SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Conductometry
• เป็นวิธีวิเคราะห์ที่อาศัยการวัดการนำาไฟฟ้า
• ความสามารถของสารละลายในการนำาให้
กระแสไฟฟ้าผ่านสารละลายนั้น เนื่องมาจาก
การเคลื่อนของประจุ
• เป็นแบบ non-faradaic
• ทำาได้ 2 แบบ
– Direct conductometric
measurement
– Conductometric titration
สมการที่เกี่ยวข้อง
l
A
G
R
A
l
R
A
R
lR
I
E
R
R
E
I
κ
ρ
α
α
==
=
=
=
1
1
ρ = specific resistance
หน่วยเป็น โอห์ม-ซม.
G = conductance
หน่วยเป็น โอห์ม-1
หรือ mho
= specific conductance
(conductivity)
หน่วยเป็น โม/ซม. (ซีเมนส์/ซม)
Mho = ohm-1
= S
A = พื้นที่หน้าตัด
พื้นที่หน้าตัดมาก ความ
ต้านทานน้อย
κ
Equivalent conductance
• หมายถึงการนำาไฟฟ้าของสารหนึ่งสมมูล
ระหว่างขั้วห่างกัน 1 cm
• ไม่ต้องคำานึงถึงปริมาตรสารละลายและพื้นที่
ผิวของขั้ว เพราะถูกกำาหนดอยู่แล้วโดยนิยาม
คำานวณ ได้จากค่า κ
Λ=
=Λ
=Λ
=Λ
===
=
C
C
A
Geq
C
AVl
lAV
κ
κ
κ
1000
1000
1
1000
1
Λ
อิเล็กโทรไลท์แก่
อิเล็กโทรไลท์อ่อน
anionofcetanconducionicequivalent
cationofcetanconducionicequivalent
=
=
+=Λ
−
+
−+
0
0
00
0
λ
λ
λλ
NaClHClNaOAcHOAc
eselectrolytstrongofofdifferencethefromor
0000
0
Λ−Λ+Λ=Λ
Λ
การวัดการนำาไฟฟ้า
• Source
• Resistant Bridge
• cell
วงจร Wheatstone Bridge
( )
BC
AC
sc
ACAB
AC
sc
cACABcsAC
ABcsACcAC
ABcscAC
sc
c
AB
AB
AC
AB
ADAC
sc
c
ABAD
AB
AC
ABAC
R
R
RR
RR
R
RR
RRRRRR
RRRRRR
RRRRR
RR
R
V
R
R
V
VVNull
RR
R
VVADBCircuit
R
R
VVACDCircuit
=
−
=
−=
=+
=+
+
=
=
+
=
=
เซลล์
• ผิวหน้าขั้วมักจะให้มีการเคลือบด้วยพลาตินัมซ้ำ้าอีกครั้ง
หนึ่งเพื่อเพิมพื้นที่ผิวและป้องกันไม่ให้เกิดกระบวนการ
แบบฟาราเดอิก เรียกว่า platinized platinum
electrode
• ทำาได้โดยการทำาความสะอาดขั้วพลาตินัมด้วยกรดเข้ม
ข้นหรือ warm cleaning solution แล้วล้างด้วยนำ้า
กลั่นจนกรดออกหมด
• แล้วจุ่มในสารละลายที่มี 3 g chloroplatinic acid,
0.025 g lead acetate ในปริมาตร 100 cm3
• ผ่านไฟฟ้ากระแสตรง 2-5 นาที
• จากนั้นจุ่มใน dil. H2SO4 ผ่านไฟฟ้าเพื่อขจัด Cl2 ที่ติด
มา
• ล้างด้วยนำ้ากลั่น จุ่มในนำ้ากลั่นจนกว่าจะนำามาใช้
การควบคุมอุณหภูมิ
• นับเป็นสิ่งจำาเป็นในการวัดการนำาไฟฟ้า เพราะอุณหภูมิมีผลต่อ
การนำาไฟฟ้า
• ดังนั้นอาจเพิ่ม thermostat ในวงจร
• จำาเป็นมากในการวัด conductance ของสาร
• แต่ใน conductometric titration มักให้ผลถูกต้องหาก vary ไม่
มากนัก
• หากต้องการผลถูกต้องมาก อาจจุ่มเซ้ลล์ในอ่างนำ้า หรืออ่าง
นำ้ามันเพื่อควบคุมอุณหภูมิให้ค่อนข้างคงที่
การหาค่าคงที่ของเซ้ลล์
(cell calibration)
• เนื่องจาก G ขึ้น กับ l และ A ซ้ึ่ง vary ตามเซ้ลล์ ดังนั้นจึง
ต้องมีการหาค่า l/A ซ้่งเรียกว่า ค่าคงที่ของเซ้ลล์
(cell constant)
• หาได้โดยการวัดค่าการนำาไฟฟ้าของสารละลายที่ทราบค่า
• หา l/A ได้ มักเรียกว่า K
κ
l
A
G κ=
GA
l κ
=
กรัม KCl ในสารละลาย 1000g Specific conductance ที่
25o
C
71.1352 0.111342
…… ……
เมื่อวัด G จะหา K ได้ ปกติ K = 1
เครื่องมือบางแบบจะวัดในรูป (conductivity)
โดยการวัดค่าการนำาไฟฟ้า G แล้วนำามาคูณกับ cell constant K
มีข้อดีตรงที่ค่านี้ไม่ขึ้นกับ cell constant
κ
κ
KG ×=κ
G
K
κ
=
Conductometric titration
• เมื่อเติมอิเล็กโทรไลท์ลงไปในสารละลายของอิเล็กโทรไลท์อีกตัวหนึ่ง
โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตรหรือมีการเปลี่ยนแปลงปริมาตรน้อย
มาก จะทำาให้การนำาไฟฟ้าของสารละลายเปลี่ยนแปลงไปได้ ไม่ว่าจะมี
ปฏิกิริยาหรือไม่ก็ตาม
• หากไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น ค่าการนำาไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้น
– เช่นเติม KCl ลงไปใน NaNO3
• หากมีปฏิกิริยาเกิดขึ้น ค่าการนำาไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงก็ได้
– เช่น เติมเบสลงในกรดแก่ จะมีการแทนที่ไอออน H+
ซ้ึ่งมี สูง
ด้วยแคทไอออนที่มี ตำ่ากว่า ดังนั้น การนำาไฟฟ้าจะลดลง0
λ
0
λ
หลักการ
• การแทนที่ไอออนที่มี ค่าหนึ่งด้วยไอออนที่มี ต่างออกไป
0
λ
0
λ
↓〈
↑〉
+⇔+
++
++
++
−+−+−+
GAC
GAC
CbyreplacedisA
tedundissociatitrant
BCADDCBA
00
00
λλ
λλ
• วิธีการนี้จะถูกต้องมากขึ้นเมื่อ
– มุมตัดเป็นมุมแหลมมาก
– จุดบนกราฟเป็นเส้นตรง
– ปริมาตรไม่เปลี่ยนมาก
• จึงควรใช้ไทแทรนท์ที่มีความเข้มข้นมากกว่าสารละลายที่ต้องการไทเทรต
20-100 เท่า
• หรืออาจใช้การแก้ไขปริมาตร
• ไม่ต้องวัดใกล้จุดยุติ เพราะอาจมีการเกิด hydrolysis, dissociation,
solubility ของ product
observed
V
UV
κκ 




 +
=
การประยุกต์-กรดแก่กับเบสแก่
• ตอนแรกการนำาไฟฟ้าจะลดลง เนื่องจากการแทนที่ของ
ไฮโดรเจนไอออน (ค่าการนำาไฟฟ้า 350) ด้วยแคทไอออน (ค่า
การนำาไฟฟ้า 30-80)
• หลังจากถึงจุดสมมูล ค่าการนำาไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นเมื่อเติมเบสแก่
มากขึ้น เนื่องจากมีไฮดรอกไซ้ด์ไอออนซ้ึ่งมีค่าการนำาไฟฟ้าสูง
(198)
• มีความสำาคัญในกรณีที่สารละลายมีสีเข้มหรือทึบแสง
• หรือมีความเจือจางมาก (10-3
-10-4
M) ซ้ึ่งในกรณีนี้ต้องมีการ
กำาจัดคาร์บอนไดออกไซ้ด์
กรดแก่กับเบสอ่อน
• กรณีเบสอ่อนปานกลาง เช่น K 10-5
• ตัวอย่างเช่นการไทเทรตกรดซ้ัลฟุริกเจือจางด้วย
สารละลายอัมโมเนียเจือจาง
• ส่วนแรกของกราฟแสดงถึงการหายไปของไฮโดรเจน
ไอออนในระหว่างการสะเทิน
• หลังจุดสมมูลจะเป็นกราฟแนวนอนเนื่องจากอัมโมเนีย
มากเกินพอมีการแตกตัวน้อย
กรดอ่อนกับเบสแก่-ขึ้นกับความเข้มข้น
และค่าคงที่ในการแตกตัวของกรด
• กรดอ่อนปกติเช่นกรดอะซีติก Ka = 1.8x10-5
• เมื่อไทเทรตกับโซเดียมไฮดรอกไซด์
• เกลือโซเดียมอะซีเตดที่เกิดในช่วงแรกของการไทเทรตจะต้าน
การแตกตัวของกรดอะซีติกที่เหลือ ทำาให้การนำาไฟฟ้าลดลง
• อย่างไรก็ตาม ความเข้มข้นของเกลือที่เพิ่มขึ้นทำาให้การนำา
ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
• ทำาให้กราฟการไทเทรตมีจุดตำ่าสุด ซึ่งขึ้นกับความเข้มข้นและ
ขนาดของกรดอ่อน
• ทำาให้ได้จุดสมมูลที่ระบุได้ยาก
• กราฟเป็นเส้นตรงหลังกรดทั้งหมดถูกสะเทิน
กรดแก่ปานกลาง Ka 10-3
• ผลของความเข้มข้นของเกลือมีน้อย แต่ยังมีปัณหาใน
การระบุจุดยุติ
• เช่นการไทเทรต 0.005 M o-nitrobenzoic acid ด้วย
0.130 M โปตัสเซียมไฮดรอกไซด์
• มีวิธีการสองวิธี
• ไทเทรตด้วยอัมโมเนียก่อน
• หากไม่อาจได้จุดยุติที่ดี ก็ไทเทรตครั้งที่สองด้วยสารละ
ลายโปตัสเซียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้นเดียวกัน
• กราฟตอนแรกเหมือนกัน หลังจุดยุติจะเป็นเส้นตรงสอง
เส้นทำาให้ระบุได้ง่ายขึ้น
• หากต้องการให้ถูกต้องขึ้นไปอีก ให้แก้ไขกราฟโดยใช้
ข้อเท็จจริงที่ว่า การนำาไฟฟ้าของเกลืออัมโมเนีย น้อย
กว่าของเกลือโปตัสเซียม 0.6%
วิธีที่ 1
วิธีที่ 2
• เริ่มไทเทรตด้วยอัมโมเนียปริมาณเล็กน้อย
• ทำาให้เสร็จสมบูรณ์ด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
• ตัวอย่างการไทเทรต 0.005 M กรดแมนเดลิก
• เมื่อกรดทั้งหมดถูกสะเทิน การนำาไฟฟ้าจะลดลง
เนื่องจากการแทนแทนที่อัมโมเนียมด้วยโซเดียมไอออน
ที่นำาไฟฟ้าได้น้อยกว่า
• เมื่อการแทนที่อัมโมเนียเกิดสมบูรณ์ ค่าการนำาไฟฟ้าจะ
เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
• ที่จุดยุติ S ปริมาณรวมของสารละลายโซเดียมไฮดรอก
ไซด์ที่เติมทั้งหมด (QS) จะเท่ากับปริมาณกรดที่มีอยู่
เดิม
• สามรถตรวจสอบซำ้าได้โดยใช้ ปริมาณอัลกาไลน์รวม
PR
กรดอ่อนมาก
• ค่าการนำาไฟฟ้าเริ่มต้นมีน้อยมาก แต่จะเพิ่มขึ้นเมื่อการ
สะเทินดำาเนินไปเนื่องจากเกิดเกลือขึ้น
• ค่าการนำาไฟฟ้าใกล้จุดสมมูลจะมีค่าสูงเพราะเกิดไฮโดร
ลิซิส
• ถัดจากจุดสมมูลการไฮโดรลิซิสจะลดลงเนื่องจากมีเบส
มากเกินพอ
• ลากเส้นมาจบกัน ได้จุดยุติ
• ตัวอย่างเช่น การไทเทรตกรดบอริกด้วยโซเดียมไฮดร
อกไซด์
กรดอ่อนและเบสอ่อน--ทำาได้!
• การไทเทรต 0.003 M กรดอะซีติก และ 0.0973 M
NH3
• กราฟการสะเทินก่อนจุดสมมูลเหมือนกับกรณีโซเดีย
มไฮดรอกไซด์เนื่องจากโซเดียมอะซีเตดและอัมโมเนีย
มอะซีเตดเป็นอิเล็กโทรไลท์แก่
• หลังจุดสมมูล อัมโมเนียมากเกินพอมีผลน้อยต่อการนำา
ไฟฟ้า เนื่องจากการแตกตัวถูกกดดันจากการที่มีเกลื่อ
อัมโมเนียมในสารละลาย
• ข้อได้เปรียบคือจุดยุติระบุได้ง่ายกว่า
• ตัดผลคาร์บอนไดออกไซด์ได้ เพราะ
คาร์บอนไดออกไซด์มีผลเฉพาะกรณีอัลกาไลน์ไฮดรอก
ไซด์
การไทเทรตของผสมกรดแก่และกรด
อ่อน--ด้วยเบสแก่
• เมื่อเติมเบสแก่ลงไปในของผสมกรดแก่และกรดอ่อน
(เช่นกรดไฮโดรคลอริคและกรดอะซีติก) ค่าการนำา
ไฟฟ้าจะลดลงเพราะกรดแก่ถูกสะเทิน
• และจะเพิ่มขึ้นเมื่อกรดอ่อนเปลี่ยนไปเป็นเกลือ
• ท้ายที่สุดจะเพิ่มขึ้นเมื่อมีเบสมากเกินพอ
• ทั้งสามส่วนของกราฟเป็นเส้นตรง เว้นแต่ว่า
– การเพิ่มการแตกตัวของกรดอ่อนจะทำาให้เกิดรูปมน
ที่จุดยุติจุดแรก
– ไฮโดรลิซิสของเกลือของกรดอ่อนทำาให้เกิดรูปมนที่
จุดยุติที่สอง
• การต่อส่วนเส้นตรงของกราฟทั้งสามส่วนทำาให้ระบุจุด
ยุตได้
• การไทเทรตด้วยเบสอ่อนก็ทำาได้และมักนิยมใช้มากกว่า
• ใช้หาปริมาณกรดแร่ในนำ้าส้มหรือกรดอินทรีย์อื่น ๆ
การไทเทรตแบบแทนที่
• เมื่อเกลือของกรดอ่อนถูกไทเทรตกับกรดแก่ แอน
ไอออนของกรดอ่อนจะถูกแทนที่ด้วยเกลื่อของกรดที่แก่
กว่า
• แอนไอออนของกรดอ่อนจะถูกแทนที่โดยแอนไอออน
ของกรดแก่
• และมีการปลดปล่อยกรดอ่อนออกมาในรูปที่ไม่แตกตัว
• เช่นเดียวกัน หากเติมเบสแก่ลงไปยังเกลือของเบสอ่อน
แคทไอออนของเบสอ่อนจะถูกแทนที่ด้วยแคทไอออน
ของเบสแก่
• และมีการปลดปล่อยเบสอ่อนออกมาในรูปที่ไม่แตกตัว
การไทเทรตโซเดียมอะซีเตดด้วยกรด
ไฮโดรคลอริค
• อะซีเตดไอออนถูกแทนที่ด้วยคลอไรด์ไอออน
• การเพิ่มขึ้นของการนำาไฟฟ้าในช่วงแรกเนื่องจากค่าการนำาไฟฟ้าของคลอ
ไรด์ไอออนมากกว่าของอะซีเตดไอออนเล็กน้อย
• ต่อมา สารละลายมีโซเดียมอะซีเตดมากพอที่จะกดดันการแตกตัวของกรด
อะซีติก การนำาไฟฟ้าจึงไม่เพิ่มขึ้นมาก
• ใกล้จุดสมมูล กรดอะซีติกจะแตกตัวได้มากพอที่จะมีผลต่อการนำาไฟฟ้า ดัง
นั้นทำาให้ค่าการนำาไฟฟ้าสูงขึ้นและกราฟเป็นรูปมน
• ถัดจากจุดสมมูลเมื่อมีกรดไฮโดรคลอริคมากเกินพอ การแตกตัวของกรดอะ
ซีติกจะถูกกดดัน และค่าการนำาไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
• อีกตัวอย่างคือ การไทเทรต 0.01 M NH4Cl ด้วย 0.1 M NaOH
• การลดลงของค่าการนำาไฟฟ้าเกิดจากการแทนที่อัมโมเนียมด้วยโซเดียม
ไอออนซึ่งนำาไฟฟ้าได้น้อยกว่า
NaClCOOHCHHClCOONaCH 33 +→+
ปฏิกิริยาการตกตะกอนและเกิดสาร
เชิงซ้อน
1. มุมระหว่างส่วนทั้งสองของกราฟควรมีค่าน้อยที่สุด ถ้ามุมป้าน
มาก การมีความคลาดเคลื่อนเพียงเล็กน้อยจะทำาให้เกิดการเบี่ยง
เบนมาก
2. การละลายของตะกอนหรือการแตกตัวของสารเชิงซ้อนควร
น้อยกว่า 5% อาจเติมเอทานอลเพื่อลดการละลาย ตัวอย่างเช่น
การไทเทรตอัมโมเนียมซัลเฟตในสารละลายนำ้า-อัลกอฮอลด้วย
แบเรียมอะซีเตด ต้องดูจุดยุติจากการตัดกัน
3. อัตราการตกตะกอนช้าจะยืดเวลาในการไทเทรต อาจต้องทำา
seeding หรือเติมเอทานอล
4. ถ้าตะกอนมีสมบัติดูดซับมาก องค์ประกอบของตะกอนอาจไม่
คงที่ และอาจเกิดออคลูชัน
กฏแห่งการเพิ่มความแม่น
1. ยิ่งค่าการนำาไฟฟ้าของไอออนที่มาแทนที่ไอออนที่ทำาปฏิกิริยามี
ค่าน้อยเท่าไร ผลจะมีความถูกต้องมากขึ้นเท่านั้น
– ดังนั้นจึงนิยมไทเทรตเกลือซิลเวอร์โดยใช้ลิเทียมคลอไรด์
มากกว่าที่จะใช้กรดไฮโดรคลอริค
– แคทไอออนใช้เกลือลิเทียม แอนไอออนใช้เกลืออะซีเตด
2. ยิ่งค่าการนำาไฟฟ้าของแอนไอออนของรีเอเจนต์ที่ทำาปฏกิริยา
กับแคทไอออนที่จะหาปริมาณมีค่ามากเท่าไร (หรือกลับกัน) มุม
จะยิ่งแหลมมากขึ้นเท่านั้น
3. การไทเทรตเกลือที่แตกตัวได้เล็กน้อยไม่ได้ผลดี เพราะค่า
การนำาไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากตอนเริ่มต้น ดังนั้น
เกลือในเซลควรแตกตัวสมบูรณ์ และรีเอเจนต์ที่เติมควรเป็นอิ
เล็กโทรไลท์แก่
การไทเทรตแบบรีดอกซ์
• ไม่เหมาะเพราะมีกรดหรือเบสมากเกินพอมาก
รายละเอียดทางการทดลอง
การไทเทรตความถี่สูง
ตัวอย่างการประยุกต์—ไกลซีนไฮโดร
คลอไรด์ J. Chem. Ed. 58,8,1981
(pp. 656-658)

More Related Content

What's hot

Coulometry and Electrogravimetry
Coulometry and ElectrogravimetryCoulometry and Electrogravimetry
Coulometry and ElectrogravimetryMelakuMetto
 
Thermogravimetric analysis(TGA)
Thermogravimetric analysis(TGA)Thermogravimetric analysis(TGA)
Thermogravimetric analysis(TGA)Mahendra G S
 
UV-Visible Spectrophotometer
UV-Visible SpectrophotometerUV-Visible Spectrophotometer
UV-Visible SpectrophotometerLEKSHMI M R
 
Thermal analysis by_menna_koriam
Thermal analysis by_menna_koriamThermal analysis by_menna_koriam
Thermal analysis by_menna_koriammennakoriam
 
Dsc: interpretaion and application
Dsc: interpretaion and applicationDsc: interpretaion and application
Dsc: interpretaion and applicationRahul Kumar Maurya
 
DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRY(DSC)
DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRY(DSC)DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRY(DSC)
DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRY(DSC)ArpitSuralkar
 
Thermal characterization
Thermal characterizationThermal characterization
Thermal characterizationVijay Prakash
 
DIFFERENTIAL THERMAL ANALYSIS & DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRY
DIFFERENTIAL THERMAL ANALYSIS & DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRYDIFFERENTIAL THERMAL ANALYSIS & DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRY
DIFFERENTIAL THERMAL ANALYSIS & DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRYPrachi Pathak
 
Flame emission spectroscopy
Flame emission spectroscopyFlame emission spectroscopy
Flame emission spectroscopymohamed abusalih
 
amperometric titration
amperometric titrationamperometric titration
amperometric titrationsurajganorkar
 
Differential Thermal Analysis
Differential Thermal AnalysisDifferential Thermal Analysis
Differential Thermal AnalysisAnupriyaNR
 
Conductivity measurement
Conductivity measurementConductivity measurement
Conductivity measurementPraful Hanmante
 
Differential scanning calorimetry [dsc]
Differential scanning calorimetry [dsc]Differential scanning calorimetry [dsc]
Differential scanning calorimetry [dsc]Sagar Savale
 
Advances in Ion Selective Electrodes(ISE)
Advances in Ion Selective Electrodes(ISE) Advances in Ion Selective Electrodes(ISE)
Advances in Ion Selective Electrodes(ISE) Nur Fatihah
 
Instrumentation presentation - Auger Electron Spectroscopy (AES)
Instrumentation presentation - Auger Electron Spectroscopy (AES)Instrumentation presentation - Auger Electron Spectroscopy (AES)
Instrumentation presentation - Auger Electron Spectroscopy (AES)Amirah Basir
 
Fourier Transform Infrared Spectroscopy Ftir
Fourier Transform Infrared Spectroscopy FtirFourier Transform Infrared Spectroscopy Ftir
Fourier Transform Infrared Spectroscopy FtirGamal Abdel Hamid
 
Thermomechanical analysis presentation
Thermomechanical analysis presentationThermomechanical analysis presentation
Thermomechanical analysis presentationInara Ahmadova
 

What's hot (20)

Coulometry and Electrogravimetry
Coulometry and ElectrogravimetryCoulometry and Electrogravimetry
Coulometry and Electrogravimetry
 
Thermogravimetric analysis(TGA)
Thermogravimetric analysis(TGA)Thermogravimetric analysis(TGA)
Thermogravimetric analysis(TGA)
 
UV-Visible Spectrophotometer
UV-Visible SpectrophotometerUV-Visible Spectrophotometer
UV-Visible Spectrophotometer
 
Thermal analysis by_menna_koriam
Thermal analysis by_menna_koriamThermal analysis by_menna_koriam
Thermal analysis by_menna_koriam
 
Dsc: interpretaion and application
Dsc: interpretaion and applicationDsc: interpretaion and application
Dsc: interpretaion and application
 
DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRY(DSC)
DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRY(DSC)DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRY(DSC)
DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRY(DSC)
 
Thermal characterization
Thermal characterizationThermal characterization
Thermal characterization
 
DIFFERENTIAL THERMAL ANALYSIS & DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRY
DIFFERENTIAL THERMAL ANALYSIS & DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRYDIFFERENTIAL THERMAL ANALYSIS & DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRY
DIFFERENTIAL THERMAL ANALYSIS & DIFFERENTIAL SCANNING CALORIMETRY
 
Flame emission spectroscopy
Flame emission spectroscopyFlame emission spectroscopy
Flame emission spectroscopy
 
Thermal analysis
Thermal analysisThermal analysis
Thermal analysis
 
amperometric titration
amperometric titrationamperometric titration
amperometric titration
 
Differential Thermal Analysis
Differential Thermal AnalysisDifferential Thermal Analysis
Differential Thermal Analysis
 
Conductivity measurement
Conductivity measurementConductivity measurement
Conductivity measurement
 
types of Gauges
types of Gaugestypes of Gauges
types of Gauges
 
Differential scanning calorimetry [dsc]
Differential scanning calorimetry [dsc]Differential scanning calorimetry [dsc]
Differential scanning calorimetry [dsc]
 
Advances in Ion Selective Electrodes(ISE)
Advances in Ion Selective Electrodes(ISE) Advances in Ion Selective Electrodes(ISE)
Advances in Ion Selective Electrodes(ISE)
 
Instrumentation presentation - Auger Electron Spectroscopy (AES)
Instrumentation presentation - Auger Electron Spectroscopy (AES)Instrumentation presentation - Auger Electron Spectroscopy (AES)
Instrumentation presentation - Auger Electron Spectroscopy (AES)
 
Coulometry Manik
Coulometry ManikCoulometry Manik
Coulometry Manik
 
Fourier Transform Infrared Spectroscopy Ftir
Fourier Transform Infrared Spectroscopy FtirFourier Transform Infrared Spectroscopy Ftir
Fourier Transform Infrared Spectroscopy Ftir
 
Thermomechanical analysis presentation
Thermomechanical analysis presentationThermomechanical analysis presentation
Thermomechanical analysis presentation
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
Conducto ppt
Conducto pptConducto ppt
Conducto ppt
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
Analytical class potetiometry conductomtry, P K MANI
Analytical class   potetiometry conductomtry, P K MANIAnalytical class   potetiometry conductomtry, P K MANI
Analytical class potetiometry conductomtry, P K MANI
 
Analysis instrumentation
Analysis instrumentationAnalysis instrumentation
Analysis instrumentation
 
9 polarography jntu pharmacy
9 polarography jntu pharmacy9 polarography jntu pharmacy
9 polarography jntu pharmacy
 
Voltammetry
VoltammetryVoltammetry
Voltammetry
 
Polarography
PolarographyPolarography
Polarography
 
Key to voltammetry exercise
Key to voltammetry exerciseKey to voltammetry exercise
Key to voltammetry exercise
 
Key ex conduct
Key ex conductKey ex conduct
Key ex conduct
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometry
 
Electrical conductivity
Electrical conductivity Electrical conductivity
Electrical conductivity
 
Potentiometry
PotentiometryPotentiometry
Potentiometry
 
Polarimetry
Polarimetry Polarimetry
Polarimetry
 
Polarimetry
PolarimetryPolarimetry
Polarimetry
 
Atomic emission spectroscopy
Atomic emission spectroscopyAtomic emission spectroscopy
Atomic emission spectroscopy
 
Peraturan Permainan Bola Basket FIBA 2014
Peraturan Permainan Bola Basket FIBA 2014Peraturan Permainan Bola Basket FIBA 2014
Peraturan Permainan Bola Basket FIBA 2014
 
Polarimetry
Polarimetry Polarimetry
Polarimetry
 
INSTRUMENTATION OF FLAME EMISSION SPECTROSCOPY
 INSTRUMENTATION OF FLAME EMISSION SPECTROSCOPY  INSTRUMENTATION OF FLAME EMISSION SPECTROSCOPY
INSTRUMENTATION OF FLAME EMISSION SPECTROSCOPY
 
Flame photometer
Flame photometerFlame photometer
Flame photometer
 

More from Pipat Chooto

แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryPipat Chooto
 
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรีแบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรีPipat Chooto
 
แบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductแบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductPipat Chooto
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีPipat Chooto
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryPipat Chooto
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีPipat Chooto
 
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำPipat Chooto
 
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆPipat Chooto
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57Pipat Chooto
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์Pipat Chooto
 

More from Pipat Chooto (16)

Key ex eg cou
Key ex eg couKey ex eg cou
Key ex eg cou
 
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
 
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรีแบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
 
แบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductแบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConduct
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรี
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometry
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรี
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
 
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 

Conductometry