกอบด้วยบทนําเพื่อเพิ่มความเข้าใจให้ก ับผู ้ทีสนใจศึกษา และขั้นตอนการตั้ง ่ ค่าต่างๆ บนอุปกรณ์อย่างชัดเจน มีรูปภาพประกอบอย่างเป็ นขั้นเป็ นตอนเหมาะสําหรับผู ้ทีก ําลังเริ่มศึกษา ่ รูปที่ 2.5 แสดงรูปภาพประกอบตัวอย่างการตัง ค่าพื้นฐานของอุปกรณ์ Linksys WRT54G ้ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 12. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 9 3. ชื่ อ : การขยายสัญญาณไร้สายแบบ Client บนอุปกรณ์ Linksys WRT54GL เว็บไซต์ : http://www.sys2u.com/xpert/viewtopic.php?f=3&t=156 รายละเอียด บทความนี้ เป็ นบทความตัวอย่างเกียวกับความรู ้แ ละพื้ น ฐานการเชื่อมต่อ ระบบไร้ส ายของอุ ปกรณ์ ่ Linksys WRT54GL แบบ Client ซึ่งทางผู ้พัฒนาจะได้ศึกษาข้อมูล และรูปแบบวิธีการเชือมต่อต่างๆ จากบทความ ่ นี้ เพื่อเกิดประโยชน์ แก่การวางโครงร่างและพัฒนาระบบต่อไป โดยมีเ นื้ อหาของบทความคราวๆ ดังนี้ Mode - Client บนตัว Linksys WRT54GL ทีถูกอัพเฟิ ร์ ม แวร์ DD-WRT v23 , v24ซึ่ ง จะมี Mode Client ่ นี้ ขึ้นมาใน เมนู Wireless โดยหลักการของโหมดทีวานี้ เมื่อใช้แล้ว สัญญาณไวเลสบน Linksys WRT54GL จะไม่ ่่ ทํางานทันที แต่เ สาสัญญาณของอุปกรณ์ต ัวนี้ ทังหมด จะไปเกาะชือสัญญาณไวเลสทีถูกเซตเอาไว้ทันที ทําให้ เ วลา ้ ่ ่ ใช้งานต้องออกมาที่ port lan บน wrt54gl แทน ส่วนในเรื่องของระบบเครือข่ายโหมด Client นั้น จะเป็ นอยู่ คนละ วง IP กับ Network หลักที่ WRT54GL ไปเกาะ ข้ อ ดีของ Mode Client มีความเสถียรในการเกาะสัญญาณดีกว่า Mode Repeater เพราะสัญญาณบน WRT54GL จะ ไปเกาะกับสัญญาณตัวหลักทังหมดเลยและออกมาเป็ น port lan ้ ข้ อ เสี ย ของ Mode Client สัญญาณไวเลสบน WRT54GL จะไม่สามารถใช้งาน รูปที่ 2.6 แสดงรูปภาพประกอบการตังค่าการเชือมต่อแบบ Client ของอุปกรณ์ Linksys WRT54G ้ ่ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 13. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 10 4. ชื่ อ : การประยุกต์ใช้งาน Embedded Linux Computer ( Networking Setup ) เว็บไซต์ : http://www.project4fun.com/node/20 รายละเอียด บทความเกี่ย วกับการประยุ กต์ใ ช้ง านซอต์ฟ แวร์ Embedded Linux บนอุ ปกรณ์ Linksys WRT54G เพื่อประยุกต์ใช้งาน เกียวกับ การ Setup Home Network เบืองต้น ซึ่ง ทางผู พ ัฒ นาก็จ ะได้ศึกษาตัวอย่ างรู ปแบบ ่ ้ ้ วิธีการเชือมต่อแบบพื้นฐานนี้ มาประยุกต์ กับการวางแผนการวางโครงร่ างของระบบที่กาลัง จะพัฒ นาต่อไป ่ ํ มีเ นื้ อหาคราวๆ ดังนี้ Router WRT54GL ได้แปลงสภาพมาเป็ น Embedded Linux computer แล้ว แต่ยงขาดส่วนสําคัญส่วนนึ ง ั ทีต ้องเซ็ทอัพเพื่อให้สมบูรณ์แบบนั่นคือการทําให้อุปกรณ์สามารถเชือมต่อแบบไร้สายกับระบบเน็ ทเวิร์คภายใ น ่ ่ บ้านในลักษณะเดียวกับการทีใช้ Laptop ต่ออินเตอร์เ น็ ทแบบไร้สายนั่นเอง ซึ่งการต่อในลักษณะแบบนี้ เรียกว่า ่ Client Mode โครงสร้างเน็ ทเวิร์คในบ้าน จากภายนอกเข้ามาก็จะเป็ น Cable ( หรือสายโทรศัพท์ในกรณีทเี่ ป็ น DSL ) ซึ่งจะต่อผ่านโมเด็มเพื่อแปลงสัญญานทีเ่ ข้ามาไปเป็ นสัญญาน Ethernet ทีสามารถป้ อนเข้าคอมพิวเตอร์ภายใน ่ บ้านได้ แต่เ นื่ องจากมี Client PC หลายตัวดังนั้นจึ งต้องใช้ Router มาทําหน้าทีเ่ ป็ น NAT(Network Address Translation) และ Firewall การต่อกับ Router จะทําทังแบบใช้สาย และไร้สาย เป้ าหมายก็คอจะใช้ Embedded ้ ื Linux Computer ของเพื่อต่อเข้ากับระบบเน็ ทเวิร์คไร้สายทีมีอยู่แล้วในลักษณะ Client ่ รูปที่ 2.7 แสดงรูปภาพประกอบการออกแบบและติดตัง ระบบ Client ของอุปกรณ์ Linksys WRT54G ้ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 14. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 11 5. ชื่ อ : การประยุกต์ใช้งาน Embedded Linux Computer ( CGI ) เว็บไซต์ : http://www.project4fun.com/node/26 รายละเอียด บทความนี้ จะอธิบายเกียวกับจุดเด่นอีกอย่างหนึ งของอุปกรณ์ Linksys WRT54G ซึ่งก็คอ CGI ซึ่งจะเป็ น ่ ื ตัวช่วยให้ระบบสามารถทําการติดต่อกับ Web Server ภายนอกได้ซ่งจะเป็ นส่ วนช่วยในการเชื่อมต่อกับแม่ ข่ าย ึ ของระบบจากอุปกรณ์ Linksys WRT54G นี้ ซึ่งผู ้พัฒนาจะได้ศึกษาถึงรูปแบบการทํางานต่างๆ ดังนี้ ความสามารถเด่นอันนึ งของ WRT54G คือ มีโปรแกรม Web Server วิงอยู่ภายใน ซึ่ง ทํา ให้ เ ราสามารถ ่ เชือมต่อและควบคุมโปรแกรมทีวงบนมันด้วยเวบบราวเซอร์ โดยการใช้งานสามารถทํา ได้จ ากตั้ง แต่พี ซ ีไ ปจนถึ ง ่ ่ ิ่ มือถือ และหากทําการเซ็ทอัพบน Router หลักให้เ ชือมต่อกับอินเตอร์เ น็ ท เราก็จะสามารถควบคุม ใช้ง านได้จ ากที่ ่ ใดก็ตามในโลกทีอินเตอร์เ น็ ทไปถึง ดังนั้นตอนนี้ จะว่าด้วยเรื่องหลักๆดังนี้ ่ 1. การเชือมต่อโปรแกรมทีวงอยู่บนเครื่องผ่านWebserver ่ ่ ิ่ 2. การใช้งานโปรแกรมผ่านอินเตอร์เ น็ ท การเชือมต่อโปรแกรมทีท ํางานอยู่บนเครื่องผ่าน Web server การเชือมต่อโปรแกรมกับเวบเซิฟเวอร์ท ําได้โดย ่ ่ ่ อาศัย Protocol ตัวนึ งทีเ่ รียกว่า CGI (Common Gateway Interface) หลักการก็คอโดยตามปกติ Application ื Program ทัวไปจะส่งค่าทีพิมพ์ไปออก Standard Output ของระบบ (อาจจะเป็ น serial port หรือ tty) แต่ถาหาก ่ ่ ้ โปรแกรมนั้นถูกเรียกใช้ผ่าน CGI ค่าทีถูกส่งออกไปยัง Standard Output ก็จะไปออกทีเ่ วบบราวเซอร์แทน ่ รูปที่ 2.8 แสดงรูปภาพการทํางานคราวๆ ของระบบ CGI ของอุปกรณ์ Linksys WRT54G ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 15. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 12 เทคนิคและเทคโนโลยีทใี่ ช้ การออกแบบฐานข้ อ มูล (Database Design) ระบบนี้ พัฒนาโดยใช้ระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เนื่ องจากเป็ นระบบการจัดเก็บข้อมู ลที่มี ประสิ ทธิ ภ าพ โดยมีแนวคิดเกียวกับระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ดังนี้ ่ ฐานข้ อ มูล (Database) เป็ นแหล่งในการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็ นระบบและมีประสิทธิภาพเพื่อรองรับการใช้ง านจาก ผู ้ใช้และระบบงานต่างๆ พร้อมทังลดความยุ่งยากในการบํารุงรักษาข้อมู ล ซึ่ง ต้องอาศัย การออกแบบที่เ หมาะสมทั้ง ด้า น ้ ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ข้อมูลเหล่านี้ จะจัดเก็บให้อยู่รวมกัน โดยมี ผูบริ หารฐานข้อมู ล (Database Administrator: DBA) ้ เป็ นผู ้ดูแลและรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูลให้ผู ้ใช้หลายคนสามารถเข้าถึงข้อมูลทีจัดเก็บไว้ ตามหน้ าที่ที่กาหนดได้ ่ ํ ในเวลาเดียวกัน ฐานข้ อ มูล เชิ งสั มพันธ์ (Relational Database) หมายถึงโครงสร้างของแหล่งเก็บข้อ มู ล ซึ่ง ประกอบด้วย ข้อมู ลที่ จัดเก็บไว้ในแต่ละเอนทิต้ ี (Entity) และแต่ละเอนทิต้จะเชือมโยงด้วยความสัมพันธ์ โดยความสัม พัน ธ์ มี 3 แบบ คือ one-to- ี ่ one, one-to-many, และ many-to-oneระบบการจัดการฐานข้อมู ลเชิง สัม พัน ธ์ (Relational Database Management System : RDBMS) เป็ นซอฟต์แวร์ หรือโปรแกรมทีท ําหน้าทีควบคุมดูแลการสร้าง การเรียกใช้ และการจั ดเก็บข้อมู ลของฐานข้อมู ล ่ ่ เชิงสัมพันธ์ ข้ อ ดีของการใช้ ระบบฐานข้ อ มูลเชิ งสัมพันธ์ มีดังนี้ - ลดความซํ้าซ้อนของข้อมูล (Reduced data redundancy) ข้อมูลทังหมดจะถูกจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลเดีย วกัน โดย ้ ระบบฐานข้อมูลจะควบคุมการเกิดความซํ้าซ้อนของข้อมูล ซึ่งจะทําให้ประหยัดพื้นทีในการจัดเก็บข้อมูล และลด ่ การทํางานของบุคลากร - ควบคุมการคงสภาพของข้อมูล (Ensure data integrity) เมื่อมีการแก้ไขข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะ ควบคุมให้ขอมูลทีถูกแก้ไข ถูกต้องตามเกณฑ์ทก ําหนดไว้ ้ ่ ี่ - สามารถจัดการระบบความปลอดภัยของข้อมูล (Enforces data security) การป้ องกันไม่ให้ผู ้ทีไม่มีสิทธิเ ข้ามาใช้ ่ ข้อมูลในระบบ โดยผู ้ดูแลระบบจะกําหนดสิทธิการใช้งานของผู ้ใช้งานแต่ละคนตามความเหมาะสม และมีระดับ ในการใช้งานต่างกัน - ผู ้ใช้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ (Supported shared data) เนื่ องจากข้อมูลถูกจัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูลเดียวกัน ผู ้ทีมี ่ สิทธิในการใช้สามารถเรียกใช้ ข้อมูลได้พร้อมๆ กัน โดยไม่ต ้องสร้างฐานข้อมูลใหม่ เมื่อมีผู ้ใช้คนใดแก้ไขข้อมูล ผู ้ใช้คนอื่นๆจะได้รบข้อมูลทีเ่ ปลี่ยนแปลงทันที ั - ลดความขัดแย้งของข้อมูล (Inconsistency) การลดความซํ้าซ้อนในการจัดเก็บข้อมูล เมื่อมีการแก้ไขข้อมูลจะทํา การแก้ไขเพียงแห่ งเดียว ดังนั้นผู ้ใช้แต่ละคนจึ งใช้ข้อมูลชุดเดียวกัน ทําให้ขอมูลมีความถูกต้องตรงกันเสมอ ้ - ทําให้เ กิดมาตรฐานของข้อมูล (Standard) การเก็บข้อมูลไว้ทีฐานข้อมูลเดียวกัน ทําให้ผู ้ดูแลระบบสามารถกําหนด ่ มาตรฐานของข้อมูลได้ ทําให้การแลกเปลี่ยนข้อมูลของระบบเป็ นไปอย่างถูกต้อง - ข้อมูลมีความเป็ นอิสระ (Data independence) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดเก็บของฐานข้อมูล จะไม่มี ผลกระทบกับโปรแกรมทีใช้งานหรื อมีเ พียงเล็กน้อย ่ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 16. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 13 การออกแบบฐานข้ อ มูล แบ่งเป็ น 2 ขั้นตอน คือ 1. การออกแบบฐานข้อมูลเชิงแนวคิด (Conceptual Database Design) เป็ นการพัฒนารายละเอียดของข้อมูล ด้วยการ ใช้โมเดลข้อมูลเชิงตรรก (Logical Data Model) โดยมีการกําหนด Entity Relationship และแอตตริบวต์ของข้อมูล ิ ทีได้จากการวิเ คราะห์ ระบบ ซึ่งสามารถแสดงได้โดย ER Diagram ่ 2. การออกแบบฐานข้อมูลทางกายภาพ (Physical Database Design) เป็ นการพัฒนาโครงสร้างในการเก็บข้อมู ลจาก ข้อ 1 เพื่อให้ได้ฐานข้อมูลที่มี ประสิ ทธิ ภ าพมากที่สุ ด แต่ละระบบจั ดการฐานข้อมู ล จะมี ระบบการจั ดการ แฟ้ มข้อมูล ดัชนี ต ัวชี้ และการควบคุมความปลอดภัยในการใช้ข้อมูลตามความเหมาะสมของข้อมู ล สําหรับระบบ ทีพฒนานี้ ผู ้พัฒนาได้เ ลือกใช้ My SQL เป็ นระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ซ่งเป็ น ฐานข้อมู ลที่นิ ยมกัน มาก ่ ั ึ เนื่ องจาก My SQL เป็ นฟรีแวร์ทางด้านฐานข้อมูลทีมีประสิทธิภาพสูง และเป็ นทางเลือกใหม่จากผลิตภัณ ฑ์ ระบบ ่ จัดการฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม หรือโครงสร้างภายในของ My SQL คือ การออกแบบการทํางานลักษณะของ ไคลเอนต์/เซิร์ฟเวอร์นั่นเอง ประกอบด้วยส่วนหลักๆ 2 ส่ วน คือ ส่ วนของผู ใ ห้ บริ การ (Server) และส่ วนของ ้ ผู ้ใช้บริการ (Client) โดยในแต่ละส่วนจะมีโปรแกรมสําหรับการทํางานตามหน้ าที่ส่ วนของผู ใ ห้ บริ การ หรื อ ้ Server จะเป็ นส่วนทีท ําหน้าทีบริหารจัดการระบบฐานข้อมูล ในทีน้ ี หมายถึงตัว My SQL Server นั่นเอง และเป็ น ่ ่ ่ ทีจัดเก็บข้อมูลทังหมด ข้อมูลทีเ่ ก็บไว้นี้ มีทงข้อมูลทีจําเป็ นสําหรับการทํางานกับระบบฐานข้อมูล และข้อมู ลที่เ กิด ่ ้ ้ั ่ จากการทีผู ้ใช้แต่ละคนสร้างขึ้นมา ส่วนของผู ้ใช้บริการ หรือ Client ก็คอผู ้ใช้นั่นเอง โดยโปรแกรมสํา หรับใช้ง าน ่ ื ในส่วนนี้ ได้แก่ My SQL Client, Web Development Platform ต่างๆ (เช่น Java, Perl, PHP, ASP เป็ นต้น) My SQL My SQL เป็ นฐานข้อมูลแบบ open source ที่ไ ด้รับความนิ ยมในการใช้ง านสู ง สุ ดโปรแกรมหนึ่ งบนเครื่ อง ให้บริการ มีความสามารถในการจัดการกับฐานข้อมู ลด้วยภาษา SQL (Structures Query Language) มี ประสิ ทธิ ภ าพสู ง มี ความรวดเร็วในการทํางาน รองรับการทํางานจากผู ้ใช้หลายๆ คนและหลายๆ งานได้ในขณะเดียวกัน My SQL ถือเป็ นระบบจัดการฐานข้อมูล (Data Base Management System (DBMS)) ฐานข้อมู ลมี ลักษณะเป็ น โครงสร้างของการเก็บรวบรวมข้อมูล การทีจะเพิ่มเติม เข้าถึงหรือประมวลผลข้อมูลทีเ่ ก็บในฐานข้อมูลจํ า เป็ นจะต้องอาศัย ่ ระบบจัดการฐานข้อมูล ซึ่งจะทําหน้าทีเ่ ป็ นตัวกลางในการจัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูลทังสํา หรับการใช้ง านเฉพาะ และ ้ รองรับการทํางานของแอพลิเ คชันอื่นๆ ทีต ้องการใช้งานข้อมูลในฐานข้อมูล เพื่ อให้ ไ ด้รับความสะดวกในการจั ดการกับ ่ ข้อมูลจํานวนมาก My SQL ทําหน้าที่เ ป็ นทัง ตัวฐานข้อมู ลและระบบจั ดการฐานข้อมู ล สถาปั ตยกรรมของ My SQL ้ สถาปัตยกรรม หรือ โครงสร้างภายในของ My SQL ก็คอ การออกแบบการทํางานในลักษณะของClient/Server นั่ น เอง ซึ่ง ื ประกอบด้วยส่วนหลักๆ 2 ส่วน คือ ส่วนของผู ้ให้บริการ (Server) และ ส่วนของผู ้ใช้บริการ (Client) โดยในแต่ล่ะ ส่ วนจะมี โปรแกรมสําหรับการทํางานตามหน้าทีของตนส่วนของผู ้ให้บริการ หรือ Server จะเป็ นส่วนทีท ําหน้าทีบริห ารจั ดการระบบ ่ ่ ่ ฐานข้อมูลในทีน้ ี ก็หมายถึงตัว My SQL Server นั่นเอง และเป็ นทีจัดเก็บข้อมูลทังหมด ข้อมู ลที่เ ก็บไว้น้ ี มี ข ้อมู ลที่จํ า เป็ น ่ ่ ้ สําหรับการทํางานกับระบบฐานข้อมูล และข้อมูลทีเ่ กิดจากการทีผู ้ใช้แต่ล่ะคนสร้างขึ้นมาส่วนของผู ้ใช้บริ การ หรื อ Client ก็ ่ คือผู ้ใช้นั่นเอง โดยโปรแกรมสํา หรับใช้ง านในส่ วนนี้ ได้แ ก่ My SQL Client, Access, Web Development Platform ต่างๆ (เช่น Java, Perl, PHP, ASP เป็ นต้น) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 17. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 14 หลักการทางานในลักษณะ Client/ Server มีดงนี้ ั 1. ทีฝั่งของ Server จะมีโปรแกรมหรือระบบสําหรับจัดการฐานข้อมูลทํางานรออยู่ เพื่อเตรียมหรือรอคอยการร้องขอ ่ การใช้บริการจาก Client 2. เมื่อมีการร้องขอการใช้บริการเข้ามา Server จะทําการตรวจสอบตามวิธีการของตน เช่น อาจจะมีการให้ ผู ้ใช้บริการระบุชอและรหัสผ่าน และสําหรับ My SQL สามารถกําหนดได้วาจะอนุ ญาตหรือปฏิเ สธ Client ใดๆ ื่ ่ ในระบบทีจะเข้าใช้บริการอีกด้วย ซึ่งจะได้แสดงรายละเอียดในเรื่องต่อไป ่ 3. ถ้าผ่านการตรวจสอบ Server ก็จะอนุ มตการให้บริการแก่ Client ทีรองขอการใช้บริการนั้นๆ ต่อไปและถ้าในกรณี ัิ ่้ ทีไม่ได้รบการอนุ มติ Server ก็จะส่งข่าวสารความผิดพลาดแจ้งกลับไปที่ Client ทีรองขอการใช้บริการนั้น ่ ั ั ่้ เครื่องคอมพิวเตอร์ทท ําหน้าทีเ่ ป็ น Client หรือ Server อาจจะอยู่บนเครื่องเดียวกัน หรื อแยกเครื่ องกัน ก็ไ ด้ ทัง นี้ ี่ ้ ขึ้นอยู่ก ับลักษณะการทํางาน หรือการกําหนดของผู ้บริหารระบบ ตามปกติถ้าเป็ นการทํางานลักษณะ Web-based มี การใช้ ฐานข้อมูลขนาดไม่ใหญ่นัก ตัว My SQL Server และ Client มักจะมีอยู่บนเครื่องเดียวกัน โดยเครื่ องคอมพิ วเตอร์ ดัง กล่ าว จะต้องมีทรัพยากรเพื่อการทํางาน เช่น เนื้ อที่ฮ าร์ ดดิ ส ก์ , RAM มากพอสมควร แต่ส ําหรับการทํางานจริ ง (Real-world Application) ก็มกจะแยก Client และ Server ออกเป็ นคนละเครื่องกัน และสามารถรองรับงานได้ดีมากกว่า ดัง นั้ น ผู บริ ห าร ั ้ ระบบ หรือผู ้กําหนดนโยบายสําหรับการทํางานเครือข่าย จะต้องคํานึ งถึงเรื่องทีเ่ กียวข้องเหล่านี้ ให้ดี เพื่อที่จ ะทําให้ ร ะบบมี ่ การทํางานรับการให้บริการแก่ผู ้ใช้อย่างมีประสิ ทธิภาพและข้อมูลมีความปลอดภัยมากที่สุด ความสามารถของ My SQL - My SQL จัดเป็ นระบบฐานข้อมูลประเภท SQL-based ผู ้พัฒนาสามารถใช้คําสัง SQL ในการสังหรือใช้งานกับ My ่ ่ SQL Server ได้โดยไม่ต ้องศึกษาเพิ่มเติมแต่อย่างใด ซึ่งความสามารถนี้ ถือว่าเป็ นแนวโน้มของระบบจัดการ ฐานข้อมูลในปัจจุบ ัน - สนับสนุ นการใช้งานสําหรับตัวประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หลายตัว - การทํางานแบบ Multi-threaded ใช้ Kernel Threads - สนับสนุ น API เพื่อใช้งานกับ Development Platform ต่างๆ มากมาย ไม่วาจะเป็ น C, C++,Java, Perl, PHP และ ่ นอกจากนี้ ยังสามารถใช้งานร่วมกับ ODBC (Open Data Base Connectivity) ซึ่งทําให้เ ราสามารถใช้งานได้ก ัเครื่ องมืออื่นๆ บน Windows Platform เช่น Access เป็ นต้น รวมทังสามารถนํามาประยุกต์เ พื่อใช้งานร่วมกับ ASP ้ (Active Server Page) ได้อีกด้วย - My SQL สามารถรันได้บนระบบปฏิบ ัติการหลายตัวหลายค่าย ไม่วาจะเป็ น Linux, Solaris, Windows เป็ นต้น ่ - ประเภทของข้อมูลทีสามารถใช้ใน My SQL ได้แก่ ตัวเลข (ทังแบบคิดและไม่คดเครื่องหมาย),FLOAT, ่ ้ ิ DOUBLE,CHAR, VARCHAR, TEXT, BLOB, DATE, TIME,DATETIME, TIMESTAMP, YEAR, SET และ ENUM - สนับสนุ น GROUP BY และ ORDER BY clause และ Group Functions - สนับสนุ น LEFT OUTER JOIN และ RIGHT OUTER JOIN - การกําหนดสิทธิและรหัสผ่าน ให้มีความปลอดภัย ความยืดหยุ่นสูง สามารถกําหนดเครื่องและ/หรือผู ้ใช้ ในการ เข้าถึงข้อมูลได้ มีการเข้ารหัสข้อมูล (Encryption) สําหรับรหัสผ่านของผู ้ใช้ด้วย ทําให้ผู ้ใช้มีความมันใจว่าข้อมูล ่ จะมีความปลอดภัย ไม่มีใครสามารถทําการเข้าถึงข้อมูลได้หากไม่ได้รบอนุ ญาต ั ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 18. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 15 - สามารถทําดัชนี (Index) ได้สูงสุดถึง 32 ดัชนี ในแต่ละตารางข้อมูล โดยทีในแต่ละดัชนี สามารถใช้ฟิ ลด์ได้ตงแต่ 1- ่ ้ั 16 ฟิ ลด์ - สามารถรองรับข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งปัจจุบ ัน My SQL สามารถรองรับจํานวนข้อมูลได้ในระดับ60,000 ตารางข้อมูล และ 5 ล้านระเบียน - สนับสนุ นรูปแบบภาษา (Character Set) หลายชนิ ด เช่น ISO-8859-1 (Latin1), big5 และอื่นๆ ทําให้สามารถทํา การจัดเรียงข้อมูล หรือกําหนดการแสดงข้อผิดพลาด (Error Messages) ได้ตามรูปแบบภาษาทีต ้องการ ่ - เครื่องทีท ําหน้าทีเ่ ป็ นผู ้ใช้บริการ สามารถเชือมเข้าสู่ My SQL Server โดยการใช้ TCP/IP Sockets, Unix Sockets ่ ่ (Unixes) หรือ Named Pipes (NT) VB Visual Basic Visual Basic (VB) เป็ นโปรแกรมสําหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทก ําลังเป็ นที่ นิ ยมใช้อยู่ ใ นปั จ จุ บน โปรแกรม ี่ ั Visual Basic เป็ นโปรแกรมทีได้เ ปลี่ยนรูปแบบการเขียนโปรแกรมใหม่ โดยมีชดคําสังมาสนับสนุ นการทํา งาน มี เ ครื่ องมื อ ่ ุ ่ ต่าง ๆ ทีเ่ รียกกันว่า คอนโทรล(Controls) ไว้สําหรับช่วยในการออกแบบโปรแกรม โดยเน้ น การออกแบบหน้ าจอแบบ กราฟฟิ ก หรือทีเ่ รียกว่า Graphic User Interface (GUI) ทําให้การจัดรูปแบบหน้าจอเป็ นไปได้ง่าย และในการเขียนโปรแกรม นั้นจะเขียนแบบ Event - Driven Programming คือ โปรแกรมจะทํางานก็ต่อเมื่ อเหตุการณ์ (Event) เกิดขึ้ น ตัวอย่ างของ เหตุการณ์ได้แก่ ผู ้ใช้เลื่อนเมาส์ ผู ้ใช้กดปุ่ มบนคีย์บอร์ด ผู ้ใช้กดปุ่ มเมาส์ เป็ นต้น ความหมายและความเป็ นมาของ Visual Basic ภาษา Visual Basic เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ที่พ ัฒ นาโดยบริ ษ ัทไมโครซอฟท์ซ่ ง เป็ น ึ บริษททีสร้างระบบปฏิบ ัติการ Windows ทีใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบ ันโดยตัวภาษามีรากฐานมาจากภาษาเบสิ ก (Basic) ั ่ ่ ซึ่งย่อมาจาก Beginner’s All Purpose Symbolic(ชุดคําสังหรือ ภาษาคอมพิวเตอร์ สําหรับผู ้เริ่มต้น) ภาษาเบสิ กมี จุ ดเด่ น คือ ผู ้ ่ ทีไม่มีพื้นฐานเกียวกับการเขียนโปรแกรมเลย ก็สามารถเรียนรูและนําไปใช้งาน ได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ ว เมื่ อเทีย บกับ ่ ่ ้ ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาซี (C) ภาษาปาสคาล (Pascal) หรือแอสแชมบลี (Assembler) ไมโครซอฟท์ได้พฒนาโปรแกรมภาษา Basic นั บตั้ง แต่ภ าษา MBasic (Microsoft Basic),BasicA (Basic Advanced) ั และ Quick Basic ซึ่งได้ตดตังมาพร้อมกับระบบปฏิบ ัติการ MS Dos ในทีสุดใช้ชือว่า QBasic แต่ละเวอร์ ชน ที่ออกมามี การ ิ ้ ่ ่ ั เพิมคําสังต่างๆ เข้าไปโดยตลอด ซึ่งโปรแกรมเหล่านี้ ล้วนแต่ทา งานใน Text Mode คือเป็ นตัวอักษรล้วนๆ จนกระทัง มี ่ ่ ํ ่ ระบบปฏิบ ัติการ Windowsทางไมโครซอฟท์กได้ปรับปรุงภาษา Basic ออกมาใหม่เ พื่ อสนั บสนุ นการทํางานบน Windows ็ ทําให้ Visual Basic ถือกําเนิ ดตังแต่บ ัดนั้น Visual Basic 1.0 เป็ นเวอร์ช ันแรกออกมาเมื่อปี 1991 โดยในช่วงแรกนั้ นยัง ไม่ มี ้ ความแตก ต่างจาก QBasic มากนัก แต่จะเน้นเครื่องมือทีใช้ในการเขียนโปรแกรมบนวินโดว์ ซึ่งได้รบความนิ ยมเป็ นอย่ างดี ่ ั ไมโครซอฟท์จึงได้พฒนา Visual Basic ให้ดีข้ ึนเรื่อยๆ จนในปัจจุบ ันเวอร์ช ันล่ า สุ ดคือ Visual Basic 6.0 ออกมาในช่วงปี ั 1998 ได้เ พิ่มความสามารถ ในการเขียนโปรแกรมติดต่อกับเครือข่ ายอิ น เตอร์ เ น็ ต ด้านการเชื่อมต่อกับระบบฐานข้อมู ล รวมทังเครื่องมือและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) ให้สมบูรณ์และสะดวกยิ่งขึ้น ้ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551
  • 19. ระบบจัดการและติดตามรถโดยสารประจําทางแบบประยุกต์ 16 ข้ อ ดีของการเขียนโปรแกรมด้ วย Visual Basic ข้อดีของการเขียนโปรแกรมด้วย Visual Basic คือง่ายต่อการเรียนรู ้ และเหมาะสํา หรับผู เ้ ริ่ ม ต้น ทั้ง ในเรื่ องของ ไวยากรณ์ของภาษา และเครื่ องมื อในการใช้ง านภาษา Basic เป็ นภาษาที่มี คนเรี ย นรู ้ และมี การใช้ง านมากที่สุ ดใน ประวัติศาสตร์ ของคอมพิวเตอร์ ภาษา Visual Basic มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง ทังในด้านการปรับปรุง ประสิ ทธิ ภ าพของตัว ้ ภาษาและความเร็วในการประมวลผล และในด้านความสามารถใหม่ๆ เช่น ความสามารถการติดต่อกับระบบฐานข้อมู ล การ เชือมต่อกับเครือข่ายอินเตอร์เ น็ ต เป็ นต้น ผู ้พัฒนาสําคัญของ Visual Basic คือคือบริ ษ ัทไมโครซอฟท์ เราจึ งมั่น ใจได้ว่า ่ Visual Basic จะยังมีการพัฒนา ปรับปรุง และคงอยู่ได้อีกนาน ลักษณะการเขียนโปรแกรมของ Visual Basic การเขียนโปรแกรมของ Visual Basic จะอยู่ในลักษณะของ Event–Driven คือเป็ นการเขียนโปรแกรมที่ตอบสนองต่อการ ควบคุมเหตุการณ์ตางๆ มากมาย ทีเ่ กิดจากการกระทําของผู ้ใช้เป็ นการเขียนโปรแกรมที่ผูกไว้กบ เหตุการณ์ ที่ส ามารถเกิด ่ ั ขึ้นกับออบเจ็ คหรือ ส่วนประกอบต่างๆทีอยู่บนหน้าจอ ความต้องการของระบบในการติดตั้ง โปรแกรม Visual Basic 6.0ใน ่ การใช้งาน Visual Basic 6.0 จะมีการต้องการระบบดังต่อไปนี้ - ระบบปฏิบ ัติการ Windows 95/98s หรือ Windows NT หรือ Windows XP - เครื่องคอมพิวเตอร์ทมี CPU 486 DX/66 MHz เป็ นอย่างตําขึ้นไปแต่ถาจะให้ท ํางานได้ดีควรจะเป็ น CPU รุ่น ี่ ่ ้ Pentium ขึ้นไป - ไดร์ฟ CD-ROM - จอภาพและการ์ดจอ ทีสนับสนุ นการทํางานของ Windows ่ PHP PHP เป็ นภาษาจําพวก scripting language คําสังต่างๆจะเก็บอยู่ในไฟล์ทเี่ รีย กว่า สคริ ปต์ (script) และเวลาใช้ง าน ่ ต้องอาศัยตัวแปลชุดคําสัง ตัวอย่างของภาษาสคริ ป เช่น JavaScript, Perl เป็ นต้น ลักษณะของ PHP ที่แ ตกต่างจากภาษา ่ สคริปต์แบบอื่นๆ คือ PHP ได้รบการพัฒนาและออกแบบมา เพื่ อใช้ง านในการสร้างเอกสารแบบ HTML โดยสามารถ ั สอดแทรกหรือแก้ไขเนื้ อหาได้โดยอัตโนมัติ ดังนั้นจึ งกล่าวว่า PHP เป็ นภาษาทีเ่ รีย กว่า server-side หรื อ HTML-embedded scripting language เป็ นเครื่องมือทีสาคัญชนิ ดหนึ่ งที่ช่วยให้ เ ราสามารถสร้างเอกสารแบบ Dynamic HTML ได้อย่ างมี ่ ํ ประสิทธิภาพ (PHP Hypertext Preprocessor) PHP แต่เ ดิมคือ Personal Home Page แต่ในปัจจุบ ัน PHP หมายถึ ง PHP Hypertext Preprocessor ซึ่งเป็ นภาษาสคริปต์แบบหนึ่ งทีเ่ รียกว่า เซิร์ฟเวอร์ไซด์สคริปต์ ทีประมวลผลฝั่งเซิร์ฟเวอร์ แล้วส่ ง ผลลัพ ธ์ ไ ป ่ ฝั่งไคลเอ็นต์ผานเว็บบราวเซอร์ ปัจจุบ ันได้รบความนิ ยมเป็ นอย่างมาก ่ ั จุดเด่ นของ PHP - Free เนื่ องจากสิ่งทีต ้องการสูงสุดของโปรแกรมเมอร์ในการพัฒนาเว็บ คือ ไม่เ สียค่าลิขสิทธิ์PHP ได้ตอบสนองต่อ ่ โปรแกรมเมอร์เ ป็ นอย่างดี เพราะเครื่องมือทีใช้เพื่อพัฒนาทุกอย่างสามารถหาได้โดยไม่เ สียค่าลิขสิทธิ์ ไม่วาจะ ่ ่ เป็ นระบบปฏิบ ัติการ (Linux), โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ (Apache, OmniHTTPd), โปรแกรมระบบฐานข้อมูล (My SQL) และ Server SiteScript อย่าง PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย พายัพ คพ.499 ปี การศึกษา 2551