SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
นำเสนอโดย กลุ่ม  strawberry  สมาชิกกลุ่ม 1. ด . ญ . สุพัตรา  แก้วอามาตย์  ชั้น ม .1/13  เลขที่  42 2. ด . ญ . ญาฎา เรียนดารา  ชั้น ม .1/13  เลขที่  8 3. ด . ช . พัณณกร  สารสุวรรณ  ชั้น ม .1/13  เลขที่  23  4. ด . ญ . เพชรัตน์  ไชโย  ชั้น ม .1/13  เลขที่  25 5. ด . ญ . สุภาพิชญ์  สมแวง  ชั้น ม .1/13  เลขที่  37
สาเหตุของโรคเบาหวาน 1. ถ้ามีพี่น้อง พ่อแม่  ( ญาติสายตรง )  เป็น ก็จะมีโอกาสหรือ 1 ความเสี่ยง ในการเกิดโรคเบาหวาน 2.  ความอ้วน ขาดการออกกำลังกาย  กินอาหารแป้ง ,  น้ำตาลมากเกินไป   3.  เบาหวานจากการตั้งครรภ์ ,  เบาหวานจากยา เช่น ยาสเตียรอยด์  ที่ชอบใช้แบบผิดๆ รักษา โรคปวดข้อ ,  ปวดกระดูก ,  ตับอ่อนอักเสบ  4.  คนที่ชอบดื่มเหล้ามากๆ จนเป็นตับอ่อนอักเสบ สุดท้ายก็เบาหวาน จากการขาดสารอาหาร  ( ทุพโภชนาการ )
อาการเบื้องต้นของเบาหวาน 1. ปวดปัสสาวะบ่อย ครั้งขึ้น 2. กระหายน้ำ และดื่มน้ำในปริมาณมากๆต่อครั้ง 3. อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายไม่มีเรี่ยวแรง 4. เบื่ออาหาร 5. น้ำหนักตัวลดโดยไม่ทราบสาเหตุ โดยเฉพาะถ้าหากน้ำหนักเคยมากมาก่อน อันเนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปสร้างพลังงานได้เต็มที่จึงต้องนำไขมันและโปรตีนจากกล้ามเนื้อมาใช้ทดแทน  6. ติดเชื้อบ่อยกว่าปรกติ เช่นติดเชื้อทางผิวหนังและกระเพาะอาหาร สังเกตได้จากเมื่อเป็นแผลแล้วแผลจะหายยาก 7. สายตาพร่ามองไม่ชัดเจน  8. อาการชาไม่ค่อยมีความรู้สึก เนื่องมาจากเบาหวานจะทำลายเส้นประสาทให้เสื่อมสมรรถภาพลงความสามารถในการรับรู้ความรู้สึกจึงถดถอยลง 9. อาจจะมีอาการของโรคหัวใจ และโรคไต
วิธีป้องกันการเป็นโรคเบาหวาน การควบคุมโภชนาการสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน เลือกรับประทานอาหารโดยคำนึงถึงพลังงานที่ได้ตามประเภทของอาหาร คือ พลังงานจากคาร์โบไฮเดรต  ( แป้ง )  ประมาณ  50-60% พลังงานจากโปรตีน  ( เนื้อสัตว์ )  ประมาณ  15-20% พลังงานจากไขมัน ประมาณ  25%  อย่ารับประทานอาหารจุกจิกและไม่ตรงเวลา ถ้าพลาดมื้ออาหารไปอาจเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำเกินไป  รับประทานในปริมาณที่สม่ำเสมอคงที่ ไม่ควรรับประทานมากเกินไป หรือน้อย   ผู้ที่เป็นความดันเลือดสูง หรือโรคไตร่วมด้วย ไม่ควรรับประทานอาหารรสเค็มจัด ควรจะ ลดอาหารเค็ม   
สถิติคนไทยที่เป็นโรคเบาหวาน จากสถิติจำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลก  50  ล้านคนในปีพ . ศ . 2528  เพิ่มเป็นกว่า  170  ล้านคนในขณะนี้ และมีการทำนายว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น  300 ล้านคนในปีพ . ศ . 2568 จึงเป็นความท้าทายของงานสาธารณสุขยุคศตวรรษที่  21  นี้เป็นอย่างยิ่ง ในการควบคุมป้องกันภาวะโรคนี้ สำหรับประเทศไทย แต่ละปีมีผู้เสียชีวิตด้วยเบาหวานปีละ  2  หมื่นคน ความชุกของเบาหวานในประชาชนไทยอายุ  35   ปีขึ้นไปมีร้อยละ  9.6  และร้อยละ  50  ของผู้เป็นเบาหวานเหล่านี้ไม่ทราบว่าตนเองมีเบาหวาน ดังนั้นกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยเบาหวานไม่ได้รับการวินิจฉัยจึงสูญเสียโอกาสในการทราบว่าตนเองเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ต้องรีบดำเนินการป้องกันและ รักษา   “ จากผลสำรวจกลุ่มของดิฉันพบว่าไม่มีใครที่เป็นโรคเบาหวาน ”
บรรณานุกรม http://thaidiabetes.blogspot.com/

More Related Content

What's hot

โรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนโรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนThanaporn Srithananun
 
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอลโครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอลNat Pat
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
Powerpoint2003 สุขศึกษา
Powerpoint2003 สุขศึกษาPowerpoint2003 สุขศึกษา
Powerpoint2003 สุขศึกษาmommam12345
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โครอ้วน
โครอ้วนโครอ้วน
โครอ้วนpunyaporn St
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวานiceconan25
 
โรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงโรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงJintana Mokhuntod
 
ผลิตภัณฑ์พูดวันอังคาร
ผลิตภัณฑ์พูดวันอังคารผลิตภัณฑ์พูดวันอังคาร
ผลิตภัณฑ์พูดวันอังคารEASY ROOM
 
โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]arpakornsw2
 

What's hot (11)

โรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนโรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีน
 
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอลโครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
Powerpoint2003 สุขศึกษา
Powerpoint2003 สุขศึกษาPowerpoint2003 สุขศึกษา
Powerpoint2003 สุขศึกษา
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วนโครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
 
โครอ้วน
โครอ้วนโครอ้วน
โครอ้วน
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
โรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงโรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วง
 
ผลิตภัณฑ์พูดวันอังคาร
ผลิตภัณฑ์พูดวันอังคารผลิตภัณฑ์พูดวันอังคาร
ผลิตภัณฑ์พูดวันอังคาร
 
โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]
 

Similar to โรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคเบาหวาน Help Time M1/16
โรคเบาหวาน Help Time M1/16โรคเบาหวาน Help Time M1/16
โรคเบาหวาน Help Time M1/16Narada_merry
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนโรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนPraexp
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวานbeam35734
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียนอาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียนCaween Queen
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 

Similar to โรคเบาหวาน (20)

โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน Help Time M1/16
โรคเบาหวาน Help Time M1/16โรคเบาหวาน Help Time M1/16
โรคเบาหวาน Help Time M1/16
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนโรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีน
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียนอาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
Alzheimer
AlzheimerAlzheimer
Alzheimer
 

โรคเบาหวาน

  • 1. นำเสนอโดย กลุ่ม strawberry สมาชิกกลุ่ม 1. ด . ญ . สุพัตรา แก้วอามาตย์ ชั้น ม .1/13 เลขที่ 42 2. ด . ญ . ญาฎา เรียนดารา ชั้น ม .1/13 เลขที่ 8 3. ด . ช . พัณณกร สารสุวรรณ ชั้น ม .1/13 เลขที่ 23 4. ด . ญ . เพชรัตน์ ไชโย ชั้น ม .1/13 เลขที่ 25 5. ด . ญ . สุภาพิชญ์ สมแวง ชั้น ม .1/13 เลขที่ 37
  • 2. สาเหตุของโรคเบาหวาน 1. ถ้ามีพี่น้อง พ่อแม่ ( ญาติสายตรง ) เป็น ก็จะมีโอกาสหรือ 1 ความเสี่ยง ในการเกิดโรคเบาหวาน 2. ความอ้วน ขาดการออกกำลังกาย  กินอาหารแป้ง , น้ำตาลมากเกินไป  3. เบาหวานจากการตั้งครรภ์ , เบาหวานจากยา เช่น ยาสเตียรอยด์  ที่ชอบใช้แบบผิดๆ รักษา โรคปวดข้อ , ปวดกระดูก , ตับอ่อนอักเสบ 4. คนที่ชอบดื่มเหล้ามากๆ จนเป็นตับอ่อนอักเสบ สุดท้ายก็เบาหวาน จากการขาดสารอาหาร ( ทุพโภชนาการ )
  • 3. อาการเบื้องต้นของเบาหวาน 1. ปวดปัสสาวะบ่อย ครั้งขึ้น 2. กระหายน้ำ และดื่มน้ำในปริมาณมากๆต่อครั้ง 3. อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายไม่มีเรี่ยวแรง 4. เบื่ออาหาร 5. น้ำหนักตัวลดโดยไม่ทราบสาเหตุ โดยเฉพาะถ้าหากน้ำหนักเคยมากมาก่อน อันเนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปสร้างพลังงานได้เต็มที่จึงต้องนำไขมันและโปรตีนจากกล้ามเนื้อมาใช้ทดแทน 6. ติดเชื้อบ่อยกว่าปรกติ เช่นติดเชื้อทางผิวหนังและกระเพาะอาหาร สังเกตได้จากเมื่อเป็นแผลแล้วแผลจะหายยาก 7. สายตาพร่ามองไม่ชัดเจน 8. อาการชาไม่ค่อยมีความรู้สึก เนื่องมาจากเบาหวานจะทำลายเส้นประสาทให้เสื่อมสมรรถภาพลงความสามารถในการรับรู้ความรู้สึกจึงถดถอยลง 9. อาจจะมีอาการของโรคหัวใจ และโรคไต
  • 4. วิธีป้องกันการเป็นโรคเบาหวาน การควบคุมโภชนาการสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน เลือกรับประทานอาหารโดยคำนึงถึงพลังงานที่ได้ตามประเภทของอาหาร คือ พลังงานจากคาร์โบไฮเดรต ( แป้ง ) ประมาณ 50-60% พลังงานจากโปรตีน ( เนื้อสัตว์ ) ประมาณ 15-20% พลังงานจากไขมัน ประมาณ 25% อย่ารับประทานอาหารจุกจิกและไม่ตรงเวลา ถ้าพลาดมื้ออาหารไปอาจเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำเกินไป รับประทานในปริมาณที่สม่ำเสมอคงที่ ไม่ควรรับประทานมากเกินไป หรือน้อย   ผู้ที่เป็นความดันเลือดสูง หรือโรคไตร่วมด้วย ไม่ควรรับประทานอาหารรสเค็มจัด ควรจะ ลดอาหารเค็ม  
  • 5. สถิติคนไทยที่เป็นโรคเบาหวาน จากสถิติจำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลก 50 ล้านคนในปีพ . ศ . 2528 เพิ่มเป็นกว่า 170 ล้านคนในขณะนี้ และมีการทำนายว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น 300 ล้านคนในปีพ . ศ . 2568 จึงเป็นความท้าทายของงานสาธารณสุขยุคศตวรรษที่ 21 นี้เป็นอย่างยิ่ง ในการควบคุมป้องกันภาวะโรคนี้ สำหรับประเทศไทย แต่ละปีมีผู้เสียชีวิตด้วยเบาหวานปีละ 2 หมื่นคน ความชุกของเบาหวานในประชาชนไทยอายุ 35   ปีขึ้นไปมีร้อยละ 9.6 และร้อยละ 50 ของผู้เป็นเบาหวานเหล่านี้ไม่ทราบว่าตนเองมีเบาหวาน ดังนั้นกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยเบาหวานไม่ได้รับการวินิจฉัยจึงสูญเสียโอกาสในการทราบว่าตนเองเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ต้องรีบดำเนินการป้องกันและ รักษา “ จากผลสำรวจกลุ่มของดิฉันพบว่าไม่มีใครที่เป็นโรคเบาหวาน ”