SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
รายงานการวิจัย
BTSและMRT
จัดทาโดย
นายกันต์ คงในสุข เลขที่ 18 ม.6/3
นายรัชพล เย็นเจริญ เลขที่ 27 ม.6/3
เสนอ
ครู ฮาวารีย์มะเตฮะ
วิชา IS 30202
โรงเรียนปทุมคงคา
ความเป็นมาของ BTS หรือ รถไฟฟ้า
 รถไฟฟ้าบีทีเอส เป็นรถไฟฟ้าสายแรกของประเทศไทยที่ดาเนินการ โดยบริษัท ระบบขนส่งมวลชน
กรุงเทพ จากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นโครงการที่ลงทุนโดยเอกชนทั้ง 100 % เปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5
ธันวาคม 2542 ใน 2 เส้นทาง คือสายสุขุมวิท ระยะทาง 17 กม. ได้รับชื่อพระราชทานว่า "รถไฟฟ้าเฉลิม
พระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา สาย ๑" และเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2554 ได้เปิดให้บริการส่วนต่อขยาย
สายสุขุมวิทอย่างเป็นทางการ ระยะทาง 5.25 กม. จากสถานีอ่อนนุชถึงสถานีแบริ่ง และสายสีลม ระยะทาง
6.5 กม. ซึ่งได้รับชื่อพระราชทานว่า "รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา สาย ๒" และเมื่อ
วันที่ 23 สิงหาคม 2552 ได้เปิดให้บริการส่วนต่อขยายสายสีลมอย่างเป็นทางการ ระยะทาง 2.2 กม. จาก
สถานีสะพานตากสินถึงสถานีวงเวียนใหญ่ และเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 ได้เปิดให้บริการส่วนต่อ
ขยายสายสีลมเพิ่มขึ้นอีก2 สถานี ระยะทาง 2.17 กม. คือสถานีโพธิ์นิมิตรและสถานีตลาดพลู และในวันที่
5 ธันวาคม 2556 ได้เปิดเพิ่มขึ้นอีก 2 สถานี คือสถานีวุฒากาศและสถานีบางหว้า ระยะทาง 3.8 กม. ซึ่งทา
ให้มีระยะทางในการให้บริการรวม 36.9กม. ใน 34 สถานี
ประวัติรถไฟฟ้าใต้ดิน หรือ MRT
 รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล หรือรถไฟฟ้า MRT คือโครงการรถไฟฟ้าใต้ดินสายแรกของ
ประเทศไทย ริเริ่มขึ้นเพื่อบรรเทาปัญหาการจราจรในกรุงเทพฯ ที่ได้สะสมต่อเนื่องมาจากการขยายตัวของ
เมือง และจานวนประชากรที่มากขึ้นในกรุงเทพฯ เป็นระยะเวลาต่อเนื่องนับสิบปี
 โครงการนี้เกิดขึ้นโดยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยมี การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่ง
ประเทศไทย (รฟม.) เป็นเจ้าของโครงการและผู้ให้สัมปทาน มีหน้าที่จัดสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และมอบ
สัมปทานการเดินรถให้แก่เอกชน คือ บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด (มหาชน) หรือ บีเอ็มซีแอล เป็นผู้
ให้บริการการเดินรถ
 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม เฉลิมรัชมงคล อันมี
ความหมายว่า งานเฉลิมฉลองความเป็นมงคลแห่งความเป็นพระราชา เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2542 และได้
เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิดการเดินรถ โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล อย่างเป็นทางการ
เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2547
ทางเลือกใหม่ของชีวิตคุณภาพ
หลักการออกแบบ
 สถานีรถไฟฟ้า ออกแบบให้หลบเลี่ยงสาธารณูปโภคใต้ดินและบนดินและรักษาสภาพผิวจราจรบนถนนมากที่สุด โดยทั่วไป
ออกแบบให้มีโครงสร้างแบบเสาเดี่ยวตั้งอยู่บนเกาะกลางถนนเช่นเดียวกับโครงสร้างทางวิ่งโดยทั่วไป ระยะห่างของแต่ละ
สถานีอยู่ที่ประมาณ800 – 1,000 เมตร โครงสร้างสถานีมีความยาวประมาณ 150 เมตร
 1. Side Platform Station
มีชานชาลาอยู่สองข้างโดยรถไฟฟ้าวิ่งอยู่ตรงกลางสถานีทั่วไปได้ออกแบบให้มีลักษณะแบบนี้ เนื่องจากก่อสร้างได้รวดเร็ว
และใช้เนื้อที่น้อย
 2. Centre Platform
มีชานชาลาอยู่ตรงกลางและรถไฟฟ้าวิ่งอยู่สองข้างสถานีชนิดนี้มีประสิทธิภาพสูงกว่าแบบแรกแต่การก่อสร้างยุ่งยากกว่า
เนื่องจากตัวรางต้องเบนออกจากกันเมื่อเข้าสู่สถานี ทั้งนี้ได้ออกแบบให้สถานีสยาม(สถานีร่วม) มีลักษณะดังกล่าวเนื่องจากมี
ปริมาณผู้โดยสารเป็นจานวนมาก และเหมาะสาหรับการเปลี่ยนขบวนรถระหว่างสายสุขุมวิทกับสายสีลม
สิ่งอานวยความสะดวก
บันไดเลื่อน
สถานีรถไฟฟ้ าบีทีเอสได้มีการติดตั้งบันไดเลื่อนเพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้โดยสารครบทุกสถานี
ลิฟต์
จัดไว้เพื่อบริการผู้พิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ไม่สะดวกในการใช้บันได หรือบันไดเลื่อน โดยสถานีที่มีลิฟต์ให้บริการอยู่ ได้แก่ สถานี
ช่องนนทรี สถานีสยาม สถานีหมอชิต สถานีอโศก สถานีอ่อนนุช สถานีบางจาก สถานีปุณณวิถี สถานีอุดมสุข สถานีบางนา
สถานีแบริ่ง สถานีกรุงธนบุรี สถานีวงเวียนใหญ่ สถานีโพธิ์นิมิตร สถานีตลาดพลู สถานีวุฒากาศ และสถานีบางหว้า
ป้ ายบอกทางและแผนที่
ภายในสถานีรถไฟฟ้ ามีป้ ายบอกทางและแผนที่ของแต่ละสถานี ซึ่งแสดงรายละเอียดสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ สวนสาธารณะ
อาคาร สานักงาน ร้านค้า ห้างสรรพสินค้าและสถานที่สาคัญต่างๆ ที่อยู่ในบริเวณโดยรอบสถานี เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับผู้โดยสาร
ศูนย์ข้อมูลนักท่องเที่ยว
สาหรับนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ สามารถติดต่อขอข้อมูลด้านการท่องเที่ยวได้ที่ศูนย์ข้อมูลนักท่องเที่ยว ทั้ง 3
แห่ง ที่สถานีสะพานตากสิน พญาไท และสยาม
ทางเชื่อมสู่อาคารข้างเคียง
เพื่อเป็นการเพิ่มความสะดวกในการเดินทางมากยิ่งขึ้น บีทีเอสได้ประสานงานกับอาคารข้างเคียงเพื่อจัดทาทางเดินเชื่อมระหว่าง
อาคารกับสถานีรถไฟฟ้าจานวน 15 สถานี ดังนี้
 ศูนย์บริการของกรุงเทพมหานคร (BMA Express Service)
บีทีเอสได้ร่วมมือกับกรุงเทพมหานครจัดตั้งศูนย์บริการBMA Express Service ขึ้นที่สถานีหมอชิตและสถานี
สยาม เพื่อให้บริการงานบัตรประชาชนและงานทะเบียนอื่นๆแก่ประชาชนทั่วไป
ร้านค้าและจุดบริการธุรกรรมด้านต่างๆ
นอกจากการเดินทางที่สะดวกและรวดเร็วแล้วผู้โดยสารยังสามารถเลือกซื้อสินค้าหรือใช้บริการจากร้านค้าและจุดบริการ
ธุรกรรมด้านต่างๆได้อีกด้วย อาทิเช่น จุดบริการงานไปรษณีย์จุดบริการของธนาคารพาณิชย์ต่างๆร้านตัวแทนจาหน่ายตั๋ว
เครื่องบิน ร้านหนังสือ ร้านเบเกอรี่ ฯลฯ
ระบบปฏิบัติการเดินรถ
 รถไฟฟ้าบีทีเอสเป็นรถขนส่งมวลชนความจุสูงแบบมาตรฐานที่ใช้กันแพร่หลายในเมืองใหญ่ๆของหลายประเทศทั่วโลกขบวน
รถใช้มอเตอร์ไฟฟ้าขับเคลื่อน วิ่งบนรางคู่ยกระดับ ความกว้างราง 1.435 เมตร (Standard gauge) แยกทิศทางไป
และกลับมีรางจ่ายกระแสไฟฟ้า(Conductor rail หรือ Third rail system) อยู่ด้านข้าง ซึ่งมีความ
ปลอดภัยสูงและไม่มีผลกระทบต่อทัศนียภาพระบบที่ใช้นี้เป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ มีความคล่องตัวสูง มีความจุมากกว่า
50,000 คนต่อชั่วโมงต่อทิศทาง
 การควบคุมใช้ระบบคอมพิวเตอร์สั่งการ ในส่วนของระบบอาณัติสัญญาณถูกออกแบบให้มีความปลอดภัยสูงแม้เมื่อมีการ
ขัดข้องของระบบเกิดขึ้น ระบบจะปรับไปสู่สถานะที่ยังคงให้ความปลอดภัยแก่ผู้โดยสารเสมอ โดยเฉพาะในเรื่องความ
ปลอดภัยนั้น ระบบปฏิบัติการเดินรถของบีทีเอสมีระบบควบคุมต่างๆรองรับอยู่เช่น ระบบป้องกันการชน ระบบควบคุม
ความเร็ว เป็นต้น จึงทาให้มั่นใจได้ว่ารถไฟฟ้าบีทีเอสเป็นระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ที่มีความปลอดภัยอยู่ในระดับสูงและ
เป็นที่ยอมรับตามมาตรฐานสากล
โครงสร้างอุโมงค์MRT
 รางเป็นแบบรางคู่ตามมาตรฐาน UIC 54 ซึ่งมีขนาดความกว้าง 1435 มม.ในช่วง
 ทางตรง และกว้าง 1438-1441 มม. ในช่วงทางโค้ง สาหรับรถไฟฟ้าใต้ดินใช้ราง
 จ่ายกระแสไฟฟ้าหรือรางที่ 3 (Third Rail) เพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้า โดยวิ่งคู่ขนานไป
 กับรางตลอดเส้นทาง ยกเว้นในช่วง จุดสับราง รางนั้นมีความแตกต่างกันในส่วน
 ของเส้นทางหลัก (อุโมงค์) กับเส้นทางในศูนย์ซ่อมบารุง โดยรางในเส้นทางวิ่ง
 หลัก จะใช้วิธียึดรางโดยตรงเข้ากับฐานรางซึ่งทาด้วยคอนกรีต เสริมเหล็ก
 (Direct Fixation) เพื่อประสิทธิภาพในการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วของรถไฟฟ้า
 เป็นระบบอุโมงค์คู่รางเดี่ยวคือ มีอุโมงค์2 อุโมงค์ขนานกัน และแต่ละ
 อุโมงค์จะเดินรถทางเดียวในช่วงเวลาการเดินรถปกติ โครงสร้างอุโมงค์เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก
 ที่ถูกออกแบบให้มีลักษณะยืดหยุ่น และมีระบบกันน้าซึมเข้าในอุโมงค์
 ภายในอุโมงค์มีการติดตั้งรางวิ่งรถไฟ รางที่สาม ทางเดินซ่อมบารุง อุปกรณ์ระบบระบายอากาศ
 ระบบดูดอากาศใต้ชานชาลา และระบบตรวจจับความร้อน
ระบบไฟฟ้าของ MRT
 ระบบไฟฟ้ าของโครงการฯ (Power Supply)
 จัดสร้างสถานีไฟฟ้าย่อยประธาน สถานีพร้อมอุปกรณ์ไฟฟ้าเพื่อจ่ายไฟให้กับระบบขับเคลื่อนรถไฟฟ้าตลอดจนระบบไฟใน
สถานีและอุโมงค์โดยรับไฟจากการไฟฟ้านครหลวง สองแห่งคือ สถานีไฟฟ้าย่อยรัชดาและสถานีไฟฟ้าย่อยบางกะปิ เข้าสู่
สถานีไฟฟ้าย่อยประธานของระบบรถไฟฟ้าบริเวณศูนย์ซ่อมบารุง เพื่อจ่ายไฟให้แก่สถานีส่วนเหนือ ส่วนใต้บริเวณศูนย์ซ่อม
บารุง ตามลาดับ ถึงแม้ว่าเกิดไฟฟ้าดับจากสถานีย่อยของการไฟฟ้านครหลวงหนึ่งสถานี สถานี ไฟฟ้าย่อยที่เหลือก็ยังสามารถ
จ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับระบบทั้งหมดได้โดยไม่มีผลกระทบต่อการให้บริการ และยังมี เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองที่ศูนย์ซ่อม
บารุงทดแทน เพื่อจ่ายให้กับอุปกรณ์สาคัญในสถานี ในกรณีไฟฟ้าจากกฟน. ดับ ทั้งสองสถานีย่อยอุปกรณ์ในระบบไฟฟ้า
จุดเชื่อมต่อกันของ
BTS กับ MRT
ประโยชน์ของ BTS และ MRT
สามารถช่วยทาให้การเดินทางในกรุงเทพฯมีความคล่องตัวและสะดวกสบายมากขึ้น
การติดขัดของการจราจรใน กทม. เป็นสาเหตุให้รถยนต์ประเภทต่างๆบนท้องถนนต้องเลือกใช้เส้นทางอ้อมอื่นๆทาให้เดินทางมาก
ขึ้นกว่าที่ควรจะเป็น คิดเป็นระยะทาง 1,713 ล้านกิโลเมตรต่อปี รวมทั้งต้องใช้ปริมาณน้ามันเพิ่มขึ้นจากการเดินรถด้วยความเร็วต่า
อีกประมาณ 2,500 ล้านลิตรต่อปี (ประมาณ 45% ของการใช้น้ามันประจาวัน) โดยความสูญเสียน้ามันทั้งหมดจากการติดขัดของ
การจราจรจะคิดเป็นมูลค่ารวมประมาณ 12,000 ล้านบาทต่อปี ดังนั้น หากมีการสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนให้ครอบคลุมพื้นที่
กรุงเทพฯ และปริมณฑลจะสามารถลดความสูญเสียดังกล่าวได้
จากการศึกษาเปรียบเทียบกับระบบขนส่งอื่นๆ พบว่าระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนเป็นระบบที่ประหยัดน้ามันที่สุดคือหากมีการใช้
รถยนต์ส่วนตัวจะใช้น้ามันวันละประมาณ 44 บาท รถโดยสารประจาทางใช้น้ามันวันละ 32 บาท และรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนใช้
น้ามันเพียงวันละ 16 บาท เท่านั้น โดยสามารถขนถ่ายผู้โดยสารได้เป็นจานวนมาก อย่างน้อย 40,000 คน ต่อชั่วโมงต่อทิศทาง(ซึ่ง
มากกว่าการโดยสารรถประจาทาง รถแท็กซี่ หรือรถส่วนตัวหลายเท่า) จากการศึกษาพบว่ากรณีที่ก่อสร้างและเปิดบริการโครงการ
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ระยะทางเพียง 20 กิโลเมตร โครงการนี้จะให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจในรูปของการ
ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าน้ามันตลอดอายุสัมปทานประมาณ428,457 ล้านบาท แบ่งเป็นการประหยัดเวลาใน
การเดินทาง 386,766 ล้านบาท ประหยัดค่าใช้จ่ายของยวดยานและน้ามัน 41,691 ล้านบาท

More Related Content

Viewers also liked

พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9banlangkhao
 
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านTeacher Sophonnawit
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 

Viewers also liked (20)

พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
 
Design and fabrication of hydraulic lift
Design and fabrication of hydraulic liftDesign and fabrication of hydraulic lift
Design and fabrication of hydraulic lift
 
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคารการติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
lift ppt
lift pptlift ppt
lift ppt
 
Lift Design
Lift  DesignLift  Design
Lift Design
 
Lifts
LiftsLifts
Lifts
 
Elevators & Escalators
Elevators & EscalatorsElevators & Escalators
Elevators & Escalators
 
Lift
LiftLift
Lift
 

Similar to รายงานการวิจัย BTS เเละ MRT

อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...Pream Kung
 
2007 12 03 Airport Rail Link
2007 12 03 Airport Rail Link2007 12 03 Airport Rail Link
2007 12 03 Airport Rail LinkDMOZ
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[] พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[] Overview Biew
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)aekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606Angkana Potha
 
ศูนย์ประสานการบริการด้านการลงทุน
ศูนย์ประสานการบริการด้านการลงทุนศูนย์ประสานการบริการด้านการลงทุน
ศูนย์ประสานการบริการด้านการลงทุนThailand Board of Investment North America
 

Similar to รายงานการวิจัย BTS เเละ MRT (11)

อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
 
2007 12 03 Airport Rail Link
2007 12 03 Airport Rail Link2007 12 03 Airport Rail Link
2007 12 03 Airport Rail Link
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[] พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606
 
ศูนย์ประสานการบริการด้านการลงทุน
ศูนย์ประสานการบริการด้านการลงทุนศูนย์ประสานการบริการด้านการลงทุน
ศูนย์ประสานการบริการด้านการลงทุน
 

รายงานการวิจัย BTS เเละ MRT

  • 1. รายงานการวิจัย BTSและMRT จัดทาโดย นายกันต์ คงในสุข เลขที่ 18 ม.6/3 นายรัชพล เย็นเจริญ เลขที่ 27 ม.6/3 เสนอ ครู ฮาวารีย์มะเตฮะ วิชา IS 30202 โรงเรียนปทุมคงคา
  • 2. ความเป็นมาของ BTS หรือ รถไฟฟ้า  รถไฟฟ้าบีทีเอส เป็นรถไฟฟ้าสายแรกของประเทศไทยที่ดาเนินการ โดยบริษัท ระบบขนส่งมวลชน กรุงเทพ จากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นโครงการที่ลงทุนโดยเอกชนทั้ง 100 % เปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542 ใน 2 เส้นทาง คือสายสุขุมวิท ระยะทาง 17 กม. ได้รับชื่อพระราชทานว่า "รถไฟฟ้าเฉลิม พระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา สาย ๑" และเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2554 ได้เปิดให้บริการส่วนต่อขยาย สายสุขุมวิทอย่างเป็นทางการ ระยะทาง 5.25 กม. จากสถานีอ่อนนุชถึงสถานีแบริ่ง และสายสีลม ระยะทาง 6.5 กม. ซึ่งได้รับชื่อพระราชทานว่า "รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา สาย ๒" และเมื่อ วันที่ 23 สิงหาคม 2552 ได้เปิดให้บริการส่วนต่อขยายสายสีลมอย่างเป็นทางการ ระยะทาง 2.2 กม. จาก สถานีสะพานตากสินถึงสถานีวงเวียนใหญ่ และเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 ได้เปิดให้บริการส่วนต่อ ขยายสายสีลมเพิ่มขึ้นอีก2 สถานี ระยะทาง 2.17 กม. คือสถานีโพธิ์นิมิตรและสถานีตลาดพลู และในวันที่ 5 ธันวาคม 2556 ได้เปิดเพิ่มขึ้นอีก 2 สถานี คือสถานีวุฒากาศและสถานีบางหว้า ระยะทาง 3.8 กม. ซึ่งทา ให้มีระยะทางในการให้บริการรวม 36.9กม. ใน 34 สถานี
  • 3. ประวัติรถไฟฟ้าใต้ดิน หรือ MRT  รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล หรือรถไฟฟ้า MRT คือโครงการรถไฟฟ้าใต้ดินสายแรกของ ประเทศไทย ริเริ่มขึ้นเพื่อบรรเทาปัญหาการจราจรในกรุงเทพฯ ที่ได้สะสมต่อเนื่องมาจากการขยายตัวของ เมือง และจานวนประชากรที่มากขึ้นในกรุงเทพฯ เป็นระยะเวลาต่อเนื่องนับสิบปี  โครงการนี้เกิดขึ้นโดยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยมี การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่ง ประเทศไทย (รฟม.) เป็นเจ้าของโครงการและผู้ให้สัมปทาน มีหน้าที่จัดสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และมอบ สัมปทานการเดินรถให้แก่เอกชน คือ บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด (มหาชน) หรือ บีเอ็มซีแอล เป็นผู้ ให้บริการการเดินรถ  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม เฉลิมรัชมงคล อันมี ความหมายว่า งานเฉลิมฉลองความเป็นมงคลแห่งความเป็นพระราชา เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2542 และได้ เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิดการเดินรถ โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2547
  • 5. หลักการออกแบบ  สถานีรถไฟฟ้า ออกแบบให้หลบเลี่ยงสาธารณูปโภคใต้ดินและบนดินและรักษาสภาพผิวจราจรบนถนนมากที่สุด โดยทั่วไป ออกแบบให้มีโครงสร้างแบบเสาเดี่ยวตั้งอยู่บนเกาะกลางถนนเช่นเดียวกับโครงสร้างทางวิ่งโดยทั่วไป ระยะห่างของแต่ละ สถานีอยู่ที่ประมาณ800 – 1,000 เมตร โครงสร้างสถานีมีความยาวประมาณ 150 เมตร  1. Side Platform Station มีชานชาลาอยู่สองข้างโดยรถไฟฟ้าวิ่งอยู่ตรงกลางสถานีทั่วไปได้ออกแบบให้มีลักษณะแบบนี้ เนื่องจากก่อสร้างได้รวดเร็ว และใช้เนื้อที่น้อย  2. Centre Platform มีชานชาลาอยู่ตรงกลางและรถไฟฟ้าวิ่งอยู่สองข้างสถานีชนิดนี้มีประสิทธิภาพสูงกว่าแบบแรกแต่การก่อสร้างยุ่งยากกว่า เนื่องจากตัวรางต้องเบนออกจากกันเมื่อเข้าสู่สถานี ทั้งนี้ได้ออกแบบให้สถานีสยาม(สถานีร่วม) มีลักษณะดังกล่าวเนื่องจากมี ปริมาณผู้โดยสารเป็นจานวนมาก และเหมาะสาหรับการเปลี่ยนขบวนรถระหว่างสายสุขุมวิทกับสายสีลม
  • 6. สิ่งอานวยความสะดวก บันไดเลื่อน สถานีรถไฟฟ้ าบีทีเอสได้มีการติดตั้งบันไดเลื่อนเพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้โดยสารครบทุกสถานี ลิฟต์ จัดไว้เพื่อบริการผู้พิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ไม่สะดวกในการใช้บันได หรือบันไดเลื่อน โดยสถานีที่มีลิฟต์ให้บริการอยู่ ได้แก่ สถานี ช่องนนทรี สถานีสยาม สถานีหมอชิต สถานีอโศก สถานีอ่อนนุช สถานีบางจาก สถานีปุณณวิถี สถานีอุดมสุข สถานีบางนา สถานีแบริ่ง สถานีกรุงธนบุรี สถานีวงเวียนใหญ่ สถานีโพธิ์นิมิตร สถานีตลาดพลู สถานีวุฒากาศ และสถานีบางหว้า ป้ ายบอกทางและแผนที่ ภายในสถานีรถไฟฟ้ ามีป้ ายบอกทางและแผนที่ของแต่ละสถานี ซึ่งแสดงรายละเอียดสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ สวนสาธารณะ อาคาร สานักงาน ร้านค้า ห้างสรรพสินค้าและสถานที่สาคัญต่างๆ ที่อยู่ในบริเวณโดยรอบสถานี เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับผู้โดยสาร ศูนย์ข้อมูลนักท่องเที่ยว สาหรับนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ สามารถติดต่อขอข้อมูลด้านการท่องเที่ยวได้ที่ศูนย์ข้อมูลนักท่องเที่ยว ทั้ง 3 แห่ง ที่สถานีสะพานตากสิน พญาไท และสยาม
  • 8.  ศูนย์บริการของกรุงเทพมหานคร (BMA Express Service) บีทีเอสได้ร่วมมือกับกรุงเทพมหานครจัดตั้งศูนย์บริการBMA Express Service ขึ้นที่สถานีหมอชิตและสถานี สยาม เพื่อให้บริการงานบัตรประชาชนและงานทะเบียนอื่นๆแก่ประชาชนทั่วไป ร้านค้าและจุดบริการธุรกรรมด้านต่างๆ นอกจากการเดินทางที่สะดวกและรวดเร็วแล้วผู้โดยสารยังสามารถเลือกซื้อสินค้าหรือใช้บริการจากร้านค้าและจุดบริการ ธุรกรรมด้านต่างๆได้อีกด้วย อาทิเช่น จุดบริการงานไปรษณีย์จุดบริการของธนาคารพาณิชย์ต่างๆร้านตัวแทนจาหน่ายตั๋ว เครื่องบิน ร้านหนังสือ ร้านเบเกอรี่ ฯลฯ
  • 9. ระบบปฏิบัติการเดินรถ  รถไฟฟ้าบีทีเอสเป็นรถขนส่งมวลชนความจุสูงแบบมาตรฐานที่ใช้กันแพร่หลายในเมืองใหญ่ๆของหลายประเทศทั่วโลกขบวน รถใช้มอเตอร์ไฟฟ้าขับเคลื่อน วิ่งบนรางคู่ยกระดับ ความกว้างราง 1.435 เมตร (Standard gauge) แยกทิศทางไป และกลับมีรางจ่ายกระแสไฟฟ้า(Conductor rail หรือ Third rail system) อยู่ด้านข้าง ซึ่งมีความ ปลอดภัยสูงและไม่มีผลกระทบต่อทัศนียภาพระบบที่ใช้นี้เป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ มีความคล่องตัวสูง มีความจุมากกว่า 50,000 คนต่อชั่วโมงต่อทิศทาง  การควบคุมใช้ระบบคอมพิวเตอร์สั่งการ ในส่วนของระบบอาณัติสัญญาณถูกออกแบบให้มีความปลอดภัยสูงแม้เมื่อมีการ ขัดข้องของระบบเกิดขึ้น ระบบจะปรับไปสู่สถานะที่ยังคงให้ความปลอดภัยแก่ผู้โดยสารเสมอ โดยเฉพาะในเรื่องความ ปลอดภัยนั้น ระบบปฏิบัติการเดินรถของบีทีเอสมีระบบควบคุมต่างๆรองรับอยู่เช่น ระบบป้องกันการชน ระบบควบคุม ความเร็ว เป็นต้น จึงทาให้มั่นใจได้ว่ารถไฟฟ้าบีทีเอสเป็นระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ที่มีความปลอดภัยอยู่ในระดับสูงและ เป็นที่ยอมรับตามมาตรฐานสากล
  • 10. โครงสร้างอุโมงค์MRT  รางเป็นแบบรางคู่ตามมาตรฐาน UIC 54 ซึ่งมีขนาดความกว้าง 1435 มม.ในช่วง  ทางตรง และกว้าง 1438-1441 มม. ในช่วงทางโค้ง สาหรับรถไฟฟ้าใต้ดินใช้ราง  จ่ายกระแสไฟฟ้าหรือรางที่ 3 (Third Rail) เพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้า โดยวิ่งคู่ขนานไป  กับรางตลอดเส้นทาง ยกเว้นในช่วง จุดสับราง รางนั้นมีความแตกต่างกันในส่วน  ของเส้นทางหลัก (อุโมงค์) กับเส้นทางในศูนย์ซ่อมบารุง โดยรางในเส้นทางวิ่ง  หลัก จะใช้วิธียึดรางโดยตรงเข้ากับฐานรางซึ่งทาด้วยคอนกรีต เสริมเหล็ก  (Direct Fixation) เพื่อประสิทธิภาพในการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วของรถไฟฟ้า  เป็นระบบอุโมงค์คู่รางเดี่ยวคือ มีอุโมงค์2 อุโมงค์ขนานกัน และแต่ละ  อุโมงค์จะเดินรถทางเดียวในช่วงเวลาการเดินรถปกติ โครงสร้างอุโมงค์เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก  ที่ถูกออกแบบให้มีลักษณะยืดหยุ่น และมีระบบกันน้าซึมเข้าในอุโมงค์  ภายในอุโมงค์มีการติดตั้งรางวิ่งรถไฟ รางที่สาม ทางเดินซ่อมบารุง อุปกรณ์ระบบระบายอากาศ  ระบบดูดอากาศใต้ชานชาลา และระบบตรวจจับความร้อน
  • 11. ระบบไฟฟ้าของ MRT  ระบบไฟฟ้ าของโครงการฯ (Power Supply)  จัดสร้างสถานีไฟฟ้าย่อยประธาน สถานีพร้อมอุปกรณ์ไฟฟ้าเพื่อจ่ายไฟให้กับระบบขับเคลื่อนรถไฟฟ้าตลอดจนระบบไฟใน สถานีและอุโมงค์โดยรับไฟจากการไฟฟ้านครหลวง สองแห่งคือ สถานีไฟฟ้าย่อยรัชดาและสถานีไฟฟ้าย่อยบางกะปิ เข้าสู่ สถานีไฟฟ้าย่อยประธานของระบบรถไฟฟ้าบริเวณศูนย์ซ่อมบารุง เพื่อจ่ายไฟให้แก่สถานีส่วนเหนือ ส่วนใต้บริเวณศูนย์ซ่อม บารุง ตามลาดับ ถึงแม้ว่าเกิดไฟฟ้าดับจากสถานีย่อยของการไฟฟ้านครหลวงหนึ่งสถานี สถานี ไฟฟ้าย่อยที่เหลือก็ยังสามารถ จ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับระบบทั้งหมดได้โดยไม่มีผลกระทบต่อการให้บริการ และยังมี เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองที่ศูนย์ซ่อม บารุงทดแทน เพื่อจ่ายให้กับอุปกรณ์สาคัญในสถานี ในกรณีไฟฟ้าจากกฟน. ดับ ทั้งสองสถานีย่อยอุปกรณ์ในระบบไฟฟ้า
  • 13.
  • 14. ประโยชน์ของ BTS และ MRT สามารถช่วยทาให้การเดินทางในกรุงเทพฯมีความคล่องตัวและสะดวกสบายมากขึ้น การติดขัดของการจราจรใน กทม. เป็นสาเหตุให้รถยนต์ประเภทต่างๆบนท้องถนนต้องเลือกใช้เส้นทางอ้อมอื่นๆทาให้เดินทางมาก ขึ้นกว่าที่ควรจะเป็น คิดเป็นระยะทาง 1,713 ล้านกิโลเมตรต่อปี รวมทั้งต้องใช้ปริมาณน้ามันเพิ่มขึ้นจากการเดินรถด้วยความเร็วต่า อีกประมาณ 2,500 ล้านลิตรต่อปี (ประมาณ 45% ของการใช้น้ามันประจาวัน) โดยความสูญเสียน้ามันทั้งหมดจากการติดขัดของ การจราจรจะคิดเป็นมูลค่ารวมประมาณ 12,000 ล้านบาทต่อปี ดังนั้น หากมีการสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนให้ครอบคลุมพื้นที่ กรุงเทพฯ และปริมณฑลจะสามารถลดความสูญเสียดังกล่าวได้ จากการศึกษาเปรียบเทียบกับระบบขนส่งอื่นๆ พบว่าระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนเป็นระบบที่ประหยัดน้ามันที่สุดคือหากมีการใช้ รถยนต์ส่วนตัวจะใช้น้ามันวันละประมาณ 44 บาท รถโดยสารประจาทางใช้น้ามันวันละ 32 บาท และรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนใช้ น้ามันเพียงวันละ 16 บาท เท่านั้น โดยสามารถขนถ่ายผู้โดยสารได้เป็นจานวนมาก อย่างน้อย 40,000 คน ต่อชั่วโมงต่อทิศทาง(ซึ่ง มากกว่าการโดยสารรถประจาทาง รถแท็กซี่ หรือรถส่วนตัวหลายเท่า) จากการศึกษาพบว่ากรณีที่ก่อสร้างและเปิดบริการโครงการ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ระยะทางเพียง 20 กิโลเมตร โครงการนี้จะให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจในรูปของการ ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าน้ามันตลอดอายุสัมปทานประมาณ428,457 ล้านบาท แบ่งเป็นการประหยัดเวลาใน การเดินทาง 386,766 ล้านบาท ประหยัดค่าใช้จ่ายของยวดยานและน้ามัน 41,691 ล้านบาท