SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ประจาเดือน ตุลาคม-พฤศจิกายน 2558
ผู้จัดทา ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
งานการพยาบาลจักษุ โสต ศอ นาสิกฯ ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี
หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกโสต ศอ นาสิก ฝ่ายการพยาบาลฯ สมเด็จพระเทพรัตน์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
FB : ผรส รามา
https://www.facebook.com/LaryngectomeeRama
Email/Facebook : ent.rama.inf@gmail.com
Line ID : 003055 Tel. 0917746482
ทุนมูลนิธิรามาธิบดี รหัส 3213008
บรรณาธิการ : พยาบาลวิชาชีพ สุทธินี สุดใจ
ที่ปรึกษาชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
สวัสดีค่ะท่านสมาชิกผู้ไร้กล่องเสียงทุกท่าน ขณะนี้สมาชิกของ
เราฝึกพูดได้ชัดเจนขึ้นแล้ว ขาดแต่สมาชิกใหม่ที่ยังอยู่ในกระบวนการ
รักษาที่ยังไม่เข้ามาฝึกพูด ครูฝึกสมาชิกอาสาอยู่นะคะ พบกันทุกเช้าวัน
อังคาร เวลา 8-11 น. ที่ศูนย์เสริมพลังสร้างสุขภาพ อาคารเรียนรวมชั้น 1
ค่ะ ช่วงเดือนนี้เราได้รับความรู้เรื่องอาหารลดเค็มและการเลือก
รับประทานอาหารจากคุณพยาบาลวาสนา หน่วยสร้างเสริมสุขภาพเป็น
เวลา 4 สัปดาห์ ทั้งสนุกและได้ความรู้มากมาย โอกาสหน้าคงได้จัดเรื่อง
การหายเฉพาะโรคกันบ้าง
ส่วนข่าวดีของชมรมฯ ทางคณะได้อนุมัติงบประมาณสนับสนุน
ของปีงบประมาณหน้าแล้ว ต้องกราบขอบพระคุณคณะแพทยศาสตร์
โรงพยาบาลรามาธิบดีและท่านผู้บริจาคทุกท่านค่ะ
2 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
สารบัญ
หน้าที่
บรรณาธิการ 2
บทความวิชาการเรื่อง
- การรับรู้กลิ่นของผู้ไร้กล่องเสียง 4
- การเตรียมตัว เตรียมใจก่อนผ่าตัด 10
เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง 18
ข่าวสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง 26
ที่ปรึกษา
พยาบาลวิชาชีพสุทธินี สุดใจ
Line : 003055 เบอร์โทร : 0917746482 FB : ผรส รามา
Email : ent.rama.inf@gmail.com IG : tlg_rama
https://www.facebook.com/LaryngectomeeRama
รองศาสตราจารย์ดรุณี ชุณหะวัต
Line : เบอร์โทร : 0841060202 Email : radjh1@yahoo.com
พยาบาลวิชาชีพอารยา พริกบุญจันทร์
เบอร์โทร : 022004069 เวลา 8-9 น. วันราชการ
คุณชัยณรงค์ ศรีปราโมช ประธานชมรมฯ 0865403503
คุณเซี้ยง ฉิมมณี ที่ปรึกษาฯ 0851560394
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 3
บทความวิชาการเรื่อง การรับรู้กลิ่นของผู้ไร้กล่องเสียง
โดย รองศาสตราจารย์ดรุณี ชุณหะวัต
การรับกลิ่นเป็นการทางานงานที่ซับซ้อนระหว่างจมูกและสมอง
ส่วนหน้าบริเวณที่เรียกว่าออลแฟกทอรี่บัลบ์ (olfactory bulb) เพื่อส่งต่อ
สัญญาณไปยังสมองส่วนซีรีบรัม (Cerebrum) ให้แปลข้อมูลว่าเป็นกลิ่น
อะไร หอมหรือเหม็น การรับรู้กลิ่นช่วยในการอยู่รอดของมนุษย์ทาให้
รับรู้คุณภาพของอาหารเป็นสัญญาณเตือนภัยให้มนุษย์และสัตว์อื่นๆ
รู้ล่วงหน้าว่าภัยใกล้จะถึงตัว
การได้กลิ่นของจมูกนั้นเกิดขึ้นเมื่อเราหายใจเอาอากาศซึ่งมี
โมเลกุลของสิ่งที่ทาให้เกิดกลิ่นปะปนอยู่เข้าไปสัมผัสกับเซลล์ประสาท
รับกลิ่น (olfactory receptor cell) ซึ่งอยู่ใต้เยื่อบุจมูกบริเวณเพดาน
ภายในช่องจมูกแล้วจะส่งสัญญาณไปยังสมอง สมองก็จะแปลข้อมูล
และบอกเราได้ว่ากลิ่นที่เข้ามากระทบกับจมูกของเรานั้นเป็นกลิ่นอะไร
โดยกลิ่นที่จะกระตุ้นเซลล์ประสาทรับกลิ่นได้ดีนั้นจะต้องมีคุณสมบัติ
ดังนี้
4 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
-บทความวิชาการ-
1. ระเหยได้ดีในอากาศ เพื่อสูดผ่านเข้าจมูกได้
2. ละลายน้าได้ดีเพื่อผ่านเยื่อบุจมูกไปสู่เซลล์รับกลิ่นได้
3. ละลายได้ดีในไขมัน เนื่องจากเซลล์รับกลิ่นมีสารไขมันเป็ น
องค์ประกอบ
ภาพที่ 1 โครงสร้างภายในจมูก
การรับกลิ่นและการรับรสเป็ นประสาทสัมผัสพิเศษที่มี
ความสัมพันธ์กันอย่างมาก เนื่องจากมนุษย์เราจะนาการรับกลิ่นไปร่วม
แปลเป็นความรู้สึกของการรับรสด้วย เช่น เมื่อเราเป็นหวัด จมูกไม่ค่อย
ได้กลิ่น เราจะรู้สึกว่ารสชาติของอาหารไม่ค่อยอร่อย ทั้งที่การรับรสของ
เรายังปกติดี ผู้ป่วยที่มีปัญหาการรับกลิ่นได้น้อยลงนอกจากจะทาให้
ความพึงพอใจในรสชาติของอาหาร และกลิ่นหอมของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 5
เซลล์ประสาทรับกลิ่น
-บทความวิชาการ-
น้อยลงแล้ว ยังอาจทาให้ขาดสันญาณเตือนภัยในการดารงชีวิต เช่น
อันตรายจากการเกิดแก๊สรั่ว หรือการกินอาหารบูดเน่า
ปัญหาการรับกลิ่นได้น้อยลงมีสาเหตุใหญ่ ๆ 3 ประการ คือ
อุบัติเหตุทางสมอง การติดเชื้อไวรัสของจมูก โรคทางช่องโพรงจมูก
และไซนัส จมูกไม่ได้กลิ่นในผู้ไร้กล่องเสียง นอกจากนี้ยังมีสาเหตุอื่นๆ
ที่อาจพบได้บ้าง เช่น การสูดรับสารพิษอย่างรุนแรง โรคทางระบบ
ประสาทและโรคพันธุกรรมบางอย่าง โรคทางเมตะบอลิสม เช่น
เบาหวาน ภาวะต่อมไทรอยด์ทางานน้อยกว่าปกติ นอกจากนี้อาจเป็น
การเสื่อมสภาพของประสาทรับกลิ่นไปตามอายุอีกด้วย
การสูญเสียการรับกลิ่นจากอุบัติเหตุทางสมองมักเกิดจากการ
กระแทกที่รุนแรงทางด้านหน้าหรือท้ายทอย ทาให้เกิดการกระชากอย่าง
รุนแรงของประสาทรับกลิ่นที่ผ่านลงมาในช่องจมูก นอกจากนี้หากมี
การแตกหักของกระดูกบริเวณรอบๆ ประสาทรับกลิ่น ก็อาจทาให้ปลาย
ประสาทขาดได้ ผู้ป่วยไม่จาเป็นต้องสลบ ผู้ป่วยอาจรู้สึกทันทีว่ามีการ
สูญเสียการดมกลิ่นอย่างฉับพลัน หรือทราบภายหลังอุบัติเหตุไม่นาน
นัก เมื่อเริ่มสังเกตว่าไม่ได้กลิ่น การสูญเสียการรับกลิ่นจากกรณีนี้
อาจจะมีโอกาสกลับมาปกติได้เอง โดยเฉพาะภายหลังรักษา 6 เดือนแรก
6 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
-บทความวิชาการ-
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าปลายประสาทมีการถูกทาลายไปมากน้อยเพียงใด
การสูญเสียการรับกลิ่นจากการอุดตันของช่องจมูกหรือบริเวณ
รับกลิ่นบริเวณเพดานโพรงจมูก จะทาให้กลิ่นไม่สามารถขึ้นไปกระตุ้น
ปลายประสาทรับกลิ่นได้ อาจเป็นจากการอักเสบของโพรงจมูก จาก
หวัดภูมิแพ้ (Allergic rhinitis) จมูกอักเสบหรือไซนัสอักเสบ ซึ่งทาให้
เยื่อบุช่องโพรงจมูกบวม หรือริดสีดวงจมูก เนื้องอกของช่องจมูกและ
โพรงไซนัสที่อุดตันบริเวณรับกลิ่น ผู้ป่วยในกลุ่มนี้มักมีอาการทางจมูก
อื่นๆ ร่วมด้วย เช่น อาการคัดจมูก น้ามูกไหลหรืออาการอื่นๆ ของโรค
นั้นๆ อาการไม่ได้กลิ่นจะค่อยเป็นค่อยไป บางครั้งได้กลิ่นดีและแย่ลง
สลับกันไปมาขึ้นอยู่กับอาการคัดจมูก การสูญเสียการรับกลิ่นจาก
สาเหตุนี้สามารถทาการรักษาได้ดี โดยทาการรักษาโรคที่เป็นต้นเหตุให้
ช่องโพรงจมูกบวมและอุดตัน ทั้งโดยการใช้ยาและวิธีผ่าตัด ขึ้นอยู่กับ
ความรุนแรงของโรคที่เป็นสาเหตุนั้น ๆ
การสูญเสียการรับกลิ่นในผู้ไร้กล่องเสียง
การสูญเสียการรับกลิ่นในผู้ไร้กล่องเสียงนั้นเกิดจากการเปลี่ยน
ทางเดินของอากาศที่หายใจ โดยหายใจเข้าออกผ่านทางรูหายใจที่ลาคอ
(stoma) ซึ่งไม่มีช่องทางติดต่อกับจมูก ฉะนั้นโมเลกุลของกลิ่นที่ปนไป
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 7
-บทความวิชาการ-
กับลมหายใจจึงไม่สามารถสัมผัสกับเซลล์ประสาทรับกลิ่น (olfactory
receptor cell) ซึ่งอยู่ใต้เยื่อบุจมูกบริเวณเพดานภายในช่องจมูก จึงไม่มี
สัญญาณไปสู่สมอง เราจึงไม่ได้กลิ่น แต่อย่างไรก็ตามเซลล์ประสาท
รับกลิ่นของผู้ไร้กล่องเสียงยังสามารถทางานได้ หากผู้ไร้กล่องเสียง
จัดการให้โมเลกุลของกลิ่นได้เข้าไปสัมผัสกับเซลล์ประสาทรับกลิ่นได้
ผู้ไร้กล่องเสียงก็สามารถรับรู้กลิ่นต่างๆได้ ทั้งยังช่วยให้เซลล์ประสาท
รับกลิ่นคงหน้าที่ต่อไปได้
ภาพที่ 2 เส้นทางลมหายใจปกติและของผู้ไร้กล่องเสียง
8 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
ทางเดินหายใจปกติทางเดินหายใจหลังตัดกล่องเสียง
ออก
รูหายใจที่คอ
-บทความวิชาการ-
การฝึกการดมกลิ่น
มีผู้ไร้กล่องเสียงจานวนไม่น้อยที่ไม่สามารถรับรู้กลิ่น จึงขอ
แนะนาให้ฝึกดมกลิ่นอาหารทุกวัน โดย
1. ฝึกสูดลมจากสิ่งที่มีกลิ่นที่ชอบเข้าทางจมูกทุกวัน เช่น กลิ่นกาแฟ
ร้อนๆ กลิ่นดอกไม้กลิ่นยาดม กลิ่นมะนาว เป็นต้น
2. ฝึ กการดมกลิ่นโดยการหาวอย่างสุภาพ (polite yawning) ซึ่ง
แนะนาให้ผู้ที่สูดดมทางจมูกไม่ได้ตามข้อที่หนึ่ง ดังนี้ ให้หาวโดยสูดลม
เข้าทางปากยาวๆ แล้วหุบปากให้สนิทพร้อมทั้งลดขากรรไกรล่างลง
โดยการก้มเล็กน้อย เพื่อดันให้ลมในปากผ่านออกทางจมูก ทาให้สาร
ที่มีกลิ่นที่สูดเข้าทางปากขณะหาว ไปสัมผัสเซลล์ประสาทรับกลิ่นได้
ทาเช่นนี้ซ้าๆ เร็วๆ หลายๆ ครั้ง จะช่วยให้รับรู้กลิ่นได้
จากงานวิจัยที่ผ่านมาพบว่าวิธีฝึกโดยการหาวช่วยให้การรับรู้
กลิ่นได้ดีขึ้น
เอกสารอ้างอิง
Arch Otolaryngol Head Neck Surg 2006;132:301-306.
The Royal College of Otolaryngologists Head and Neck Surgery of Thailand
http://www.rcot.org/data_detail.php?op=knowledge&id=26
http://www.il.mahidol.ac.th/emedia/nervous/3_7.htm
http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=70454
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 9
บทความวิชาการ
การเตรียมตัว เตรียมใจ ก่อนผ่ากล่องเสียงออกทั้งหมด
พว สุทธินี สุดใจ
ก่อนอื่น เตรียมใจค่ะ เตรียมใจจริงๆ ทาใจให้เย็นเย็น
- ต้องฝึกพูดช้าๆ ชัดๆ เป็นคาๆ เน้นริมฝีปาก คนอื่นจะได้อ่านปาก
ออก เตือนตัวเองว่า กว่าจะฝึกพูดคล่องแคล่วได้ประมาณสามถึงสี่เดือน
อย่าใจร้อน
- หลังเตรียมใจก็เตรียมกาย ทานไปเรื่อยๆ เน้นโปรตีน อาหารย่อย
ง่าย จาไว้ โปรตีนที่รับประทานไปวันนี้อีกหลายวันถึงจะใช้ได้ จึงต้อง
ตุนเอาไว้แผลจะได้หายเร็วๆ งดสุราสองอาทิตย์งดบุหรี่สองเดือน แต่
หมอนัดผ่าตัดมีเวลาแค่หนึ่งเดือน จึงต้องงดเลย ฝึกหายใจเข้าออกลึกๆ
จะพบอะไรบ้างหลังผ่าตัด
วินาทีแรกคือ หายใจที่คอ แล้วจะหายใจได้อย่างไร ??? เวลาหายใจเข้า
ให้ปอดขยาย ซี่โครงขยาย หายใจออกให้ปอดแฟบ พ่นลมออกทาง
ลาคอ ช่วงแรกๆ อาจรู้สึกแสบคอเล็กน้อยเพราะอากาศข้างนอกแห้งจะ
ระคายเคืองเยื่อบุทางเดินหายใจ ควันออกซิเจนจะช่วยให้ชุ่มชื้น
ช่วงแรกอาจรู้สึกอึดอัด ให้หายใจเข้า หายใจออก สบายๆ แล้วจะเริ่มชิน
อีกประมาณวันหรือสองวันจะมีเสมหะใสๆ ไหลออกมา ให้เช็ดทาความ
10 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
-บทความวิชาการ-
สะอาดเสมหะให้สะอาดทุกครั้งที่ไอออกมา โดยที่เวลาไอ ต้องตั้งสติ
หายใจเข้า-ออก ช้าๆ ลึกๆ ประมาณสองถึงสามครั้ง ให้รู้สึกว่ามีแรงอัด
อากาศจากด้านใน ไอแรงๆ หนึ่งครั้ง เหมือนออกเสียง “เฮ่อะ” ช่วยให้
เสมหะหลุดออกมาจากท่อหายใจ หรือรูหายใจ ให้รีบใช้ทิชชูเช็ดเสมหะ
ที่ออกมารอบท่อหายใจและบริเวณที่เปื้ อนรอบท่อหายใจออกให้หมด
เช็ดแล้วทิ้งไป ถ้ายังไอออกไม่หมดและควบคุมการหายใจไม่ได้ ให้พับ
ทิชชูด้านที่มีเสมหะไว้ มิให้สูดเสมหะกลับเข้าไป แล้วให้หายใจเข้า-
ออก ช้าๆ เบาๆ สองถึงสามครั้งจนรู้สึกว่ามีลมเข้าไปด้านในท่อหายใจ
แล้วค่อยไอออกมาแรงๆ เหมือนออกเสียง “เฮ่อะ” และเช็ดเสมหะออก
ให้หมด ถ้ายังไอเอาเสมหะออกไม่หมดให้ทาซ้า อย่าลืมหายใจเข้า-ออก
อย่าไอๆ ถี่ จะทาให้หอบเหนื่อยและยังไม่มีแรงขับเสมหะออกมาด้วย
เรื่องต่อมา ท่อและสายต่างๆ จะมีสายให้อาหารที่จมูก 1 สาย สายระบาย
เลือดและน้าเหลืองที่ลาคอ 2 สาย สายน้าเกลือ??? วันแรกอาจมีหลาย
สาย และสายสวนปัสสาวะที่มีแค่สายเดียว สายต่างๆ จะค่อยๆ ปลดและ
ลดลงทุกวัน ยกเว้นสายให้อาหารทางจมูก ในระหว่างที่ใส่สายระบาย
เลือดและน้าเหลือง สายระบายปัสสาวะจะต้องวางต่าๆ ต่ากว่าบริเวณที่
ใส่สาย เพื่อป้ องกันสิ่งคัดหลั่งไหลย้อนกลับเข้าไปที่แผลหรือทางเดิน
ปัสสาวะ สายต่างๆ ให้วางไว้ลักษณะสายหย่อนๆ เล็กน้อย อย่าใช้มือ
วางหรือทับบริเวณสาย เพราอาจทาให้สายหลุดได้เมื่อมีการขยับตัว
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 11
-บทความวิชาการ-
สายที่จมูก ห้ามหลุด สายที่จมูกเป็นสายให้อาหารผ่านทางกระเพาะ
อาหารโดยตรง ส่วนประโยชน์ในการใส่สายให้อาหารทางจมูก
ประการแรกเอาไว้รับประทานอาหาร โดยใส่อาหารปั่นหรืออาหารทาง
การแพทย์ลงสู่กระเพาะอาหารโดยตรง ทาให้สามารถคานวณแคลอรี่
อาหารที่ได้รับให้เพียงพอต่อการหายของแผลหลังผ่าตัด ช่วยทาให้
ระบบการทางานของระบบทางเดินอาหารทางานได้เป็นปกติ ลด
ภาวะแทรกซ้อนจากการงดรับประทานอาหารเพื่อเตรียมผ่าตัด และลด
ภาวะแทรกซ้อนเรื่องการติดเชื้อและรูทะลุที่แผลผ่าตัดถ้าต้อง
รับประทานอาหารทางปากผ่านแผลผ่าตัด ประการที่สองเอาไว้ถ่างขยาย
แผลที่เย็บซ่อมหลอดอาหารไว้เพราะเวลาแผลหาย เนื้อเยื่อของบางท่าน
อาจเกิดการหดตัวและรัดแน่นจนทาให้หลอดอาหารตีบแคบ สายให้
อาหารที่ผ่านเข้าไปจะเข้าไปถ่างขยายไว้ เมื่อแผลแห้งดีแล้วจะเหลือ
ช่องทางที่ใหญ่พอที่ช่วยให้อาหารผ่านได้ ถ้าสายให้อาหารที่จมูกหลุด
จะไม่ใส่ให้ใหม่ เพราะเสี่ยงต่อการเกิดแผลแยกหรือแผลทะลุ แต่จะต้อง
ให้สารน้าทางหลอดเลือดทดแทนทั้งหมดแทน ซึ่งสารน้าที่มีความ
เข้มข้นสูงนั้นจะกระตุ้นให้หลอดเลือดและเนื้อเยื่อโดยรอบเกิดการ
อักเสบได้ง่าย ทาให้เกิดการบวม แดง ร้อน และปวดบริเวณที่ให้สารน้า
ส่วนสายระบายที่ข้างลาคอเอาไว้ระบายน้าเลือดและน้าเหลืองที่แผล
ผ่าตัด ป้องกันมิให้มีเลือดหรือน้าเหลืองที่มากผิดปกติที่แทรกอยู่ที่แผล
12 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
-บทความวิชาการ-
ผ่าตัดซึ่งจะทาให้เนื้อเยื่อไม่สามารถสมานกันได้ เวลาลุกนั่งหรือขยับตัว
ให้ทาให้สายหย่อนๆ อย่าวางพาดไว้ใกล้มือ เวลาขยับตัวจะได้ไม่ตึงรั้ง
จนสายหลุด เพราะถ้าสายหลุดอาจต้องไปทาผ่าตัดใหม่เพื่อระบายเลือด
และน้าเหลือง แต่แผลจะหายช้ากว่าเดิม ส่วนสายระบายปัสสาวะ จะ
ใส่ไว้ 1 วัน หรือจนกว่าจะลุกนั่งได้ดี ถ้าสามารถเคลื่อนไหวเองได้ จะ
นาสายสวนปัสสาวะออก เพื่อลดการติดเชื้อบริเวณทางเดินปัสสาวะ
เรื่องของแผล สามถึงสี่วันแรกหลังผ่าตัดบริเวณลาคอจะถูกพันด้วย
ผ้าก๊อสอย่างหนา ลักษณะเหมือนใส่เผือกที่ลาคอ เพื่อช่วยกดห้ามเลือด
แต่แท้จริงแล้วแผลที่ลาคอเป็นเพียงรอยแผลผ่าตัดเท่านั้น ช่วงที่พันผ้า
ไว้แน่นๆ จะขยับคอได้น้อย ควรบริหารร่างกายด้วยตนเองด้วย โดยหลัง
ผ่าตัดวันแรกให้นอนศีรษะสูงเล็กน้อย วันที่สองให้นั่งที่เตียงโดยไขหัว
เตียงสูงและพิงเตียงไว้ อาจใช้หมอนรองบริเวณใต้รักแร้เพื่อพยุงตัวได้
การนั่งและการขยับตัวจะช่วยให้ลาไส้ทางานได้ดีขึ้นหลังจากงดอาหาร
ทางปากเพื่อเตรียมตัวก่อนผ่าตัด ในวันที่สามนั่งห้อยขาที่ข้างเตียง ถ้าไม่
เวียนศีรษะให้นั่งข้างเตียง โดยนั่งเก้าอี้ที่มีพนักพิงได้ ในวันที่สี่หลัง
ผ่าตัด ให้เดินรอบๆ เตียง ในวันที่ห้าถ้าไม่มีอาการผิดปกติให้ไปห้องน้า
เองได้ จะได้ไปทาธุระส่วนตัวได้สะดวกมากขึ้น การเดินช่วยทาให้
ลาไส้เคลื่อนไหวและทางานดีขึ้น ร่วมกับเป็นวันที่ได้รับอาหารทางสาย
ให้อาหารมาสองสามวัน จะได้ไปขับถ่ายอุจจาระที่ห้องน้าได้สะดวกขึ้น
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 13
-บทความวิชาการ-
วันที่หกหายป่วย อยู่ครบเจ็ดวันรอกลืนแป้ ง ถ้ามีการรายงานผลการ
ตรวจว่าไม่มีอาการผิดปกติแล้วแพทย์จึงจะอนุญาตให้รับประทาน
อาหารทางปากได้ ท่านจะได้เริ่มจิบน้าและดื่มน้าหวานทางปากก่อน
ร่วมกับการให้อาหารทางสายให้อาหารไปก่อน เวลาเริ่มดื่มน้าหรือ
รับประทานอาหารให้เริ่มตั้งใจกลืนทีละคา เพื่อให้กล้ามเนื้อที่ใช้ในการ
กลืนทุกส่วนทางาน ถ้าแผลแห้งและติดดีก็เริ่มขยับแขน ขยับไหล่ เพื่อที่
รอยรั่วหรือรูทะลุที่แผลผ่าตัด ไหล่และลาคอจะได้ไม่ตึง ลดอาหารปวด
เกร็งกล้ามเนื้อบริเวณหัวไหล่และลาคอ
ที่สาคัญหลังผ่าตัดภายใน 7 วันแรก เวลาขยับตัวห้ามเงยหน้า เพราะ
บริเวณในลาคอจะเย็บด้วยไหมละลาย โดยปกติการผ่าตัดเนื้อเยื่อมะเร็ง
จะมีการตัดเนื้อเยื่อปกติรอบๆ ออกด้วย เพื่อลดการกระจายของมะเร็ง
ดังนั้นถ้าบริเวณที่ทาผ่าตัดมีเนื้อเยื่อที่ตรวจพบว่าไม่เป็นมะเร็งเหลือน้อย
การเย็บแผลอาจทาให้แผลตึงและอาจฉีกขาดง่าย ซึ่งโดยปกติเวลาลุกนั่ง
จากที่นอนเรามักจะเงยหน้าเพื่อการทรงตัว ดังนั้นเพื่อลดความเสี่ยงใน
การเกิดแผลแยก เวลาลุกนั่งให้ก้มศีรษะลงเล็กน้อย วันแรกๆ หลังผ่าตัด
ให้ญาติหรือเจ้าหน้าที่ช่วยประคองศีรษะและไหล่เวลาลุกนั่ง โดยเวลา
นั่งคุย ให้นั่งคุยได้ปกติแต่ตามห้ามแหงนหน้า แต่ถ้ามีคาสั่งแพทย์ให้
ปฏิบัติตนในการจากัดการเคลื่อนไหวหลังผ่าตัด ต้องปฏิบัติตนอย่าง
เคร่งครัด เนื่องจากแพทย์จะช่วยประเมินความเสี่ยงในขณะทาการผ่าตัด
14 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
-บทความวิชาการ-
ผู้ป่วยสามารถสอบถามการปรับเปลี่ยนการรักษากับแพทย์เจ้าของไข้ได้
ทุกวันตอนเช้า เมื่อแพทย์มาตรวจเยี่ยมซึ่งแพทย์จะพิจารณาจากการหาย
ของแผลผ่าตัด ควรเตรียมตัวโดยการเขียนใส่กระดาษไว้ให้แพทย์อ่าน
ในขณะตรวจเยี่ยมตอนเช้า
ห้ามกลืนน้าลาย จนกว่าจะได้กลืนแป้ ง เนื่องจากในน้าลายอุดมไปด้วย
เชื้อโรค เป็นเชื้อโรคที่ช่วยป้ องกันเชื้อโรคจากภายนอกเข้าสู่ร่างกาย แต่
ถ้ามีแผลในช่องปากหรือลาคอจะทาให้แผลติดเชื้อ ทาให้แผลไม่หาย
และเกิดรูทะลุได้ จึงต้องบ้วนน้าลายทิ้งและบ้วนปากด้วยน้าเกลือบ่อยๆ
เพื่อลดปริมาณเชื้อโรคในช่องปาก ปัจจุบันให้บ้วนน้าลายทิ้งจนกว่าจะ
กลืนแป้ งซึ่งใช้เวลา 7 วัน แต่เวลานอนอาจเผลอกลืนน้าลายได้บ้าง เรา
จึงต้องดูแลความสะอาดในช่องปากอยู่เสมอเพื่อลดปริมาณเชื้อโรคใน
ช่องปากให้ตกค้างอยู่น้อยที่สุด แต่ยังห้ามรับประทานอาหารทุกชนิด
ทางปากอย่างน้อยเป็ นเวลา 7 วัน หรือจนกว่าจะได้กลืนแป้ ง และมี
รายงานผลการตรวจพบว่าไม่มีรูทะลุที่แผลผ่าตัดก่อน
เราต้องสังเกตอาการผิดปกติอะไรบ้าง
1. มีไข้หรืออุณหภูมิร่างกายเกิน 38.5 องศาเซลเซียส ภายหลังผ่าตัด
ใน 24 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัด หรือมีไข้สูงในวันหลัง มีอาการ บวม แดง
ร้อน มีสารคัดหลั่งสีผิดปกติ มีกลิ่นไม่พึงประสงค์ที่แผลผ่าตัด มีรูทะลุ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 15
-บทความวิชาการ-
ที่แผลผ่าตัด ที่แสดงถึงการติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
2. ถ้ามีการบวมบริเวณหน้าและคาง ที่แสดงการคั่งของน้าเหลืองหลัง
ผ่าตัด ให้นอนศีรษะสูง หายใจเข้าออกลึกๆ ถ้ามีอาการบวมด้านไหน
ให้เอียงไปด้านตรงข้าม ยกเว้นกรณีมีข้อห้าม ที่สาคัญ ห้ามถู ห้ามนวด
3. ส่วนในผู้ที่ผ่าตัดไทรอยด์ออกทั้งหมดร่วมด้วย ให้สังเกตอาการชา
ชารอบแผล ชาปลายมือ ปลายเท้า มือจีบ เกร็ง เป็นตะคริว หายใจเร็ว
เกิดได้ตั้งแต่หลังผ่าตัด ถ้าเริ่มมีอาการให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ทันที เพราะ
อาจมีภาวะแคลเซี่ยมต่า ซึ่งแต่ละคนมีการตอบสนองต่อภาวะแคลเซี่ยม
ในเลือดผิดปกติไม่เหมือนกัน บางคนมีภาวะแคลเซี่ยมต่ามากก็ไม่เกิด
อาการแต่บางคนมีภาวะในเลือดต่าเล็กน้อยก็มีอาการ และภาวะ
แคลเซี่ยมในกระแสเลือดต่าก็ไม่ได้เกิดในผู้ที่ทาผ่าตัดไทรอยด์ออก
ทั้งหมดทุกคน เมื่อมีอาการจึงต้องรีบแจ้งเจ้าหน้าที่ทันทีนะคะ เพราะ
ต้องรีบตรวจเลือด รีบให้ยาฉีด มิเช่นนั้นอาจมีอาการเป็นตะคริวเข้า
หัวใจ ช่วยไม่ทัน บางท่านอาจมีอาการหายใจเร็ว ให้บอกตนเองว่าให้
หายใจเข้าออกช้าๆ ลึกๆ ไม่ต้องตกใจหรือวิตกกังวลมาก เพราะจะทาให้
เกิดอาการมากขึ้น การฝึกหายใจและฝึกเกร็งคลายกล้ามเนื้อก่อนการ
ผ่าตัดจะช่วยให้กล้ามเนื้อคลายตัวได้ดีขึ้น การฝึกโดยการกามือ เกร็ง
ร่างกายให้กล้ามเนื้อบีบตัวมากที่สุดและค่อยๆ คลายกล้ามเนื้อ ฝึกบ่อยๆ
ให้ร่างกายชิน เมื่อมีอาการจะได้สั่งให้ร่างกายหายใจเข้าออกช้าๆ ได้
16 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
-บทความวิชาการ-
สิ่งที่ต้องเตรียมมาจากบ้าน ได้แก่
1. กระจก กระจกที่สามารถส่องให้เห็นบริเวณใบหน้าและลาคอ
ชัดเจน ทิชชูชนิดเช็ดปาก เพราะจะมีความเหนียวและไม่เปื่อยขาดง่าย
เหมือนทิชชูชนิดที่ใช้ในห้องน้าซึ่งจะทาให้มีทิชชูขาดและหล่นลงไป
ในหลอดลมได้
2. สมุดจดเล่มขนาดเหมาะมือเพื่อเขียนสื่อสารกับผู้อื่นหลังการทา
ผ่าตัด ปากกาที่เขียนได้ชัดเจน ถ้ามีปัญหาเรื่องสายตาให้เตรียมปากกา
หัวใหญ่ที่ช่วยให้ผู้ป่ วยสามารถอ่านออกได้ง่าย ถ้าอ่านหรือเขียน
ภาษาไทยไม่ได้ให้เขียนป้ ายสื่อภาษามาจากบ้าน โดยเขียนภาษาถิ่น
หรือภาษาอังกฤษ และมีภาษาไทยเขียนกากับไว้ รวมทั้งมีการสื่อสาร
ทาความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ก่อนทาการผ่าตัด เขียนเบอร์ติดต่อญาติติด
ตัวไว้ ถ้าผู้ป่วยต้องการใช้โทรศัพท์ ให้ตกลงเรื่องทาสัญญาณกับญาติ
ก่อนทาผ่าตัด เช่น การให้ถามคาถามปลายปิด มีการตอบแค่ ใช่ หรือ
ไม่ใช่ มีการฝึกโต้ตอบทางโทรศัพท์ เช่น ใช่ เคาะที่ใกล้ช่องรับเสียง 1
ครั้ง ถ้าไม่ใช้ ให้เคาะที่ช่องรับเสียง 2 ครั้ง หรือการฝึกใช้สมาร์ทโฟน
เพื่อติดต่อสื่อสารโดยการเขียนไปก่อน
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 17
.- เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง-
คุณภานุมาศ ชาติชินเชาว์ สมาชิกชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
อาสาสมัครครูฝึกพูดด้วยเครื่องช่วยพูด
นายภานุมาศ ชาติชินเชาว์ ถือกาเนิดวัน-เดือน-ปี ไม่ทราบได้
เพราะพ่อแม่แยกทางกันเมื่ออายุได้ 7 วัน คุณทวดเก็บมาเลี้ยงจึงไม่ได้
ถูกส่งไปบ้านราชวิถี สงครามโลกครั้งที่ 2 บ้านถูกระเบิดอยู่หลังวัด
เลียบ พาหุรัด คุณทวดจึงได้พาเหลนไปภาคใต้ โดยได้ไปเฝ้าสวนของ
คุณปู่ ที่เสียชีวิตเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่อาเภอเมือง จังหวัด
นครศรีธรรมราช คุณย่าจึงแต่งงานใหม่ ไม่มีบุตร จึงได้รับผมเป็น
ลูกบุญธรรม แต่อยู่เฝ้าสวนกับคุณทวด เมื่ออายุเกินเข้าเรียนหนังสือแต่
ผมไม่มีหลักฐานอะไรไปแสดงเลย คุณทวดจึงได้สมมุติให้ผมเกิดวันที่
16 พฤศจิกายน 2481 จึงได้เรียนหนังสือจนจบ คุณทวดอายุมาก ผมจึง
ต้องทางานหาเลี้ยงคุณทวด จนคุณทวดได้เสียชีวิตเมื่ออายุ 98 ปี ผมจึง
18 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
-เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง-
ได้มาอยู่กับพ่อแม่เลี้ยง ซึ่งก็ลาบากมากเรื่องอาหารการกิน กินข้าวคลุก
น้าปลาอยู่บ่อยๆ (แต่โทษที่มีไก่จิ้ม)
จากนั้นมาอยู่วัดกับเพื่อน อยู่มาก็หลายวัดอยู่เหมือนกัน เริ่มสูบ
บุหรี่โดยเก็บเอาก้นบุหรี่เอามามวนกับกระดาษบ้าง ใบจากบ้าง ใบตอง
บ้าง แล้วแต่จะหาได้ จนจบมัธยมปลาย คุณปู่ คุณย่าก็พามา
กรุงเทพมหานคร เพื่อเรียนต่อ โดยได้เรียนที่โรงเรียนอาชีวะแห่งหนึ่ง
จนจบ
หลังจากจบอาชีวะผมก็เริ่มหางานทา โดยได้ทางานที่บริษัทหลาย
แห่งจนผมจาไม่ได้ เมื่อต้นปี 2504 เมื่อมีเงินเดือนก็เริ่มสูบบุหรี่และดื่ม
เหล้าเรื่อยมา ให้สมกับสมัยผมเป็นเด็กที่ไม่มีเงินซื้อแม้กระทั่งขนมและ
ของเล่นเหมือนเด็กคนอื่นๆ เขา ทางานอยู่บริษัทได้ 1 ปี ก็ลาออกมาเข้า
กรมชลประทานเมื่อ 1 ตุลาคม 2505 อยู่เรือขุดกรมชลฯ ต่อมาเข้าทางาน
ที่กรมเจ้าท่า เมื่อปลายปี 2508 ที่นี่ทาให้ผมมีรายได้มากเดือนละหลาย
หมื่น เพราะมีค่าโรงแรม เบี้ยเลี้ยง ล่วงเวลา ทาให้ผมได้มีเงินซื้อ กิน
และดื่มหนักขึ้น ในที่สุดผมก็ได้ลาออก และต่อมาได้เข้าทางานที่การ
ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ที่จังหวัดสงขลา แต่ก่อนจะมาอยู่การไฟฟ้าฯ ที่นี่ผม
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 19
-เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง-
ถูกรถชนจนต้องได้นอนที่โรงพยาบาลสงขลาฯ 1 คืน ก็ได้พบกับภรรยา
คนที่อยู่ปัจจุบัน เป็ นพยาบาล โดยไม่รู้ว่าเขาได้รับรางวัลขวัญใจ
พยาบาลและรางวัลงานอื่นๆ อีกหลายแห่ง เพราะเห็นเธอสวยดี ก็ได้ขอ
เธอแต่งงานก่อนจะย้ายไปปัตตานี ได้หมั้นและแต่งงานในวันอาทิตย์ที่
11 สิงหาคม 2511 ต่อมาตัดสินใจลาออกจากกรมเจ้าท่า มาหารุ่นพี่ๆ ที่
จบจากโรงเรียนเดียวกันกับผมมาเข้าทางานตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2513 และก็
ได้สานึกว่าตัวเองก็อายุย่างเข้าเลข 3 แล้วและก็มีบุตร 3 คน จึงพยายาม
สูบบุหรี่น้อยลดจนตั้งเนื้อตั้งตัวได้ ถึงแม้ว่าจะไม่มีตาแหน่งดีๆ เหมือน
เพื่อนๆ เขาที่เข้าทางานที่เดิมโดยไม่ย้ายไปไหน ถึงแม้จะเป็นลูกน้อง
เพื่อน แต่ก็อยู่ได้จนอายุครบ 60 ปี อยู่ไฟฟ้ าได้ 29 ปีเต็ม จนตั้งตัวได้
จนถึงปัจจุบัน
ผมได้ทาการตรวจที่โรงพยาบาลสงขลาหลายครั้งเพราะผมมีการ
เจ็บคอมาก จึงได้ไปโรงพยาบาล มอ (สงขลานครินทร์ หาดใหญ่) โดย
คุณหมออารักษ์ ทองปิยะภูมิ ตรวจและนัดวันผ่าตัดเมื่อวันที่ 15 มีนาคม
2536 จากนั้นเป็นต้นมาผมก็พูดไม่ได้ต้องใช้เครื่องช่วยพูดจนถึงปัจจุบัน
ไม่ทราบว่าคุณหมอบอกว่าเป็นมะเร็งกล่องเสียงหรือไม่ เพราะภรรยาก็
20 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
-เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง-
เป็นพยาบาล คุณหมอบอกกับภรรยาว่าผมคงอยู่ได้ไม่เกิน 3-4 ปี ก็จะ
เสียชีวิต แต่ผมก็อยู่มาได้ถึง 23 ปี ส่วนคุณหมอคงไม่ทราบว่าคนไข้ของ
คุณหมอยังไม่ตาย เพราะนี่คือชีวิตของ นายภานุมาศ ชาติชินเชาว์ ที่
อยากเรียนต้องทางานทุกอย่างที่ได้เรียน เรียนแค่นี้ก็พอใจ ที่อยู่ได้จน
ทุกวันนี้ก็เพราะอบายมุขที่ทาให้ชีวิตเปลี่ยนไป จากคนพูดได้กลายเป็น
ผู้ป่วยไร้กล่องเสียงพูดกับใครเขาก็ไม่ค่อยรู้เรื่อง จึงเป็นอุทาหรณ์ให้รุ่น
ลูกๆ หลานๆ ได้รู้ว่าอบายมุขต่างๆ มันไม่ดี มีแต่ทาร้ายร่างกายเราต้อง
เป็นผู้พิการตลอดชีวิต ขออย่าได้เอาเป็นตัวอย่างของลุงคนนี้ด้วยนะครับ
ทิ้งท้ายเวลาไปตลาดซื้อของตามร้านค้าต่างๆ ในตลาดตัวเมือง
จะต้องเดินตามหลังภรรยาไปด้วยทุกครั้ง พอซื้อของจ่ายเงินเรียบร้อย
เจ้าของร้านจะส่งของให้ผมถือ พร้อมพูดว่า “ให้คนขับรถถือก็ได้เจ้”
แฟนผมตอบว่า “ไม่ใช่คนขับรถผัวชั้นจ๊ะ” อุทาหรณ์นี้สอนให้รู้ว่า จง
เดินนาหน้าหรือเดินคู่กัน ไม่ควรเดินตามหลังเว้นระยะห่างมาก จะทา
ให้เป็นเหมือนอย่างผม
ผมเข้ามาเป็นสมาชิกชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี เมื่อเดือน
พฤษภาคม 2547 โดยได้พบคุณเซี้ยง และ คุณสายหยุดในวันที่มาตรวจ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 21
-เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง-
ต่อมาจึงสมัครเป็นสมาชิกและมาร่วมประชุมเป็นครั้งคราว ต่อมาในปี
2555 เมื่อภรรยาเกษียณราชการก็ย้ายมาอยู่กรุงเทพฯ จึงได้เข้าร่วม
ประชุมอย่างสม่าเสมอ การเข้ามาร่วมกลุ่มทาให้ผมได้พบกับเพื่อนที่
ผ่าตัดกล่องเสียงเหมือนกัน ต่างก็ให้กาลังใจซึ่งกันและกัน ได้ฝึกพูด
ให้กับสมาชิกที่ใช้เครื่องช่วยพูดเหมือนกับผม รวมทั้งได้ไปเยี่ยมให้
กาลังใจและคาแนะนาแก่ผู้ป่วยที่รอผ่าตัดและผู้ป่วยหลังผ่าตัดที่ยังนอน
พักรักษาอยู่ในโรงพยาบาล
ภานุมาศ ชาติชินเชาว์
สมาชิกชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
อาสาสมัครครูฝึกพูดด้วยเครื่องช่วยพูด
22 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
- เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง-
คุณสุทัศน์ อินทรสุวรรณ
สมาชิกชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
สวัสดีครับผมนายสุทัศน์ อินทรสุวรรณ เป็ นผู้ไร้กล่องเสียง
เนื่องจากสูบบุหรี่มานาน เริ่มสูบตั้งแต่อายุ 20 ปี สูบมานานกว่า 40 ปี
เริ่มมีอาการเสียงแหบได้ไปหาหมอและได้ยามากิน 2-3 วัน อาการไม่ดี
ขึ้นจึงไปหาหมอด้านหู คอ จมูก ที่โรงพยาบาลศิริราช ตรวจพบว่าเป็น
มะเร็งกล่องเสียง เข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลศิริราช ตั้งแต่ปี 2554
ครั้งแรกคุณหมอให้ยาเคมีบาบัด 7 ครั้ง และฉายแสง 35 ครั้ง ก็ค่อยยัง
ชั่ว เสียงดีขึ้นหน่อย แต่อีกไม่นานเสียงก็กลับมาแหบอีก ต่อมาเดือน
ตุลาคมต้องเข้าโรงพยาบาลอีก ทีนี้คุณหมอได้เจาะคอให้เมื่อวันที่ 24
ตุลาคม 2555 ระหว่างเจาะคอ ผมช็อกไป ไม่รู้นานเท่าไหร่ ช็อกนอน
เจาะคอในห้องผ่าตัด มาฟื้ นอีกทีก็อยู่ที่ห้องพักคนไข้ชั้น 1 ตึกเฉลิม
พระเกียรติ นอนหายใจไม่สะดวก คุณหมอต้องทาการเจาะปอด ผมคิด
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 23
-เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง-
ว่าไม่รอดแล้วและวันที่ 2 พฤศจิกายน 2555 ต้องเข้าห้องผ่าตัดอีกครั้ง
เพื่อผ่าตัดกล่องเสียงแล้วก็นอนรักษาตัวอีก 15 วัน คุณหมอทดลองให้
กินน้า ปรากฏว่าน้ารั่วที่แผลเลยต้องนอนรักษาตัวอีก ที่นี้แผลมันไม่ติด
เลยต้องเข้าทาแผลในห้องผ่าตัดอีก เกือบทุกอาทิตย์ เพราะแผลไม่ติด
คุณหมอต้องตัดเนื้อส่วนอื่นมาปิดช่วย ต้องเข้าห้องผ่าตัดทาแผล ตอนที่
คุณหมอมาทาแผลบนเตียงที่ห้องคนไข้ทรมานมาก เวลาทาแผลวันไหน
ได้คุณหมอผู้หญิงมาทาแผลก็ค่อยยังชั่วหน่อยไม่ค่อยเจ็บ แต่วันไหน
เป็นคุณหมอผู้ชายมาทาแผลเจ็บมาก บางครั้งก่อนทาแผล 30 นาที
พยาบาลต้องมาฉีดยามอร์ฟีนให้ก่อนไม่อย่างนั้นเจ็บมากๆ ระหว่าง
นอนรักษาตัวอยู่นั้น คุณหมอส่งตัวไปอบออกซิเจนความดันบรรยากาศ
สูง (ไฮเปอร์แบริค) เหมือนคนดาน้าลึกเข้าไปนอนในแคปซูล เจ้าหน้าที่
เขาจะปรับอากาศแรงดันแรกๆ หูจะอื้อ ต้องหาวเพื่อไม่ให้หูอื้อ ต้องอยู่
ในแคปซูลครั้งละ 1.30 ชั่วโมง ผมต้องอบทั้งหมด 60 ครั้งเป็นเวลา 90
ชั่วโมง ระหว่างนอนรักษาตัวและทาแผลผมต้องไปหาซื้อยาที่
โรงพยาบาลปิ่นเกล้า (โรงพยาบาลทหารเรือ) ยาทาแผลอันนี้ผมจาไม่ได้
แล้วว่าชื่ออะไร ยาเป็นหลอดที่โรงพยาบาลศิริราช และตามร้านขายยา
24 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
-เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง
ไม่มีขาย ต้องไปซื้อที่โรงพยาบาลปิ่นเกล้าที่เดียว คุณหมอเป็นคนเขียน
ชื่อยาให้ไป ยาหลอดเล็กหลอดละ 900 บาท ผมต้องใช้ประมาณ 5
หลอด ระหว่างรักษาตัวอยู่นั้นคุณหมอเขาเจาะหน้าท้องเพื่อให้อาหาร
ทางหน้าท้อง ผมไม่ได้กินอาหารทางปากเกือบปี
9 เดือนที่นอนอยู่ที่โรงพยาบาลศิริราช ผมเริ่มไปฝึกพูดครั้งแรก
วันที่ 16 กรกฎาคม 2557 ผมเองคิดว่าไม่รอดแล้วสาเหตุที่แผลไม่ติด
เพราะฉายแสงก่อนผ่าตัดเนื้อและเซลล์ต่างๆ มันตายเลยเป็นเรื่องใหญ่
ในตัวมีแผลเป็นเต็มไปหมด
ผมเข้ามาเป็นสมาชิกของชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดีทาให้
ได้รับประสบการณ์ใหม่ๆ ได้ฝึกพูด ได้มีเพื่อนที่คอยให้กาลังใจเพิ่มขึ้น
ขณะนี้ผมพูดโดยใช้หลอดอาหารได้มากขึ้นแล้วครับ
คุณสุทัศน์ อินทรสุวรรณ
สมาชิกชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 25
-ข่าวสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง-
การฝึกพูดด้วยหลอดอาหารจริงๆ แล้ว อาจยากในขณะที่เริ่มต้น
ออกเสียง อาจท้อหรือหมดกาลังใจได้ แต่เมื่อออกเสียงได้ การฝึกพูด
คาสองคาแรกก็แสนยาก แต่เมื่อพูดได้แล้ว การพูดสามคาหรือการพูด
เป็นประโยคไม่ใช่เรื่องยาก ขณะนี้การฝึกพูดใช้เวลาสามถึงสี่เดือนก็พูด
กันได้คล่องแคล่วขึ้น ถ้าอยากรู้คงต้องเชิญสมาชิกฯ มาเยี่ยมชม และมา
ลองฝึกพูดที่ชมรมฯ นะคะ
ขณะนี้มีชมรมดูพระและนาฬิกาเลอค่า จากเซียนหลายๆ ท่าน
ใครว่างยกกรุมาให้เซียนช่วยกันพิจารณาได้ค่ะ
ช่วงปลายปีจะมีกิจกรรมทัศนศึกษาศิลปวัฒนธรรม (จริงๆ แล้ว
เป็นการฝึกพูดกับครูฝึกโดยที่ไม่มีใครสามารถโดดร่มได้ อิๆ) กิจกรรม
ประชุมสามัญประจาปีและการจัดกิจกรรมปีใหม่ สมาชิกท่านใดสนใจ
สถานที่ใด สนใจอยากฟังวิชาการเรื่องใด สามารถเสนอมาได้นะคะ
สมาชิกท่านใดสนใจเขียนเล่าประสบการณ์ ต้องการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ในจุลสารฯ สามารถส่งมาได้ตลอดนะคะ ต้องการ ด่วน ๆ
26 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
บทความวิชาการเรื่อง การรับรู้กลิ่นของผู้ไร้กล่องเสียง
การเตรียมตัวก่อนผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมด
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
สุทธินี สุดใจ
หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกโสต ศอ นาสิก
ชั้น 2 โซน H อาคารสมเด็จพระเทพรัตน์
270 โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนนพระราม 6
แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม 10400
เวลาทากิจกรรม ทุกวันอังคาร เวลา 9.00 – 11.00 น.
บริเวณศูนย์เสริมพลังสร้างสุขภาพ อาคารเรียนรวม ชั้น 1
ยินดีต้อนรับผู้ไร้กล่องเสียงทุกท่าน
พิมพ์เผยแพร่
สงวนลิขสิทธิ์ เมษายน 2560
เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้แก่ผู้ป่วยมะเร็งกล่องเสียง
พิมพ์ที่ ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
270 โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนน พระราม 6 แขวง ทุ่งพญาไท
เขต ราชเทวี กทม 10400
โทร 0917746482, 0811382117

More Related Content

Similar to จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3

โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากWan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียงโรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียงWan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 Sutthinee Sudchai
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556oryornoi
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นJanjira Majai
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Ffim Radchasan
 

Similar to จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 (20)

โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปาก
 
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียงโรคมะเร็งกล่องเสียง
โรคมะเร็งกล่องเสียง
 
ไซนัส
ไซนัส ไซนัส
ไซนัส
 
2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 

More from Sutthinee Sudchai

คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียงคู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียงSutthinee Sudchai
 
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05Sutthinee Sudchai
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย Sutthinee Sudchai
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1Sutthinee Sudchai
 
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดีกิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดีSutthinee Sudchai
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2  จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 Sutthinee Sudchai
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1  จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 Sutthinee Sudchai
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6 Sutthinee Sudchai
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 Sutthinee Sudchai
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2Sutthinee Sudchai
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 Sutthinee Sudchai
 
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12 A4 พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12  A4  พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจหนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12  A4  พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12 A4 พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจSutthinee Sudchai
 

More from Sutthinee Sudchai (14)

P TLG cu 2018.02.06 v1
P TLG cu 2018.02.06 v1P TLG cu 2018.02.06 v1
P TLG cu 2018.02.06 v1
 
สปส 2 09
สปส 2 09สปส 2 09
สปส 2 09
 
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียงคู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
 
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
 
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดีกิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2  จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1  จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
 
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12 A4 พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12  A4  พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจหนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12  A4  พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12 A4 พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
 

จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3

  • 1. จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ประจาเดือน ตุลาคม-พฤศจิกายน 2558 ผู้จัดทา ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี งานการพยาบาลจักษุ โสต ศอ นาสิกฯ ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกโสต ศอ นาสิก ฝ่ายการพยาบาลฯ สมเด็จพระเทพรัตน์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี FB : ผรส รามา https://www.facebook.com/LaryngectomeeRama Email/Facebook : ent.rama.inf@gmail.com Line ID : 003055 Tel. 0917746482 ทุนมูลนิธิรามาธิบดี รหัส 3213008
  • 2. บรรณาธิการ : พยาบาลวิชาชีพ สุทธินี สุดใจ ที่ปรึกษาชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี สวัสดีค่ะท่านสมาชิกผู้ไร้กล่องเสียงทุกท่าน ขณะนี้สมาชิกของ เราฝึกพูดได้ชัดเจนขึ้นแล้ว ขาดแต่สมาชิกใหม่ที่ยังอยู่ในกระบวนการ รักษาที่ยังไม่เข้ามาฝึกพูด ครูฝึกสมาชิกอาสาอยู่นะคะ พบกันทุกเช้าวัน อังคาร เวลา 8-11 น. ที่ศูนย์เสริมพลังสร้างสุขภาพ อาคารเรียนรวมชั้น 1 ค่ะ ช่วงเดือนนี้เราได้รับความรู้เรื่องอาหารลดเค็มและการเลือก รับประทานอาหารจากคุณพยาบาลวาสนา หน่วยสร้างเสริมสุขภาพเป็น เวลา 4 สัปดาห์ ทั้งสนุกและได้ความรู้มากมาย โอกาสหน้าคงได้จัดเรื่อง การหายเฉพาะโรคกันบ้าง ส่วนข่าวดีของชมรมฯ ทางคณะได้อนุมัติงบประมาณสนับสนุน ของปีงบประมาณหน้าแล้ว ต้องกราบขอบพระคุณคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดีและท่านผู้บริจาคทุกท่านค่ะ 2 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
  • 3. สารบัญ หน้าที่ บรรณาธิการ 2 บทความวิชาการเรื่อง - การรับรู้กลิ่นของผู้ไร้กล่องเสียง 4 - การเตรียมตัว เตรียมใจก่อนผ่าตัด 10 เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง 18 ข่าวสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง 26 ที่ปรึกษา พยาบาลวิชาชีพสุทธินี สุดใจ Line : 003055 เบอร์โทร : 0917746482 FB : ผรส รามา Email : ent.rama.inf@gmail.com IG : tlg_rama https://www.facebook.com/LaryngectomeeRama รองศาสตราจารย์ดรุณี ชุณหะวัต Line : เบอร์โทร : 0841060202 Email : radjh1@yahoo.com พยาบาลวิชาชีพอารยา พริกบุญจันทร์ เบอร์โทร : 022004069 เวลา 8-9 น. วันราชการ คุณชัยณรงค์ ศรีปราโมช ประธานชมรมฯ 0865403503 คุณเซี้ยง ฉิมมณี ที่ปรึกษาฯ 0851560394 คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 3
  • 4. บทความวิชาการเรื่อง การรับรู้กลิ่นของผู้ไร้กล่องเสียง โดย รองศาสตราจารย์ดรุณี ชุณหะวัต การรับกลิ่นเป็นการทางานงานที่ซับซ้อนระหว่างจมูกและสมอง ส่วนหน้าบริเวณที่เรียกว่าออลแฟกทอรี่บัลบ์ (olfactory bulb) เพื่อส่งต่อ สัญญาณไปยังสมองส่วนซีรีบรัม (Cerebrum) ให้แปลข้อมูลว่าเป็นกลิ่น อะไร หอมหรือเหม็น การรับรู้กลิ่นช่วยในการอยู่รอดของมนุษย์ทาให้ รับรู้คุณภาพของอาหารเป็นสัญญาณเตือนภัยให้มนุษย์และสัตว์อื่นๆ รู้ล่วงหน้าว่าภัยใกล้จะถึงตัว การได้กลิ่นของจมูกนั้นเกิดขึ้นเมื่อเราหายใจเอาอากาศซึ่งมี โมเลกุลของสิ่งที่ทาให้เกิดกลิ่นปะปนอยู่เข้าไปสัมผัสกับเซลล์ประสาท รับกลิ่น (olfactory receptor cell) ซึ่งอยู่ใต้เยื่อบุจมูกบริเวณเพดาน ภายในช่องจมูกแล้วจะส่งสัญญาณไปยังสมอง สมองก็จะแปลข้อมูล และบอกเราได้ว่ากลิ่นที่เข้ามากระทบกับจมูกของเรานั้นเป็นกลิ่นอะไร โดยกลิ่นที่จะกระตุ้นเซลล์ประสาทรับกลิ่นได้ดีนั้นจะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 4 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
  • 5. -บทความวิชาการ- 1. ระเหยได้ดีในอากาศ เพื่อสูดผ่านเข้าจมูกได้ 2. ละลายน้าได้ดีเพื่อผ่านเยื่อบุจมูกไปสู่เซลล์รับกลิ่นได้ 3. ละลายได้ดีในไขมัน เนื่องจากเซลล์รับกลิ่นมีสารไขมันเป็ น องค์ประกอบ ภาพที่ 1 โครงสร้างภายในจมูก การรับกลิ่นและการรับรสเป็ นประสาทสัมผัสพิเศษที่มี ความสัมพันธ์กันอย่างมาก เนื่องจากมนุษย์เราจะนาการรับกลิ่นไปร่วม แปลเป็นความรู้สึกของการรับรสด้วย เช่น เมื่อเราเป็นหวัด จมูกไม่ค่อย ได้กลิ่น เราจะรู้สึกว่ารสชาติของอาหารไม่ค่อยอร่อย ทั้งที่การรับรสของ เรายังปกติดี ผู้ป่วยที่มีปัญหาการรับกลิ่นได้น้อยลงนอกจากจะทาให้ ความพึงพอใจในรสชาติของอาหาร และกลิ่นหอมของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 5 เซลล์ประสาทรับกลิ่น
  • 6. -บทความวิชาการ- น้อยลงแล้ว ยังอาจทาให้ขาดสันญาณเตือนภัยในการดารงชีวิต เช่น อันตรายจากการเกิดแก๊สรั่ว หรือการกินอาหารบูดเน่า ปัญหาการรับกลิ่นได้น้อยลงมีสาเหตุใหญ่ ๆ 3 ประการ คือ อุบัติเหตุทางสมอง การติดเชื้อไวรัสของจมูก โรคทางช่องโพรงจมูก และไซนัส จมูกไม่ได้กลิ่นในผู้ไร้กล่องเสียง นอกจากนี้ยังมีสาเหตุอื่นๆ ที่อาจพบได้บ้าง เช่น การสูดรับสารพิษอย่างรุนแรง โรคทางระบบ ประสาทและโรคพันธุกรรมบางอย่าง โรคทางเมตะบอลิสม เช่น เบาหวาน ภาวะต่อมไทรอยด์ทางานน้อยกว่าปกติ นอกจากนี้อาจเป็น การเสื่อมสภาพของประสาทรับกลิ่นไปตามอายุอีกด้วย การสูญเสียการรับกลิ่นจากอุบัติเหตุทางสมองมักเกิดจากการ กระแทกที่รุนแรงทางด้านหน้าหรือท้ายทอย ทาให้เกิดการกระชากอย่าง รุนแรงของประสาทรับกลิ่นที่ผ่านลงมาในช่องจมูก นอกจากนี้หากมี การแตกหักของกระดูกบริเวณรอบๆ ประสาทรับกลิ่น ก็อาจทาให้ปลาย ประสาทขาดได้ ผู้ป่วยไม่จาเป็นต้องสลบ ผู้ป่วยอาจรู้สึกทันทีว่ามีการ สูญเสียการดมกลิ่นอย่างฉับพลัน หรือทราบภายหลังอุบัติเหตุไม่นาน นัก เมื่อเริ่มสังเกตว่าไม่ได้กลิ่น การสูญเสียการรับกลิ่นจากกรณีนี้ อาจจะมีโอกาสกลับมาปกติได้เอง โดยเฉพาะภายหลังรักษา 6 เดือนแรก 6 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
  • 7. -บทความวิชาการ- ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าปลายประสาทมีการถูกทาลายไปมากน้อยเพียงใด การสูญเสียการรับกลิ่นจากการอุดตันของช่องจมูกหรือบริเวณ รับกลิ่นบริเวณเพดานโพรงจมูก จะทาให้กลิ่นไม่สามารถขึ้นไปกระตุ้น ปลายประสาทรับกลิ่นได้ อาจเป็นจากการอักเสบของโพรงจมูก จาก หวัดภูมิแพ้ (Allergic rhinitis) จมูกอักเสบหรือไซนัสอักเสบ ซึ่งทาให้ เยื่อบุช่องโพรงจมูกบวม หรือริดสีดวงจมูก เนื้องอกของช่องจมูกและ โพรงไซนัสที่อุดตันบริเวณรับกลิ่น ผู้ป่วยในกลุ่มนี้มักมีอาการทางจมูก อื่นๆ ร่วมด้วย เช่น อาการคัดจมูก น้ามูกไหลหรืออาการอื่นๆ ของโรค นั้นๆ อาการไม่ได้กลิ่นจะค่อยเป็นค่อยไป บางครั้งได้กลิ่นดีและแย่ลง สลับกันไปมาขึ้นอยู่กับอาการคัดจมูก การสูญเสียการรับกลิ่นจาก สาเหตุนี้สามารถทาการรักษาได้ดี โดยทาการรักษาโรคที่เป็นต้นเหตุให้ ช่องโพรงจมูกบวมและอุดตัน ทั้งโดยการใช้ยาและวิธีผ่าตัด ขึ้นอยู่กับ ความรุนแรงของโรคที่เป็นสาเหตุนั้น ๆ การสูญเสียการรับกลิ่นในผู้ไร้กล่องเสียง การสูญเสียการรับกลิ่นในผู้ไร้กล่องเสียงนั้นเกิดจากการเปลี่ยน ทางเดินของอากาศที่หายใจ โดยหายใจเข้าออกผ่านทางรูหายใจที่ลาคอ (stoma) ซึ่งไม่มีช่องทางติดต่อกับจมูก ฉะนั้นโมเลกุลของกลิ่นที่ปนไป คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 7
  • 8. -บทความวิชาการ- กับลมหายใจจึงไม่สามารถสัมผัสกับเซลล์ประสาทรับกลิ่น (olfactory receptor cell) ซึ่งอยู่ใต้เยื่อบุจมูกบริเวณเพดานภายในช่องจมูก จึงไม่มี สัญญาณไปสู่สมอง เราจึงไม่ได้กลิ่น แต่อย่างไรก็ตามเซลล์ประสาท รับกลิ่นของผู้ไร้กล่องเสียงยังสามารถทางานได้ หากผู้ไร้กล่องเสียง จัดการให้โมเลกุลของกลิ่นได้เข้าไปสัมผัสกับเซลล์ประสาทรับกลิ่นได้ ผู้ไร้กล่องเสียงก็สามารถรับรู้กลิ่นต่างๆได้ ทั้งยังช่วยให้เซลล์ประสาท รับกลิ่นคงหน้าที่ต่อไปได้ ภาพที่ 2 เส้นทางลมหายใจปกติและของผู้ไร้กล่องเสียง 8 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558 ทางเดินหายใจปกติทางเดินหายใจหลังตัดกล่องเสียง ออก รูหายใจที่คอ
  • 9. -บทความวิชาการ- การฝึกการดมกลิ่น มีผู้ไร้กล่องเสียงจานวนไม่น้อยที่ไม่สามารถรับรู้กลิ่น จึงขอ แนะนาให้ฝึกดมกลิ่นอาหารทุกวัน โดย 1. ฝึกสูดลมจากสิ่งที่มีกลิ่นที่ชอบเข้าทางจมูกทุกวัน เช่น กลิ่นกาแฟ ร้อนๆ กลิ่นดอกไม้กลิ่นยาดม กลิ่นมะนาว เป็นต้น 2. ฝึ กการดมกลิ่นโดยการหาวอย่างสุภาพ (polite yawning) ซึ่ง แนะนาให้ผู้ที่สูดดมทางจมูกไม่ได้ตามข้อที่หนึ่ง ดังนี้ ให้หาวโดยสูดลม เข้าทางปากยาวๆ แล้วหุบปากให้สนิทพร้อมทั้งลดขากรรไกรล่างลง โดยการก้มเล็กน้อย เพื่อดันให้ลมในปากผ่านออกทางจมูก ทาให้สาร ที่มีกลิ่นที่สูดเข้าทางปากขณะหาว ไปสัมผัสเซลล์ประสาทรับกลิ่นได้ ทาเช่นนี้ซ้าๆ เร็วๆ หลายๆ ครั้ง จะช่วยให้รับรู้กลิ่นได้ จากงานวิจัยที่ผ่านมาพบว่าวิธีฝึกโดยการหาวช่วยให้การรับรู้ กลิ่นได้ดีขึ้น เอกสารอ้างอิง Arch Otolaryngol Head Neck Surg 2006;132:301-306. The Royal College of Otolaryngologists Head and Neck Surgery of Thailand http://www.rcot.org/data_detail.php?op=knowledge&id=26 http://www.il.mahidol.ac.th/emedia/nervous/3_7.htm http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=70454 คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 9
  • 10. บทความวิชาการ การเตรียมตัว เตรียมใจ ก่อนผ่ากล่องเสียงออกทั้งหมด พว สุทธินี สุดใจ ก่อนอื่น เตรียมใจค่ะ เตรียมใจจริงๆ ทาใจให้เย็นเย็น - ต้องฝึกพูดช้าๆ ชัดๆ เป็นคาๆ เน้นริมฝีปาก คนอื่นจะได้อ่านปาก ออก เตือนตัวเองว่า กว่าจะฝึกพูดคล่องแคล่วได้ประมาณสามถึงสี่เดือน อย่าใจร้อน - หลังเตรียมใจก็เตรียมกาย ทานไปเรื่อยๆ เน้นโปรตีน อาหารย่อย ง่าย จาไว้ โปรตีนที่รับประทานไปวันนี้อีกหลายวันถึงจะใช้ได้ จึงต้อง ตุนเอาไว้แผลจะได้หายเร็วๆ งดสุราสองอาทิตย์งดบุหรี่สองเดือน แต่ หมอนัดผ่าตัดมีเวลาแค่หนึ่งเดือน จึงต้องงดเลย ฝึกหายใจเข้าออกลึกๆ จะพบอะไรบ้างหลังผ่าตัด วินาทีแรกคือ หายใจที่คอ แล้วจะหายใจได้อย่างไร ??? เวลาหายใจเข้า ให้ปอดขยาย ซี่โครงขยาย หายใจออกให้ปอดแฟบ พ่นลมออกทาง ลาคอ ช่วงแรกๆ อาจรู้สึกแสบคอเล็กน้อยเพราะอากาศข้างนอกแห้งจะ ระคายเคืองเยื่อบุทางเดินหายใจ ควันออกซิเจนจะช่วยให้ชุ่มชื้น ช่วงแรกอาจรู้สึกอึดอัด ให้หายใจเข้า หายใจออก สบายๆ แล้วจะเริ่มชิน อีกประมาณวันหรือสองวันจะมีเสมหะใสๆ ไหลออกมา ให้เช็ดทาความ 10 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
  • 11. -บทความวิชาการ- สะอาดเสมหะให้สะอาดทุกครั้งที่ไอออกมา โดยที่เวลาไอ ต้องตั้งสติ หายใจเข้า-ออก ช้าๆ ลึกๆ ประมาณสองถึงสามครั้ง ให้รู้สึกว่ามีแรงอัด อากาศจากด้านใน ไอแรงๆ หนึ่งครั้ง เหมือนออกเสียง “เฮ่อะ” ช่วยให้ เสมหะหลุดออกมาจากท่อหายใจ หรือรูหายใจ ให้รีบใช้ทิชชูเช็ดเสมหะ ที่ออกมารอบท่อหายใจและบริเวณที่เปื้ อนรอบท่อหายใจออกให้หมด เช็ดแล้วทิ้งไป ถ้ายังไอออกไม่หมดและควบคุมการหายใจไม่ได้ ให้พับ ทิชชูด้านที่มีเสมหะไว้ มิให้สูดเสมหะกลับเข้าไป แล้วให้หายใจเข้า- ออก ช้าๆ เบาๆ สองถึงสามครั้งจนรู้สึกว่ามีลมเข้าไปด้านในท่อหายใจ แล้วค่อยไอออกมาแรงๆ เหมือนออกเสียง “เฮ่อะ” และเช็ดเสมหะออก ให้หมด ถ้ายังไอเอาเสมหะออกไม่หมดให้ทาซ้า อย่าลืมหายใจเข้า-ออก อย่าไอๆ ถี่ จะทาให้หอบเหนื่อยและยังไม่มีแรงขับเสมหะออกมาด้วย เรื่องต่อมา ท่อและสายต่างๆ จะมีสายให้อาหารที่จมูก 1 สาย สายระบาย เลือดและน้าเหลืองที่ลาคอ 2 สาย สายน้าเกลือ??? วันแรกอาจมีหลาย สาย และสายสวนปัสสาวะที่มีแค่สายเดียว สายต่างๆ จะค่อยๆ ปลดและ ลดลงทุกวัน ยกเว้นสายให้อาหารทางจมูก ในระหว่างที่ใส่สายระบาย เลือดและน้าเหลือง สายระบายปัสสาวะจะต้องวางต่าๆ ต่ากว่าบริเวณที่ ใส่สาย เพื่อป้ องกันสิ่งคัดหลั่งไหลย้อนกลับเข้าไปที่แผลหรือทางเดิน ปัสสาวะ สายต่างๆ ให้วางไว้ลักษณะสายหย่อนๆ เล็กน้อย อย่าใช้มือ วางหรือทับบริเวณสาย เพราอาจทาให้สายหลุดได้เมื่อมีการขยับตัว คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 11
  • 12. -บทความวิชาการ- สายที่จมูก ห้ามหลุด สายที่จมูกเป็นสายให้อาหารผ่านทางกระเพาะ อาหารโดยตรง ส่วนประโยชน์ในการใส่สายให้อาหารทางจมูก ประการแรกเอาไว้รับประทานอาหาร โดยใส่อาหารปั่นหรืออาหารทาง การแพทย์ลงสู่กระเพาะอาหารโดยตรง ทาให้สามารถคานวณแคลอรี่ อาหารที่ได้รับให้เพียงพอต่อการหายของแผลหลังผ่าตัด ช่วยทาให้ ระบบการทางานของระบบทางเดินอาหารทางานได้เป็นปกติ ลด ภาวะแทรกซ้อนจากการงดรับประทานอาหารเพื่อเตรียมผ่าตัด และลด ภาวะแทรกซ้อนเรื่องการติดเชื้อและรูทะลุที่แผลผ่าตัดถ้าต้อง รับประทานอาหารทางปากผ่านแผลผ่าตัด ประการที่สองเอาไว้ถ่างขยาย แผลที่เย็บซ่อมหลอดอาหารไว้เพราะเวลาแผลหาย เนื้อเยื่อของบางท่าน อาจเกิดการหดตัวและรัดแน่นจนทาให้หลอดอาหารตีบแคบ สายให้ อาหารที่ผ่านเข้าไปจะเข้าไปถ่างขยายไว้ เมื่อแผลแห้งดีแล้วจะเหลือ ช่องทางที่ใหญ่พอที่ช่วยให้อาหารผ่านได้ ถ้าสายให้อาหารที่จมูกหลุด จะไม่ใส่ให้ใหม่ เพราะเสี่ยงต่อการเกิดแผลแยกหรือแผลทะลุ แต่จะต้อง ให้สารน้าทางหลอดเลือดทดแทนทั้งหมดแทน ซึ่งสารน้าที่มีความ เข้มข้นสูงนั้นจะกระตุ้นให้หลอดเลือดและเนื้อเยื่อโดยรอบเกิดการ อักเสบได้ง่าย ทาให้เกิดการบวม แดง ร้อน และปวดบริเวณที่ให้สารน้า ส่วนสายระบายที่ข้างลาคอเอาไว้ระบายน้าเลือดและน้าเหลืองที่แผล ผ่าตัด ป้องกันมิให้มีเลือดหรือน้าเหลืองที่มากผิดปกติที่แทรกอยู่ที่แผล 12 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
  • 13. -บทความวิชาการ- ผ่าตัดซึ่งจะทาให้เนื้อเยื่อไม่สามารถสมานกันได้ เวลาลุกนั่งหรือขยับตัว ให้ทาให้สายหย่อนๆ อย่าวางพาดไว้ใกล้มือ เวลาขยับตัวจะได้ไม่ตึงรั้ง จนสายหลุด เพราะถ้าสายหลุดอาจต้องไปทาผ่าตัดใหม่เพื่อระบายเลือด และน้าเหลือง แต่แผลจะหายช้ากว่าเดิม ส่วนสายระบายปัสสาวะ จะ ใส่ไว้ 1 วัน หรือจนกว่าจะลุกนั่งได้ดี ถ้าสามารถเคลื่อนไหวเองได้ จะ นาสายสวนปัสสาวะออก เพื่อลดการติดเชื้อบริเวณทางเดินปัสสาวะ เรื่องของแผล สามถึงสี่วันแรกหลังผ่าตัดบริเวณลาคอจะถูกพันด้วย ผ้าก๊อสอย่างหนา ลักษณะเหมือนใส่เผือกที่ลาคอ เพื่อช่วยกดห้ามเลือด แต่แท้จริงแล้วแผลที่ลาคอเป็นเพียงรอยแผลผ่าตัดเท่านั้น ช่วงที่พันผ้า ไว้แน่นๆ จะขยับคอได้น้อย ควรบริหารร่างกายด้วยตนเองด้วย โดยหลัง ผ่าตัดวันแรกให้นอนศีรษะสูงเล็กน้อย วันที่สองให้นั่งที่เตียงโดยไขหัว เตียงสูงและพิงเตียงไว้ อาจใช้หมอนรองบริเวณใต้รักแร้เพื่อพยุงตัวได้ การนั่งและการขยับตัวจะช่วยให้ลาไส้ทางานได้ดีขึ้นหลังจากงดอาหาร ทางปากเพื่อเตรียมตัวก่อนผ่าตัด ในวันที่สามนั่งห้อยขาที่ข้างเตียง ถ้าไม่ เวียนศีรษะให้นั่งข้างเตียง โดยนั่งเก้าอี้ที่มีพนักพิงได้ ในวันที่สี่หลัง ผ่าตัด ให้เดินรอบๆ เตียง ในวันที่ห้าถ้าไม่มีอาการผิดปกติให้ไปห้องน้า เองได้ จะได้ไปทาธุระส่วนตัวได้สะดวกมากขึ้น การเดินช่วยทาให้ ลาไส้เคลื่อนไหวและทางานดีขึ้น ร่วมกับเป็นวันที่ได้รับอาหารทางสาย ให้อาหารมาสองสามวัน จะได้ไปขับถ่ายอุจจาระที่ห้องน้าได้สะดวกขึ้น คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 13
  • 14. -บทความวิชาการ- วันที่หกหายป่วย อยู่ครบเจ็ดวันรอกลืนแป้ ง ถ้ามีการรายงานผลการ ตรวจว่าไม่มีอาการผิดปกติแล้วแพทย์จึงจะอนุญาตให้รับประทาน อาหารทางปากได้ ท่านจะได้เริ่มจิบน้าและดื่มน้าหวานทางปากก่อน ร่วมกับการให้อาหารทางสายให้อาหารไปก่อน เวลาเริ่มดื่มน้าหรือ รับประทานอาหารให้เริ่มตั้งใจกลืนทีละคา เพื่อให้กล้ามเนื้อที่ใช้ในการ กลืนทุกส่วนทางาน ถ้าแผลแห้งและติดดีก็เริ่มขยับแขน ขยับไหล่ เพื่อที่ รอยรั่วหรือรูทะลุที่แผลผ่าตัด ไหล่และลาคอจะได้ไม่ตึง ลดอาหารปวด เกร็งกล้ามเนื้อบริเวณหัวไหล่และลาคอ ที่สาคัญหลังผ่าตัดภายใน 7 วันแรก เวลาขยับตัวห้ามเงยหน้า เพราะ บริเวณในลาคอจะเย็บด้วยไหมละลาย โดยปกติการผ่าตัดเนื้อเยื่อมะเร็ง จะมีการตัดเนื้อเยื่อปกติรอบๆ ออกด้วย เพื่อลดการกระจายของมะเร็ง ดังนั้นถ้าบริเวณที่ทาผ่าตัดมีเนื้อเยื่อที่ตรวจพบว่าไม่เป็นมะเร็งเหลือน้อย การเย็บแผลอาจทาให้แผลตึงและอาจฉีกขาดง่าย ซึ่งโดยปกติเวลาลุกนั่ง จากที่นอนเรามักจะเงยหน้าเพื่อการทรงตัว ดังนั้นเพื่อลดความเสี่ยงใน การเกิดแผลแยก เวลาลุกนั่งให้ก้มศีรษะลงเล็กน้อย วันแรกๆ หลังผ่าตัด ให้ญาติหรือเจ้าหน้าที่ช่วยประคองศีรษะและไหล่เวลาลุกนั่ง โดยเวลา นั่งคุย ให้นั่งคุยได้ปกติแต่ตามห้ามแหงนหน้า แต่ถ้ามีคาสั่งแพทย์ให้ ปฏิบัติตนในการจากัดการเคลื่อนไหวหลังผ่าตัด ต้องปฏิบัติตนอย่าง เคร่งครัด เนื่องจากแพทย์จะช่วยประเมินความเสี่ยงในขณะทาการผ่าตัด 14 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
  • 15. -บทความวิชาการ- ผู้ป่วยสามารถสอบถามการปรับเปลี่ยนการรักษากับแพทย์เจ้าของไข้ได้ ทุกวันตอนเช้า เมื่อแพทย์มาตรวจเยี่ยมซึ่งแพทย์จะพิจารณาจากการหาย ของแผลผ่าตัด ควรเตรียมตัวโดยการเขียนใส่กระดาษไว้ให้แพทย์อ่าน ในขณะตรวจเยี่ยมตอนเช้า ห้ามกลืนน้าลาย จนกว่าจะได้กลืนแป้ ง เนื่องจากในน้าลายอุดมไปด้วย เชื้อโรค เป็นเชื้อโรคที่ช่วยป้ องกันเชื้อโรคจากภายนอกเข้าสู่ร่างกาย แต่ ถ้ามีแผลในช่องปากหรือลาคอจะทาให้แผลติดเชื้อ ทาให้แผลไม่หาย และเกิดรูทะลุได้ จึงต้องบ้วนน้าลายทิ้งและบ้วนปากด้วยน้าเกลือบ่อยๆ เพื่อลดปริมาณเชื้อโรคในช่องปาก ปัจจุบันให้บ้วนน้าลายทิ้งจนกว่าจะ กลืนแป้ งซึ่งใช้เวลา 7 วัน แต่เวลานอนอาจเผลอกลืนน้าลายได้บ้าง เรา จึงต้องดูแลความสะอาดในช่องปากอยู่เสมอเพื่อลดปริมาณเชื้อโรคใน ช่องปากให้ตกค้างอยู่น้อยที่สุด แต่ยังห้ามรับประทานอาหารทุกชนิด ทางปากอย่างน้อยเป็ นเวลา 7 วัน หรือจนกว่าจะได้กลืนแป้ ง และมี รายงานผลการตรวจพบว่าไม่มีรูทะลุที่แผลผ่าตัดก่อน เราต้องสังเกตอาการผิดปกติอะไรบ้าง 1. มีไข้หรืออุณหภูมิร่างกายเกิน 38.5 องศาเซลเซียส ภายหลังผ่าตัด ใน 24 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัด หรือมีไข้สูงในวันหลัง มีอาการ บวม แดง ร้อน มีสารคัดหลั่งสีผิดปกติ มีกลิ่นไม่พึงประสงค์ที่แผลผ่าตัด มีรูทะลุ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 15
  • 16. -บทความวิชาการ- ที่แผลผ่าตัด ที่แสดงถึงการติดเชื้อที่แผลผ่าตัด 2. ถ้ามีการบวมบริเวณหน้าและคาง ที่แสดงการคั่งของน้าเหลืองหลัง ผ่าตัด ให้นอนศีรษะสูง หายใจเข้าออกลึกๆ ถ้ามีอาการบวมด้านไหน ให้เอียงไปด้านตรงข้าม ยกเว้นกรณีมีข้อห้าม ที่สาคัญ ห้ามถู ห้ามนวด 3. ส่วนในผู้ที่ผ่าตัดไทรอยด์ออกทั้งหมดร่วมด้วย ให้สังเกตอาการชา ชารอบแผล ชาปลายมือ ปลายเท้า มือจีบ เกร็ง เป็นตะคริว หายใจเร็ว เกิดได้ตั้งแต่หลังผ่าตัด ถ้าเริ่มมีอาการให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ทันที เพราะ อาจมีภาวะแคลเซี่ยมต่า ซึ่งแต่ละคนมีการตอบสนองต่อภาวะแคลเซี่ยม ในเลือดผิดปกติไม่เหมือนกัน บางคนมีภาวะแคลเซี่ยมต่ามากก็ไม่เกิด อาการแต่บางคนมีภาวะในเลือดต่าเล็กน้อยก็มีอาการ และภาวะ แคลเซี่ยมในกระแสเลือดต่าก็ไม่ได้เกิดในผู้ที่ทาผ่าตัดไทรอยด์ออก ทั้งหมดทุกคน เมื่อมีอาการจึงต้องรีบแจ้งเจ้าหน้าที่ทันทีนะคะ เพราะ ต้องรีบตรวจเลือด รีบให้ยาฉีด มิเช่นนั้นอาจมีอาการเป็นตะคริวเข้า หัวใจ ช่วยไม่ทัน บางท่านอาจมีอาการหายใจเร็ว ให้บอกตนเองว่าให้ หายใจเข้าออกช้าๆ ลึกๆ ไม่ต้องตกใจหรือวิตกกังวลมาก เพราะจะทาให้ เกิดอาการมากขึ้น การฝึกหายใจและฝึกเกร็งคลายกล้ามเนื้อก่อนการ ผ่าตัดจะช่วยให้กล้ามเนื้อคลายตัวได้ดีขึ้น การฝึกโดยการกามือ เกร็ง ร่างกายให้กล้ามเนื้อบีบตัวมากที่สุดและค่อยๆ คลายกล้ามเนื้อ ฝึกบ่อยๆ ให้ร่างกายชิน เมื่อมีอาการจะได้สั่งให้ร่างกายหายใจเข้าออกช้าๆ ได้ 16 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
  • 17. -บทความวิชาการ- สิ่งที่ต้องเตรียมมาจากบ้าน ได้แก่ 1. กระจก กระจกที่สามารถส่องให้เห็นบริเวณใบหน้าและลาคอ ชัดเจน ทิชชูชนิดเช็ดปาก เพราะจะมีความเหนียวและไม่เปื่อยขาดง่าย เหมือนทิชชูชนิดที่ใช้ในห้องน้าซึ่งจะทาให้มีทิชชูขาดและหล่นลงไป ในหลอดลมได้ 2. สมุดจดเล่มขนาดเหมาะมือเพื่อเขียนสื่อสารกับผู้อื่นหลังการทา ผ่าตัด ปากกาที่เขียนได้ชัดเจน ถ้ามีปัญหาเรื่องสายตาให้เตรียมปากกา หัวใหญ่ที่ช่วยให้ผู้ป่ วยสามารถอ่านออกได้ง่าย ถ้าอ่านหรือเขียน ภาษาไทยไม่ได้ให้เขียนป้ ายสื่อภาษามาจากบ้าน โดยเขียนภาษาถิ่น หรือภาษาอังกฤษ และมีภาษาไทยเขียนกากับไว้ รวมทั้งมีการสื่อสาร ทาความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ก่อนทาการผ่าตัด เขียนเบอร์ติดต่อญาติติด ตัวไว้ ถ้าผู้ป่วยต้องการใช้โทรศัพท์ ให้ตกลงเรื่องทาสัญญาณกับญาติ ก่อนทาผ่าตัด เช่น การให้ถามคาถามปลายปิด มีการตอบแค่ ใช่ หรือ ไม่ใช่ มีการฝึกโต้ตอบทางโทรศัพท์ เช่น ใช่ เคาะที่ใกล้ช่องรับเสียง 1 ครั้ง ถ้าไม่ใช้ ให้เคาะที่ช่องรับเสียง 2 ครั้ง หรือการฝึกใช้สมาร์ทโฟน เพื่อติดต่อสื่อสารโดยการเขียนไปก่อน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 17
  • 18. .- เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง- คุณภานุมาศ ชาติชินเชาว์ สมาชิกชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี อาสาสมัครครูฝึกพูดด้วยเครื่องช่วยพูด นายภานุมาศ ชาติชินเชาว์ ถือกาเนิดวัน-เดือน-ปี ไม่ทราบได้ เพราะพ่อแม่แยกทางกันเมื่ออายุได้ 7 วัน คุณทวดเก็บมาเลี้ยงจึงไม่ได้ ถูกส่งไปบ้านราชวิถี สงครามโลกครั้งที่ 2 บ้านถูกระเบิดอยู่หลังวัด เลียบ พาหุรัด คุณทวดจึงได้พาเหลนไปภาคใต้ โดยได้ไปเฝ้าสวนของ คุณปู่ ที่เสียชีวิตเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่อาเภอเมือง จังหวัด นครศรีธรรมราช คุณย่าจึงแต่งงานใหม่ ไม่มีบุตร จึงได้รับผมเป็น ลูกบุญธรรม แต่อยู่เฝ้าสวนกับคุณทวด เมื่ออายุเกินเข้าเรียนหนังสือแต่ ผมไม่มีหลักฐานอะไรไปแสดงเลย คุณทวดจึงได้สมมุติให้ผมเกิดวันที่ 16 พฤศจิกายน 2481 จึงได้เรียนหนังสือจนจบ คุณทวดอายุมาก ผมจึง ต้องทางานหาเลี้ยงคุณทวด จนคุณทวดได้เสียชีวิตเมื่ออายุ 98 ปี ผมจึง 18 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
  • 19. -เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง- ได้มาอยู่กับพ่อแม่เลี้ยง ซึ่งก็ลาบากมากเรื่องอาหารการกิน กินข้าวคลุก น้าปลาอยู่บ่อยๆ (แต่โทษที่มีไก่จิ้ม) จากนั้นมาอยู่วัดกับเพื่อน อยู่มาก็หลายวัดอยู่เหมือนกัน เริ่มสูบ บุหรี่โดยเก็บเอาก้นบุหรี่เอามามวนกับกระดาษบ้าง ใบจากบ้าง ใบตอง บ้าง แล้วแต่จะหาได้ จนจบมัธยมปลาย คุณปู่ คุณย่าก็พามา กรุงเทพมหานคร เพื่อเรียนต่อ โดยได้เรียนที่โรงเรียนอาชีวะแห่งหนึ่ง จนจบ หลังจากจบอาชีวะผมก็เริ่มหางานทา โดยได้ทางานที่บริษัทหลาย แห่งจนผมจาไม่ได้ เมื่อต้นปี 2504 เมื่อมีเงินเดือนก็เริ่มสูบบุหรี่และดื่ม เหล้าเรื่อยมา ให้สมกับสมัยผมเป็นเด็กที่ไม่มีเงินซื้อแม้กระทั่งขนมและ ของเล่นเหมือนเด็กคนอื่นๆ เขา ทางานอยู่บริษัทได้ 1 ปี ก็ลาออกมาเข้า กรมชลประทานเมื่อ 1 ตุลาคม 2505 อยู่เรือขุดกรมชลฯ ต่อมาเข้าทางาน ที่กรมเจ้าท่า เมื่อปลายปี 2508 ที่นี่ทาให้ผมมีรายได้มากเดือนละหลาย หมื่น เพราะมีค่าโรงแรม เบี้ยเลี้ยง ล่วงเวลา ทาให้ผมได้มีเงินซื้อ กิน และดื่มหนักขึ้น ในที่สุดผมก็ได้ลาออก และต่อมาได้เข้าทางานที่การ ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ที่จังหวัดสงขลา แต่ก่อนจะมาอยู่การไฟฟ้าฯ ที่นี่ผม คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 19
  • 20. -เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง- ถูกรถชนจนต้องได้นอนที่โรงพยาบาลสงขลาฯ 1 คืน ก็ได้พบกับภรรยา คนที่อยู่ปัจจุบัน เป็ นพยาบาล โดยไม่รู้ว่าเขาได้รับรางวัลขวัญใจ พยาบาลและรางวัลงานอื่นๆ อีกหลายแห่ง เพราะเห็นเธอสวยดี ก็ได้ขอ เธอแต่งงานก่อนจะย้ายไปปัตตานี ได้หมั้นและแต่งงานในวันอาทิตย์ที่ 11 สิงหาคม 2511 ต่อมาตัดสินใจลาออกจากกรมเจ้าท่า มาหารุ่นพี่ๆ ที่ จบจากโรงเรียนเดียวกันกับผมมาเข้าทางานตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2513 และก็ ได้สานึกว่าตัวเองก็อายุย่างเข้าเลข 3 แล้วและก็มีบุตร 3 คน จึงพยายาม สูบบุหรี่น้อยลดจนตั้งเนื้อตั้งตัวได้ ถึงแม้ว่าจะไม่มีตาแหน่งดีๆ เหมือน เพื่อนๆ เขาที่เข้าทางานที่เดิมโดยไม่ย้ายไปไหน ถึงแม้จะเป็นลูกน้อง เพื่อน แต่ก็อยู่ได้จนอายุครบ 60 ปี อยู่ไฟฟ้ าได้ 29 ปีเต็ม จนตั้งตัวได้ จนถึงปัจจุบัน ผมได้ทาการตรวจที่โรงพยาบาลสงขลาหลายครั้งเพราะผมมีการ เจ็บคอมาก จึงได้ไปโรงพยาบาล มอ (สงขลานครินทร์ หาดใหญ่) โดย คุณหมออารักษ์ ทองปิยะภูมิ ตรวจและนัดวันผ่าตัดเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2536 จากนั้นเป็นต้นมาผมก็พูดไม่ได้ต้องใช้เครื่องช่วยพูดจนถึงปัจจุบัน ไม่ทราบว่าคุณหมอบอกว่าเป็นมะเร็งกล่องเสียงหรือไม่ เพราะภรรยาก็ 20 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
  • 21. -เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง- เป็นพยาบาล คุณหมอบอกกับภรรยาว่าผมคงอยู่ได้ไม่เกิน 3-4 ปี ก็จะ เสียชีวิต แต่ผมก็อยู่มาได้ถึง 23 ปี ส่วนคุณหมอคงไม่ทราบว่าคนไข้ของ คุณหมอยังไม่ตาย เพราะนี่คือชีวิตของ นายภานุมาศ ชาติชินเชาว์ ที่ อยากเรียนต้องทางานทุกอย่างที่ได้เรียน เรียนแค่นี้ก็พอใจ ที่อยู่ได้จน ทุกวันนี้ก็เพราะอบายมุขที่ทาให้ชีวิตเปลี่ยนไป จากคนพูดได้กลายเป็น ผู้ป่วยไร้กล่องเสียงพูดกับใครเขาก็ไม่ค่อยรู้เรื่อง จึงเป็นอุทาหรณ์ให้รุ่น ลูกๆ หลานๆ ได้รู้ว่าอบายมุขต่างๆ มันไม่ดี มีแต่ทาร้ายร่างกายเราต้อง เป็นผู้พิการตลอดชีวิต ขออย่าได้เอาเป็นตัวอย่างของลุงคนนี้ด้วยนะครับ ทิ้งท้ายเวลาไปตลาดซื้อของตามร้านค้าต่างๆ ในตลาดตัวเมือง จะต้องเดินตามหลังภรรยาไปด้วยทุกครั้ง พอซื้อของจ่ายเงินเรียบร้อย เจ้าของร้านจะส่งของให้ผมถือ พร้อมพูดว่า “ให้คนขับรถถือก็ได้เจ้” แฟนผมตอบว่า “ไม่ใช่คนขับรถผัวชั้นจ๊ะ” อุทาหรณ์นี้สอนให้รู้ว่า จง เดินนาหน้าหรือเดินคู่กัน ไม่ควรเดินตามหลังเว้นระยะห่างมาก จะทา ให้เป็นเหมือนอย่างผม ผมเข้ามาเป็นสมาชิกชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี เมื่อเดือน พฤษภาคม 2547 โดยได้พบคุณเซี้ยง และ คุณสายหยุดในวันที่มาตรวจ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 21
  • 22. -เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง- ต่อมาจึงสมัครเป็นสมาชิกและมาร่วมประชุมเป็นครั้งคราว ต่อมาในปี 2555 เมื่อภรรยาเกษียณราชการก็ย้ายมาอยู่กรุงเทพฯ จึงได้เข้าร่วม ประชุมอย่างสม่าเสมอ การเข้ามาร่วมกลุ่มทาให้ผมได้พบกับเพื่อนที่ ผ่าตัดกล่องเสียงเหมือนกัน ต่างก็ให้กาลังใจซึ่งกันและกัน ได้ฝึกพูด ให้กับสมาชิกที่ใช้เครื่องช่วยพูดเหมือนกับผม รวมทั้งได้ไปเยี่ยมให้ กาลังใจและคาแนะนาแก่ผู้ป่วยที่รอผ่าตัดและผู้ป่วยหลังผ่าตัดที่ยังนอน พักรักษาอยู่ในโรงพยาบาล ภานุมาศ ชาติชินเชาว์ สมาชิกชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี อาสาสมัครครูฝึกพูดด้วยเครื่องช่วยพูด 22 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
  • 23. - เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง- คุณสุทัศน์ อินทรสุวรรณ สมาชิกชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี สวัสดีครับผมนายสุทัศน์ อินทรสุวรรณ เป็ นผู้ไร้กล่องเสียง เนื่องจากสูบบุหรี่มานาน เริ่มสูบตั้งแต่อายุ 20 ปี สูบมานานกว่า 40 ปี เริ่มมีอาการเสียงแหบได้ไปหาหมอและได้ยามากิน 2-3 วัน อาการไม่ดี ขึ้นจึงไปหาหมอด้านหู คอ จมูก ที่โรงพยาบาลศิริราช ตรวจพบว่าเป็น มะเร็งกล่องเสียง เข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลศิริราช ตั้งแต่ปี 2554 ครั้งแรกคุณหมอให้ยาเคมีบาบัด 7 ครั้ง และฉายแสง 35 ครั้ง ก็ค่อยยัง ชั่ว เสียงดีขึ้นหน่อย แต่อีกไม่นานเสียงก็กลับมาแหบอีก ต่อมาเดือน ตุลาคมต้องเข้าโรงพยาบาลอีก ทีนี้คุณหมอได้เจาะคอให้เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2555 ระหว่างเจาะคอ ผมช็อกไป ไม่รู้นานเท่าไหร่ ช็อกนอน เจาะคอในห้องผ่าตัด มาฟื้ นอีกทีก็อยู่ที่ห้องพักคนไข้ชั้น 1 ตึกเฉลิม พระเกียรติ นอนหายใจไม่สะดวก คุณหมอต้องทาการเจาะปอด ผมคิด คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 23
  • 24. -เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง- ว่าไม่รอดแล้วและวันที่ 2 พฤศจิกายน 2555 ต้องเข้าห้องผ่าตัดอีกครั้ง เพื่อผ่าตัดกล่องเสียงแล้วก็นอนรักษาตัวอีก 15 วัน คุณหมอทดลองให้ กินน้า ปรากฏว่าน้ารั่วที่แผลเลยต้องนอนรักษาตัวอีก ที่นี้แผลมันไม่ติด เลยต้องเข้าทาแผลในห้องผ่าตัดอีก เกือบทุกอาทิตย์ เพราะแผลไม่ติด คุณหมอต้องตัดเนื้อส่วนอื่นมาปิดช่วย ต้องเข้าห้องผ่าตัดทาแผล ตอนที่ คุณหมอมาทาแผลบนเตียงที่ห้องคนไข้ทรมานมาก เวลาทาแผลวันไหน ได้คุณหมอผู้หญิงมาทาแผลก็ค่อยยังชั่วหน่อยไม่ค่อยเจ็บ แต่วันไหน เป็นคุณหมอผู้ชายมาทาแผลเจ็บมาก บางครั้งก่อนทาแผล 30 นาที พยาบาลต้องมาฉีดยามอร์ฟีนให้ก่อนไม่อย่างนั้นเจ็บมากๆ ระหว่าง นอนรักษาตัวอยู่นั้น คุณหมอส่งตัวไปอบออกซิเจนความดันบรรยากาศ สูง (ไฮเปอร์แบริค) เหมือนคนดาน้าลึกเข้าไปนอนในแคปซูล เจ้าหน้าที่ เขาจะปรับอากาศแรงดันแรกๆ หูจะอื้อ ต้องหาวเพื่อไม่ให้หูอื้อ ต้องอยู่ ในแคปซูลครั้งละ 1.30 ชั่วโมง ผมต้องอบทั้งหมด 60 ครั้งเป็นเวลา 90 ชั่วโมง ระหว่างนอนรักษาตัวและทาแผลผมต้องไปหาซื้อยาที่ โรงพยาบาลปิ่นเกล้า (โรงพยาบาลทหารเรือ) ยาทาแผลอันนี้ผมจาไม่ได้ แล้วว่าชื่ออะไร ยาเป็นหลอดที่โรงพยาบาลศิริราช และตามร้านขายยา 24 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
  • 25. -เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง ไม่มีขาย ต้องไปซื้อที่โรงพยาบาลปิ่นเกล้าที่เดียว คุณหมอเป็นคนเขียน ชื่อยาให้ไป ยาหลอดเล็กหลอดละ 900 บาท ผมต้องใช้ประมาณ 5 หลอด ระหว่างรักษาตัวอยู่นั้นคุณหมอเขาเจาะหน้าท้องเพื่อให้อาหาร ทางหน้าท้อง ผมไม่ได้กินอาหารทางปากเกือบปี 9 เดือนที่นอนอยู่ที่โรงพยาบาลศิริราช ผมเริ่มไปฝึกพูดครั้งแรก วันที่ 16 กรกฎาคม 2557 ผมเองคิดว่าไม่รอดแล้วสาเหตุที่แผลไม่ติด เพราะฉายแสงก่อนผ่าตัดเนื้อและเซลล์ต่างๆ มันตายเลยเป็นเรื่องใหญ่ ในตัวมีแผลเป็นเต็มไปหมด ผมเข้ามาเป็นสมาชิกของชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดีทาให้ ได้รับประสบการณ์ใหม่ๆ ได้ฝึกพูด ได้มีเพื่อนที่คอยให้กาลังใจเพิ่มขึ้น ขณะนี้ผมพูดโดยใช้หลอดอาหารได้มากขึ้นแล้วครับ คุณสุทัศน์ อินทรสุวรรณ สมาชิกชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 25
  • 26. -ข่าวสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง- การฝึกพูดด้วยหลอดอาหารจริงๆ แล้ว อาจยากในขณะที่เริ่มต้น ออกเสียง อาจท้อหรือหมดกาลังใจได้ แต่เมื่อออกเสียงได้ การฝึกพูด คาสองคาแรกก็แสนยาก แต่เมื่อพูดได้แล้ว การพูดสามคาหรือการพูด เป็นประโยคไม่ใช่เรื่องยาก ขณะนี้การฝึกพูดใช้เวลาสามถึงสี่เดือนก็พูด กันได้คล่องแคล่วขึ้น ถ้าอยากรู้คงต้องเชิญสมาชิกฯ มาเยี่ยมชม และมา ลองฝึกพูดที่ชมรมฯ นะคะ ขณะนี้มีชมรมดูพระและนาฬิกาเลอค่า จากเซียนหลายๆ ท่าน ใครว่างยกกรุมาให้เซียนช่วยกันพิจารณาได้ค่ะ ช่วงปลายปีจะมีกิจกรรมทัศนศึกษาศิลปวัฒนธรรม (จริงๆ แล้ว เป็นการฝึกพูดกับครูฝึกโดยที่ไม่มีใครสามารถโดดร่มได้ อิๆ) กิจกรรม ประชุมสามัญประจาปีและการจัดกิจกรรมปีใหม่ สมาชิกท่านใดสนใจ สถานที่ใด สนใจอยากฟังวิชาการเรื่องใด สามารถเสนอมาได้นะคะ สมาชิกท่านใดสนใจเขียนเล่าประสบการณ์ ต้องการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในจุลสารฯ สามารถส่งมาได้ตลอดนะคะ ต้องการ ด่วน ๆ 26 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ตค – พย 2558
  • 27. บทความวิชาการเรื่อง การรับรู้กลิ่นของผู้ไร้กล่องเสียง การเตรียมตัวก่อนผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมด ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี สุทธินี สุดใจ หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกโสต ศอ นาสิก ชั้น 2 โซน H อาคารสมเด็จพระเทพรัตน์ 270 โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม 10400 เวลาทากิจกรรม ทุกวันอังคาร เวลา 9.00 – 11.00 น. บริเวณศูนย์เสริมพลังสร้างสุขภาพ อาคารเรียนรวม ชั้น 1 ยินดีต้อนรับผู้ไร้กล่องเสียงทุกท่าน พิมพ์เผยแพร่ สงวนลิขสิทธิ์ เมษายน 2560 เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้แก่ผู้ป่วยมะเร็งกล่องเสียง พิมพ์ที่ ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 270 โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนน พระราม 6 แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กทม 10400 โทร 0917746482, 0811382117