SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
• ในมุมมองทางสังคมเล็งเห็นความสาคัญของการใช้ทุนทางสังคมเพื่อการปฏิรูป
ประเทศไทย เราจะเห็นว่าประเทศไทยได้พยายามปฏิรูปประเทศมาหลายครั้งเมื่อเกิด
ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองโดยการแก้ไขกฎหมายรัฐธรรมนูญ หรือ พยายาม
แก้ไขลงไปที่กลไกทางสังคมทางด้านการเมือง
• ทุนทางสังคมวัฒนธรรมน่าจะเป็นกลไกทางสังคมในการปฏิรูปประเทศ
กล่าวคือการแก้ไขปัญหาในข้างต้นควรให้ความสาคัญกับรากฐานของสังคม
วัฒนธรรมไทย อาศัยรากฐานของสังคมวัฒนธรรมไทยเพื่อปฏิรูปประเทศไทย
รากฐานที่เติบโตพร้อมๆกับสังคมที่พัฒนาขึ้น อาทิเช่น เครือข่ายความสัมพันธ์ทาง
สังคมที่ดารงอยู่ในรูปแบบต่างๆ ความสัมพันธ์เชิงเครือญาติ กลุ่มทางสังคม องค์กร
ทางสังคม สถาบันทางสังคม มูลนิธิ ที่ประกอบด้วยประชาชนเป็นส่วนใหญ่ การ
ปฏิรูปสังคมไทยควรหันมาให้บทบาทของกลุ่ม องค์กร และเครือข่ายทางสังคมเหล่านี้
มีบทบาทในการบริหารสังคมชุมชนที่อาศัยอยู่ รากฐานของสังคมวัฒนธรรมดังกล่าว
อาจจะเรียกได้ว่าคือ ทุนทางสังคม
• 1) เพื่อศึกษาสารวจโมเดลที่ดีของการใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรม
ในการแก้ไขปัญหาสังคมทั้งจากประสบการณ์ในและต่างประเทศ
• 2) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูปประเทศไทยด้วยทุนทาง
สังคมวัฒนธรรมในด้านการปกครองท้องถิ่นและด้านสังคมใน
ระดับกลไกรัฐและระดับกลไกเสริมรัฐ
• (1) การสารวจแนวคิด สถานะ ลักษณะรูปธรรมของทุนทางสังคม
วัฒนธรรม
• (2) สารวจโมเดลที่ดีของการใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรมในการ
แก้ไขปัญหาสังคมทั้งจากประสบการณ์ในและต่างประเทศ
• (3) เสนอแนะแนวทางในการประยุกต์ใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรม
ในการปฏิรูปประเทศไทยในด้านการปกครองท้องถิ่นและด้าน
สังคมในระดับกลไกรัฐและระดับกลไกเสริมรัฐ
• การศึกษาเอกสาร จากงานวิจัย หนังสือ ที่ได้เสนอแนวคิดเรื่อง
ทุนทางสังคมวัฒนธรรมเพื่อสารวจสถานะของแนวคิด ทั้งเอกสาร
ภาษาไทยและต่างประเทศ
• จากการสัมภาษณ์เจาะลึก นักวิชาการ นักคิด นักพัฒนา นัก
เคลื่อนไหวทางสังคมของสังคมไทยที่มีประสบการณ์การทางาน
กับทุนทางสังคมและมีประสบการณ์การใช้ทุนทางสังคมในการ
แก้ไขปัญหาสังคม อาทิ ศ.นพ.ประเวศ วะสี, รศ.ดร.วรวุฒิ โรม
รัตนพันธ์, รศ.ปาริชาติ วลัยเสถียร, ผศ.ดร.สมพันธ์ เตชะอธิก,
อาจารย์มุกดา อินต๊ะสาร ฯลฯ
• ประสบการณ์ประเทศญี่ปุ่น
– การก่อตัวและการให้ความหมาย “ทุนทางสังคม”
– ทุนทางสังคมในฐานะกลไกการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา
ชุมชน
• ประสบการณ์ประเทศเกาหลีใต้
– การก่อร่างสร้างตัวและพัฒนาการของทุนทางสังคมในประเทศเกาหลี
ใต้
– ทุนทางสังคมในฐานะกลไกในการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
• ประเทศญี่ปุ่นมีการสั่งสมทุนทางสังคมในหลายลักษณะ โดย
พิจารณาผ่าน 3 ยุคสมัย คือ การจัดระเบียบทางสังคมในยุคศักดิ
นา ยุคที่ต้องเผชิญกับตะวันตก และในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
ทั้งสามยุคมีการเปลี่ยนทั้งทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ
และสังคมวัฒนธรรม
• บทบาทโชกุน
• อิทธิพลวัฒนธรรมการศึกษาของชนชั้นซามูไร
• อิทธิพลแนวคาสอนและหลักการปฏิบัติของลัทธิขงจื้อ
• วัฒนธรรมการรวมกลุ่ม
• ทุนทางสังคมในความหมายเชิงวัฒนธรรม (Cultural Perspectives) ได้แก่ การ
ให้ความสาคัญกับระบบคุณค่าทางสังคม อาทิ ความรับผิดชอบต่อสังคม ความมีวินัย
การพึ่งตนเอง การสร้างวัฒนธรรมการเตรียมความพร้อม เป็นต้น
• ทุนทางสังคมในความหมายเชิงโครงสร้างทางสังคม (Social Organization)
หมายถึงองค์กรทางสังคมที่ปรากฏรูปธรรมในสังคมญี่ปุ่น อาทิ องค์กรที่ไม่แสวงหา
กาไร (NPOs) สมาคมละแวกบ้าน คณะกรรมการพัฒนาชุมชน เป็นต้น
• ทุนทางสังคมในความหมายของกระบวนการ (Civil Society) หมายถึง
กระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม (Social Movement) ในกรณีประเด็นสาธารณะ
ต่างๆ เช่น เครือข่ายสังคมปลอดภัย เป็นต้น
• ประชาสังคมกับทุนทางสังคมในประเทศญี่ปุ่นเป็นเรื่องเดียวกัน
• (1) สมาคมละแวกบ้าน (Neighborhood Association)
• (2) สภาพัฒนาชุมชน (Community Development Council)
• (3) องค์กรไม่แสวงหากาไร (Non-Profit Organization)
• ทุนทางสังคมในความหมายเชิงวัฒนธรรม (Cultural
Perspectives) คือ การมีจิตสานึกทางการเมือง และการมีจิตสานึกแห่ง
การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน ทุนทางสังคมนี้เป็นรากฐานที่
สาคัญที่ทาให้คนเกาหลีใต้มีลักษณะของการเป็นพลเมืองที่กระตือรือร้น
(Active citizen)
• ทุนทางสังคมในความหมายเชิงโครงสร้างทางสังคม (Social
Organization) พบว่า ทุนทางสังคมในเชิงกลุ่ม องค์กรทางสังคม มี
บทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการก้าวสู่สังคม
ประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ เป็นต้นว่า องค์กรของนักศึกษา หรือองค์กร
ต่อต้านคอรัปชั่นและนักการเมืองที่ใช้อานาจไม่ชอบธรรมอย่าง People
Solidarity for Participation Democracy (PSPD)
• ทุนทางสังคมในความหมายของกระบวนการ (Civil Society) คือพลัง
มวลชนในการขับเคลื่อนเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆในสังคมเกาหลี
ใต้ปรากฏอยู่อย่างโดดเด่น การขับเคลื่อนของพลังมวลชนเหล่านี้ถูกเรียกขาน
ในนามของกระบวนการประชาสังคม ที่ประชาชนออกมาปกป้ องสิทธิ และ
ช่วงชิงอานาจในการกาหนดชะตาชีวิตของตนเอง โดยไม่ยอมจานนให้รัฐ
หรือชนชั้นนามีอานาจควบคุมแต่ฝ่ายเดียว เช่น การเคลื่อนไหวของ
ขบวนการนักศึกษาทางการเมือง, การเคลื่อนไหวของขบวนการแรงงาน
นอกจากนี้ในบริบทของการปกครองส่วนท้องถิ่น มิติเชิงกะบวนการที่สะท้อน
ความเป็นประชาสังคม คือ การสร้างกระบวนการที่เปิดโอกาสให้ประชาชน
เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม หรือการดาเนินงานของท้องถิ่น เป็นต้นว่า การ
สร้างการมีส่วนร่วมผ่านกลไกคณะทางาน, การสร้างเครือข่ายการทางาน,
การเปิดพื้นที่ทางกายภาพเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม
• มูลนิธิสวัสดิการสังคมแห่งกรุงโซล (Seoul Welfare Foundation) มี
บทบาทในบริบทของการปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น เป็นทุนทางสังคมที่
เป็นกลุ่ม องค์กรทางสังคม ถูกสร้างและพัฒนาขึ้นเพื่อเป็นกลไกในการ
ขับเคลื่อนงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น เพื่อเป็นกลไกการ
ทางานด้านสวัสดิการที่เข้าถึง และสอดคล้องกับปัญหาความต้องการ
ด้านสวัสดิการสังคมที่แท้จริงของประชาชนในโซลที่ซึ่งเป็นมหานคร
ขนาดใหญ่ลาดับต้นๆของโลก

More Related Content

More from Klangpanya

World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfKlangpanya
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfKlangpanya
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfKlangpanya
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....Klangpanya
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
 

รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย

  • 1.
  • 2. • ในมุมมองทางสังคมเล็งเห็นความสาคัญของการใช้ทุนทางสังคมเพื่อการปฏิรูป ประเทศไทย เราจะเห็นว่าประเทศไทยได้พยายามปฏิรูปประเทศมาหลายครั้งเมื่อเกิด ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองโดยการแก้ไขกฎหมายรัฐธรรมนูญ หรือ พยายาม แก้ไขลงไปที่กลไกทางสังคมทางด้านการเมือง • ทุนทางสังคมวัฒนธรรมน่าจะเป็นกลไกทางสังคมในการปฏิรูปประเทศ กล่าวคือการแก้ไขปัญหาในข้างต้นควรให้ความสาคัญกับรากฐานของสังคม วัฒนธรรมไทย อาศัยรากฐานของสังคมวัฒนธรรมไทยเพื่อปฏิรูปประเทศไทย รากฐานที่เติบโตพร้อมๆกับสังคมที่พัฒนาขึ้น อาทิเช่น เครือข่ายความสัมพันธ์ทาง สังคมที่ดารงอยู่ในรูปแบบต่างๆ ความสัมพันธ์เชิงเครือญาติ กลุ่มทางสังคม องค์กร ทางสังคม สถาบันทางสังคม มูลนิธิ ที่ประกอบด้วยประชาชนเป็นส่วนใหญ่ การ ปฏิรูปสังคมไทยควรหันมาให้บทบาทของกลุ่ม องค์กร และเครือข่ายทางสังคมเหล่านี้ มีบทบาทในการบริหารสังคมชุมชนที่อาศัยอยู่ รากฐานของสังคมวัฒนธรรมดังกล่าว อาจจะเรียกได้ว่าคือ ทุนทางสังคม
  • 3. • 1) เพื่อศึกษาสารวจโมเดลที่ดีของการใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรม ในการแก้ไขปัญหาสังคมทั้งจากประสบการณ์ในและต่างประเทศ • 2) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูปประเทศไทยด้วยทุนทาง สังคมวัฒนธรรมในด้านการปกครองท้องถิ่นและด้านสังคมใน ระดับกลไกรัฐและระดับกลไกเสริมรัฐ
  • 4. • (1) การสารวจแนวคิด สถานะ ลักษณะรูปธรรมของทุนทางสังคม วัฒนธรรม • (2) สารวจโมเดลที่ดีของการใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรมในการ แก้ไขปัญหาสังคมทั้งจากประสบการณ์ในและต่างประเทศ • (3) เสนอแนะแนวทางในการประยุกต์ใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรม ในการปฏิรูปประเทศไทยในด้านการปกครองท้องถิ่นและด้าน สังคมในระดับกลไกรัฐและระดับกลไกเสริมรัฐ
  • 5. • การศึกษาเอกสาร จากงานวิจัย หนังสือ ที่ได้เสนอแนวคิดเรื่อง ทุนทางสังคมวัฒนธรรมเพื่อสารวจสถานะของแนวคิด ทั้งเอกสาร ภาษาไทยและต่างประเทศ • จากการสัมภาษณ์เจาะลึก นักวิชาการ นักคิด นักพัฒนา นัก เคลื่อนไหวทางสังคมของสังคมไทยที่มีประสบการณ์การทางาน กับทุนทางสังคมและมีประสบการณ์การใช้ทุนทางสังคมในการ แก้ไขปัญหาสังคม อาทิ ศ.นพ.ประเวศ วะสี, รศ.ดร.วรวุฒิ โรม รัตนพันธ์, รศ.ปาริชาติ วลัยเสถียร, ผศ.ดร.สมพันธ์ เตชะอธิก, อาจารย์มุกดา อินต๊ะสาร ฯลฯ
  • 6. • ประสบการณ์ประเทศญี่ปุ่น – การก่อตัวและการให้ความหมาย “ทุนทางสังคม” – ทุนทางสังคมในฐานะกลไกการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา ชุมชน • ประสบการณ์ประเทศเกาหลีใต้ – การก่อร่างสร้างตัวและพัฒนาการของทุนทางสังคมในประเทศเกาหลี ใต้ – ทุนทางสังคมในฐานะกลไกในการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
  • 7. • ประเทศญี่ปุ่นมีการสั่งสมทุนทางสังคมในหลายลักษณะ โดย พิจารณาผ่าน 3 ยุคสมัย คือ การจัดระเบียบทางสังคมในยุคศักดิ นา ยุคที่ต้องเผชิญกับตะวันตก และในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทั้งสามยุคมีการเปลี่ยนทั้งทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม • บทบาทโชกุน • อิทธิพลวัฒนธรรมการศึกษาของชนชั้นซามูไร • อิทธิพลแนวคาสอนและหลักการปฏิบัติของลัทธิขงจื้อ • วัฒนธรรมการรวมกลุ่ม
  • 8. • ทุนทางสังคมในความหมายเชิงวัฒนธรรม (Cultural Perspectives) ได้แก่ การ ให้ความสาคัญกับระบบคุณค่าทางสังคม อาทิ ความรับผิดชอบต่อสังคม ความมีวินัย การพึ่งตนเอง การสร้างวัฒนธรรมการเตรียมความพร้อม เป็นต้น • ทุนทางสังคมในความหมายเชิงโครงสร้างทางสังคม (Social Organization) หมายถึงองค์กรทางสังคมที่ปรากฏรูปธรรมในสังคมญี่ปุ่น อาทิ องค์กรที่ไม่แสวงหา กาไร (NPOs) สมาคมละแวกบ้าน คณะกรรมการพัฒนาชุมชน เป็นต้น • ทุนทางสังคมในความหมายของกระบวนการ (Civil Society) หมายถึง กระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม (Social Movement) ในกรณีประเด็นสาธารณะ ต่างๆ เช่น เครือข่ายสังคมปลอดภัย เป็นต้น • ประชาสังคมกับทุนทางสังคมในประเทศญี่ปุ่นเป็นเรื่องเดียวกัน
  • 9. • (1) สมาคมละแวกบ้าน (Neighborhood Association) • (2) สภาพัฒนาชุมชน (Community Development Council) • (3) องค์กรไม่แสวงหากาไร (Non-Profit Organization)
  • 10. • ทุนทางสังคมในความหมายเชิงวัฒนธรรม (Cultural Perspectives) คือ การมีจิตสานึกทางการเมือง และการมีจิตสานึกแห่ง การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน ทุนทางสังคมนี้เป็นรากฐานที่ สาคัญที่ทาให้คนเกาหลีใต้มีลักษณะของการเป็นพลเมืองที่กระตือรือร้น (Active citizen) • ทุนทางสังคมในความหมายเชิงโครงสร้างทางสังคม (Social Organization) พบว่า ทุนทางสังคมในเชิงกลุ่ม องค์กรทางสังคม มี บทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการก้าวสู่สังคม ประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ เป็นต้นว่า องค์กรของนักศึกษา หรือองค์กร ต่อต้านคอรัปชั่นและนักการเมืองที่ใช้อานาจไม่ชอบธรรมอย่าง People Solidarity for Participation Democracy (PSPD)
  • 11. • ทุนทางสังคมในความหมายของกระบวนการ (Civil Society) คือพลัง มวลชนในการขับเคลื่อนเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆในสังคมเกาหลี ใต้ปรากฏอยู่อย่างโดดเด่น การขับเคลื่อนของพลังมวลชนเหล่านี้ถูกเรียกขาน ในนามของกระบวนการประชาสังคม ที่ประชาชนออกมาปกป้ องสิทธิ และ ช่วงชิงอานาจในการกาหนดชะตาชีวิตของตนเอง โดยไม่ยอมจานนให้รัฐ หรือชนชั้นนามีอานาจควบคุมแต่ฝ่ายเดียว เช่น การเคลื่อนไหวของ ขบวนการนักศึกษาทางการเมือง, การเคลื่อนไหวของขบวนการแรงงาน นอกจากนี้ในบริบทของการปกครองส่วนท้องถิ่น มิติเชิงกะบวนการที่สะท้อน ความเป็นประชาสังคม คือ การสร้างกระบวนการที่เปิดโอกาสให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม หรือการดาเนินงานของท้องถิ่น เป็นต้นว่า การ สร้างการมีส่วนร่วมผ่านกลไกคณะทางาน, การสร้างเครือข่ายการทางาน, การเปิดพื้นที่ทางกายภาพเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม
  • 12. • มูลนิธิสวัสดิการสังคมแห่งกรุงโซล (Seoul Welfare Foundation) มี บทบาทในบริบทของการปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น เป็นทุนทางสังคมที่ เป็นกลุ่ม องค์กรทางสังคม ถูกสร้างและพัฒนาขึ้นเพื่อเป็นกลไกในการ ขับเคลื่อนงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น เพื่อเป็นกลไกการ ทางานด้านสวัสดิการที่เข้าถึง และสอดคล้องกับปัญหาความต้องการ ด้านสวัสดิการสังคมที่แท้จริงของประชาชนในโซลที่ซึ่งเป็นมหานคร ขนาดใหญ่ลาดับต้นๆของโลก