SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
โครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อโครงงาน กล้องถ่ายรูป
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นาย ณัฐภัทร ปินตา เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 7
2. นาย วรายุทธ พรหมรัตน์ เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ภาค
เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 34
ก
เรื่อง กล้องถ่ายรูป ( Camera )
ประเภทโครงงาน โครงงานศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายณัฐภัทร ปินตา
นายวรายุทธ พรหมรัตน์
ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์
รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปีการศึกษา 2/2560
บทคัดย่อ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กล้องถ่ายรูป ( Camera ) จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ 1)
เพื่อศึกษารูปแบบกล้องต่างๆ 2) เพื่อศึกษาวิธีการถ่ายรูปในแนวต่างๆ 3)เพื่อศึกษาและ
ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพกล้องให้ดียิ่งขึ้น 4) เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการการถ่ายรูปสาหรับ
คนที่สนใจในการถ่ายภาพ โดยมีเครื่องมือและอุปกรณ์คือ เว็บไซต์สาหรับเผยแพร่ข้อมูลที่ได้
ศึกษา PowerPoint ในการนาเสนอโครงงานและรูปเล่มโครงงาน ส่วนแนวทางการดาเนินงาน
จะเริ่มตั้งแต่ กาหนดหัวข้อที่ ต้องการศึกษา รวบรวมข้อมูลที่ต้องการศึกษา ทาโครงร่าง
โครงงาน เริ่มทาการศึกษาตามหัวข้อที่ กาหนด รวบรวมข้อมูลต่างๆ แล้วสุดท้ายเรียบเรียงเป็น
โครงงานให้สมบูรณ์ที่สุด หลังจากการศึกษา ได้สรุปผลการดาเนินงานดังนี้ ทาให้ผู้จัดทาและผู้
ที่สนใจได้รับความรู้ในเรื่อง กล้องถ่ายรูปและการถ่ายภาพ และสามารถนามาปรับใช้ในชีวิต
ประจา มาวันหรือทาเป็น อาชีพเสริมได้
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กล้องถ่ายรูป ( Camera ) สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจาก
อาจารย์เขื่อนทอง มูลวรรณ์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานที่ได้ให้คาเสนอแนะ คาแนะนา
ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆโดยตลอด จนโครงงานเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ ผู้ศึกษาจึง
ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ให้คาปรึกษา และการสนับสนุนในเรื่องต่างๆ รวมทั้งเป็นกาลังใจที่ดี
เสมอ
สุดท้ายขอบคุณเพื่อนๆที่ช่วยให้คาแนะนาดีๆเกี่ยวกับการท า
โดย
ณัฐภัทร ปินตา
วรายุทธ พรหมรัตน์
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ
บทที่ 1 บทนา 1
ที่มาและความสาคัญ
วัตถุประสงค์
ขอบเขตการศึกษา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3
การทางานของกล้องถ่ายรูป
ประวัติกล้อง
ชนิดของกล้องและระบบของกล้อง
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 16
แนวทางการดาเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
งบประมาณ
สถานที่ดาเนินการ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 18
การนาไปใช้
บทที่ 5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ 19
ผลการดาเนินโครงงาน
อุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
แหล่งอ้างอิง 20
1
บทที่ 1
บทนา
เรื่อง กล้องถ่ายรูป ( Camera )
ประเภทโครงงาน โครงงานศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายณัฐภัทร ปินตา
นายวรายุทธ พรหมรัตน์
ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 - ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
กล้องถ่ายรูปนั้นเป็นสิ่งที่มีมานานแล้ว โดยในยุคแรกถ่ายโดยใช้กล้องรูเข็ม ยิ่งรูเล็ก
เท่าไหร่ภาพก็จะเบลอขึ้นเท่านั้น สมัยก่อนใช้ร่างภาพก่อนการวาดรูปเหมือน แต่เป็นการ
ถ่ายภาพที่ใช้เวลานานมาก และภาพไม่เบลอเท่าที่ควร ต่อมามีการประดิษฐ์เลนส์ ชิ้นแก้วที่มี
คุณสมบัติในการแยกแสงขึ้น จึงทาให้ถ่ายภาพได้เบลอกว่าเดิม
กล้องถ่ายภาพยุคบุกเบิก
เป็นกล้องถ่ายภาพที่มีลักษณะเป็นกล่อง ใช้ฟิล์มขนาดใหญ่ ชาวบ้านเรียกกล้องบ็อกซ์
(อย่าสับสนกับกล้อง 120 ที่หลายคนโมเมเรียกว่ากล้องบ็อกซ์นะ) เวลาจะถ่ายทีก็ต้องมุดหัว
ถ่าย มีอุปกรณ์น้าหนักมากทาให้ไม่สะดวกต่อการใช้งาน ฟิล์มถ่ายรูปในยุคนั้นก็มีความไวแสง
ต่า ทาให้การถ่ายรูปกินเวลานาน ภายหลังก็ได้มีการพัฒนาให้มีความไวแสงสูงขึ้นเรื่อยๆ
กาเนิดกล้องขนาดเล็ก
เมื่อพัฒนาฟิล์มถ่ายภาพให้มีความไวแสงสูงขึ้น ก็มีความคิดที่จะทากล้องให้เล็กลงจนกระทั่ง
นาไปถ่ายที่ไหนๆ ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น จึงได้มีการพัฒนากล้องขนาด
เล็กที่ใช้ฟิล์ม 35มม. ขึ้น และภายหลังก็ได้พัฒนากล้องที่มีการหาระยะเบลอในตัวได้ขึ้นมา
เรียกว่า Rangefinder โดยเริ่มรุ่นแรกคือ ไล่การุ่นที่ 1
2
วัตถุประสงค์
1) เพื่อศึกษากล้องถ่ายรูป
2) เพื่อศึกษาวิธีการถ่ายรูปลักษณะต่างๆ
3) เพื่อศึกษาและส่งเสริมการถ่ายรูป
4) เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการถ่ายรูปแก่ผู้ที่สนใจ
5) เพื่อเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ขอบเขตโครงงาน
การถ่ายรูปในลักษณะต่างๆ และผู้ที่สนใจศึกษาการถ่ายรูปแบบที่ตัวเองชื่นชอบ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ความรู้เกี่ยวกับกล้องถ่ายรูป
2. ได้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการถ่ายรูปลักษณะต่างๆ
3. ได้ส่งเสริมการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์
4. ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการถ่ายรูปแก่ผู้ที่สนใจ
5. เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
3
บทที่ 2
หลักการและทฤษฎี
ในการจัดทาโครงงานเรื่อง กล้องถ่ายรูป ( Camera ) จาเป็นต้องศึกษาทฤษฎีที่
เกี่ยวข้องดังนี้
1. การทางานของกล้องถ่ายรูป
การทางานของกล้องถ่ายรูป ดวงตากับกล้องถ่ายรูป การทางานของกล้องถ่ายรูป
ก็มีลักษณะคล้ายกับดวงตาของคนเราหลายประการกล่าวคือ
- ทั้งดวงตา และกล้องถ่ายรูปมีเลนส์ทาหน้าที่หักเหแสงไปรากฎที่ฉากหลัง
- ดวงตามีม่านตา (lris) สาหรับปรับขนาดให้แสงผ่านเข้าไปในดวงตาแตกต่างกัน
ไป
- กล้องถ่ายรูปมีไออะแฟรม (diaphragm) สาหรับปรับขนาดรูรับแสง
(Aperture)
ทั้งเลนส์และกล้องถ่ายรูปมีระบบไกสาหรับปิด – เปิดให้แสงผ่านเลนส์เหมือนกัน คือ
ดวงตาควบคุมด้วยหน้าตา และกล้องถ่ายรูปควบคุมด้วยชัตเตอร์ (Shutter) ฉากรับภาพใน
ดวงตามประกอบไปด้วยเส้นประสาทที่ไวต่อแสงเรียกว่าเรตินา(Retina)เมื่อรับภาพแล้วจะมี
ประสาทเชื่อมโยง ไปยังส่วนที่รับรู้เกี่ยวกับการมองเห็นส่วนในกล้องถ่ายรูปนั้น ฉากรับภาพก็
คือฟิล์มซึ่งเป็นวัสดุไวแสงนั่นเอง ส่วนที่แตกต่างกันที่สาคัญประการหนึ่ง คือ ดวงตาปรับรูม่าน
4
ตาให้รับแสงมากหรือน้อยได้ โดยอัตโนมัติ ในห้องมืด ม่านตา (lris) จะขยายกว้างขึ้นเพ่อ
ให้แสงเข้าไปได้มากเท่าที่จะทาได้ และในที่มีแสงมากม่านตาจะป้องกันแสงให้ผ่านเข้าไปได้
น้อยลง ส่วนในกล้องถ่ายรูปไม่สามารถปรับหน้ากล้องได้โดยอัตโนมัติทั้งหมด ในกล้องรุ่นใหม่
บางรุ่นออกแบบมาให้ปรับไดอะแฟรมในระบบกึ่งอัตโนมัติ (Semi – automatic) ข้อแตกต่าง
ที่สาคัญอีกประการหนึ่งก็คือ ดวงตาของคนมักรับรู้สิ่งต่าง ๆ ที่เป็นส่วนสาคัญเพียงส่วนเดียว
ตรงกันข้ามกับกล้องถ่ายรูปซึ่งไม่สามารถเลือกบันทึกรายละเอียดในส่วนของวิวอย่างเช่นที่ตา
เราเห็นได้ (Eye sees selectively while the camera sees indiscriminately) นัยน์ตา
มนุษย์ สามารถกาหนดให้ความสนใจเฉพาะจุดได้โดยตัดสิ่งอื่นๆออกไป
แต่กล้องถ่ายรูปจะบันทึกทุกสิ่งลงไป ยกตัวอย่างเช่น เมื่อบันทึกภาพคนที่ยืนอยู่ใต้
ต้นไม้ หรือเสาโทรเลข ตาเราสามารถแยกภาพคนออกมาได้จากฉากหลัง โดยเลือกรับรู้เฉพาะ
คนที่ยืนอยู่และตัดความสนใจของฉากหลังที่ไม่อยู่ในความสนออกไปได้ แต่สาหรับการ
บันทึกภาพของกล้องถ่ายรูป เสาหรือกิ่งไม้ที่อยู่ในตาแหน่งเหนือศีรษะจะปรากฏให้เห็นในภาพ
ทาให้มองดูเหมือนกับว่ามีเสาหรือกิ่งไม้ยื่นออกมาจากศีรษะของคนคนนั้น ทั้งนี้เนื่องจากผู้ถ่าย
มิได้รับรู้และให้ความสนใจต่อสิ่งที่อยู่ในฉากหลังของวัตถุ ดังนั้นในการถ่ายภาพผู้ถ่ายจึงต้อง
พยายามองเห็นสิ่งต่าง ๆ อย่างเดียวกับที่กล้องเห็นจึงจะทาให้ได้ภาพออกมาดี
5
2. ส่วนประกอบต่างๆของกล้องถ่ายภาพ
1. ปุ่มชัตเตอร์ กดปุ่มนี้เพื่อลั่นชัตเตอร์ การกดปุ่มชัตเตอร์มี 2 จังหวะ คือเมื่อกดปุ่มลง
ครึ่งหนึ่งเพื่อใช้งานฟังก์ชั่นโฟกัสอัตโนมัติ และกดลงสุดเพื่อลั่นชัตเตอร์
2. เมาท์ของเลนส์ ส่วนนี้ใช้เพื่อยึดเลนส์แบบถอดเปลี่ยนได้เข้ากับตัวกล้อง ต่อเลนส์โดย
การเลื่อนไปตามผิวหน้าของเมาท์
3. กระจก แสงที่เข้าสู่เลนส์จะสะท้อนจากกระจกชิ้นนี้ไปยังช่องมองภาพ กระจกนี้มี
กลไกที่เลื่อนได้ และจะดีดตัวขึ้นทันทีก่อนถ่ายภาพ
4. ช่องบรรจุแบตเตอรี่ บรรจุแบตเตอรี่ที่มาพร้อมกล้องที่ช่องนี้ ใส่แบตเตอรี่โดยให้ขั้ว
แบตเตอรี่หันเข้าด้านในบอดี้กล้อง
5. รูยึดขาตั้งกล้อง รูด้านล่างของบอดี้กล้องมีไว้สาหรับยึดกล้องเข้ากับขาตั้งกล้องที่มี
วางจาหน่ายทั่วไป ขนาดของสกรูมีมาตรฐานเดียวกัน จึงใช้ด้วยกันได้ไม่ว่าขาตั้งกล้องยี่ห้อใด
6. ปุ่มปลดเลนส์กดปุ่มนี้เมื่อต้องการถอดเลนส์ สลักล็อคเลนส์จะคลายออกเมื่อกดปุ่มนี้
ทาให้คุณหมุนเลนส์ได้อย่างไม่ติดขัด ก่อนถ่ายภาพ ให้ล็อคเลนส์อยู่กับที่โดยการหมุนเลนส์เข้า
ตาแหน่งจนได้ยินเสียง “คลิก”
7. ดัชนีสาหรับติดตั้งเลนส์ ใส่เลนส์โดยให้ตั้งแนวเครื่องหมายสีแดงบนตัวกล้องตรงกับ
เครื่องหมายบนตัวเลนส์ สาหรับเลนส์ EF ให้ใช้เครื่องหมายดัชนีสีแดง
8. แฟลชในตัว คุณสามารถยิงแสงไฟแฟลชเพื่อการถ่ายภาพในสถานที่ที่มีแสงน้อยได้
เมื่อจาเป็น ในบางโหมด แฟลชอาจเปิดทางานขึ้นมาเองโดยอัตโนมัติ
6
ประวัติกล้อง
กล้องถ่ายรูปนั้นเป็นสิ่งที่มีมานานแล้ว โดยในยุคแรกถ่ายโดยใช้กล้องรูเข็ม ยิ่งรูเล็ก
เท่าไหร่ภาพก็จะเบลอขึ้นเท่านั้น สมัยก่อนใช้ร่างภาพก่อนการวาดรูปเหมือน แต่เป็นการ
ถ่ายภาพที่ใช้เวลานานมาก และภาพไม่เบลอเท่าที่ควร ต่อมามีการประดิษฐ์เลนส์ ชิ้นแก้วที่มี
คุณสมบัติในการแยกแสงขึ้น จึงทาให้ถ่ายภาพได้เบลอกว่าเดิม
1. กล้องถ่ายภาพยุคบุกเบิก
เป็นกล้องถ่ายภาพที่มีลักษณะเป็นกล่อง ใช้ฟิล์มขนาดใหญ่ ชาวบ้านเรียกกล้องบ็อกซ์
(อย่าสับสนกับกล้อง 120 ที่หลายคนโมเมเรียกว่ากล้องบ็อกซ์นะ) เวลาจะถ่ายทีก็ต้องมุดหัว
ถ่าย มีอุปกรณ์น้าหนักมากทาให้ไม่สะดวกต่อการใช้งาน ฟิล์มถ่ายรูปในยุคนั้นก็มีความไวแสง
ต่า ทาให้การถ่ายรูปกินเวลานาน ภายหลังก็ได้มีการพัฒนาให้มีความไวแสงสูงขึ้นเรื่อยๆ
2. กาเนิดกล้องขนาดเล็ก
เมื่อพัฒนาฟิล์มถ่ายภาพให้มีความไวแสงสูงขึ้น ก็มีความคิดที่จะทากล้องให้เล็กลง
จนกระทั่งนาไปถ่ายที่ไหนๆ ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น จึงได้มีการพัฒนา
กล้องขนาดเล็กที่ใช้ฟิล์ม 35มม. ขึ้น และภายหลังก็ได้พัฒนากล้องที่มีการหาระยะเบลอในตัว
ได้ขึ้นมา เรียกว่า Rangefinder โดยเริ่มรุ่นแรกคือ ไล่การุ่นที่ 1
3. กล้องมองภาพผ่านเลนส์
แต่กล้องแบบแร้งไฟเบอร์ ก็มีปัญหาในเรื่องของการมองภาพที่เหลี่ยมกัน ทาให้ไม่สามารถ
ถ่ายในระยะใกล้ได้ แม้จะมีการปรับแก้ไขก็ยังไม่สมบูรณ์เสียเลยทีเดียว จึงพัฒนากล้องอีก
รูปแบบ คือใช้แสงส่องจากเลนส์กระทบกระจกสะท้อนขึ้นไปที่ช่องมอง แรกๆใช้เลนส์คู่แต่
เปลี่ยนเลนส์ไม่สะดวก จึงได้ย้ายชัตเตอร์มาที่ระนาบฟิล์มเพื่อให้ใช้มองภาพผ่านเลนส์ตัวเดียว
ได้สะดวกขึ้น และเห็นภาพเหมือนจริงตลอด เรียกว่ากล้อง SLR แรกๆใช้ในกล้องฟิล์ม 120
ตอนหลังก็เอามาปรับใช้กับกล้อง 35มม. โดยเพิ่มแก้วหักเหภาพเพื่อให้ภาพในช่องมองดูเป็น
เท็จมากยิ่งขึ้น
7
4. การพัฒนาระบบวัดแสง
5. กล้องอิเล็กทรอนิกส์
6. กล้องแมนนวลโฟกัส
เพราะว่าคนในยุคต่อมา ขยันหมุนหาโฟกัสแล้ว และเพื่อให้การถ่ายภาพเป็นเรื่องกล้วยๆ
ผู้ผลิตกล้องที่รู้ใจคนใช้เป็นอย่างดีจึงแยกเอามอเตอร์หมุนเลนส์ออกจากกล้อ โดยกล้องแมน
นวลโฟกัสนั้นได้ช่วยให้การถ่ายภาพนั้นสะดวกรวดเร็วขึ้นมากทีเดียว และมันก็ทาให้นักภาพ
ขยันขึ้นพอสมควร
กล้องแมนนวลโฟกัสในยุคต่อมาก็ได้พัฒนาในเรื่องความช้าในการโฟกัสให้ช้าขึ้นเรื่อยๆ
เงียบสงัด และสะดวกสบาย โดยมีการเพิ่มพื้นที่การโฟกัส เพิ่มจุดโฟกัส เขวี้ยงมอเตอร์ทิ้งลงถัง
ขยะในช่วงหลังๆ และผู้สร้างกล้องก็ไปเพิ่มความเร็วของมอเตอร์ในการเลื่อนฟิล์มและกดภาพ
ยิงรัวได้เร็วขึ้นเรื่อยๆ จนเร็วที่สุดที่ 10 ภาพต่อวินาทีในกล้อง Canon EOS-1V
นอกจากนี้ก็ยังมีกล้องบางยี่ห้อเช่น Minolta(หมีนอนอ้า) และ Pentax(เป็นแตด)ได้พัฒนา
ระบบการซูมแบบพาวเย่อร์ ใช้มอเตอร์ในเลนส์ในการหมุนซูม แต่มันทางานไม่ค่อยได้อย่างใจ
คนเลยไม่ค่อยชอบ สักพักก็เลิกทาไป
การมีกล้องแมนนวลโฟกัสนั้นทาให้การถ่ายภาพเป็นเรื่องที่คนไม่เคยใช้กล้องก็โคตรงงกับ
การใช้งานกล้อง ต่อมาผู้ผลิตจึงผลิตกล้องออโต้โฟกัสมาขายควบคู่กับกล้องแมนนวลโฟกัสใน
ภายหลัง
7. ก้าวสู่ยุคดิจิตอล
รายชื่อผู้ผลิตกล้องถ่ายภาพ
• Canon = แคนตั้ง,แคนเอียง,แคนง่วง,แคนหลับ,แคนล้ม,หนอน,ขนอน,ผีขนอน,หนอน
โหล (คนใช้กันเยอะเกินไป),แค่หนอน
• Nikon = นิกร,นิก้อน,ก้อน(ก้อนหัวเกรียน)
• Panasonic = ปลานา,ปลาเนา,ปลาเน่า พรรณนา-เจ้าเม่นสายฟ้า(สาหรับบางคนรับมุข
ไม่ทัน: การ์ตูน Sonic เรียกเป็นไทยว่า "เจ้าเม่นสายฟ้า")
• Sony = โซหนี้[(แพงสมชื่อ),(ซื้อแล้ว เป็นหนี้จนหิวโซ ไม่มีเงิน)],ซนนี่,ซอยขี้,โซเน่า,โซหมี
,หมีโซ,โทรมนี่,โทรมเน่า
• Olympus = โอลี่,โอลิมปวย,โอลิมป่วย,โอตาลิ้มปั๊ดเหนี่ยว
8
• Ricoh = เรโกะจัง,ริจะโก้,แสนโก้
• Pentax = แป้นแตก(คาอุทาน),เป็นแดก,เป็นแตก,เป็นแตด
• Minolta = หมีนอนอ้า,หมี,หมีนอนตาย
• Konica = โคหมี,คนนี้กล้า,คนมันกล้า
• Fujifilm = หัวฟู,ไอ้หัวฟูโรคจิต
• Tamron = ทาหล่น
• Sigma = ซิกฝ้า(ขึ้นชื่อเรื่องขึ้นฝ้า),อาม่า,เซกม่า
• Samsung = ซาสูง,สาส่อน,ช้าสูง,สามชอด,สามสอด,ซ้อนสาม,ซัมสุ่ม,ซัมซวย,แซมผี,แซม
ซัง,แซมซั่น แซมเซง,แสนแสบ ฯลฯ
• Tamrac = ทารัก
• Lowepro = โหลโปร(มีคนใช้เยอะมากเลยดูโหล)
• Domke = ดมขี้
• Mikona = ไมกลัวหน้า,อีกัวน่า
• Leica = ไร้ค่า,ของเล่นคนรวย
• Carl Zeiss = ครางซี๊ดดดดดด
• Rolleiflex = โหลลี่,หลอลี่,หลอลี่แฝด
• Hasselblad = เฮ้เซเ้บ็ด
• Polaroid = ขั้ว(polar)ลอย
• Kodak = โกดาก,โกล์(ประตู)ดาก,โกล์ด(ทอง)ดาก กุแดก
• Contax = ค้อนแตก,คอนแดก
• Epson = เอ๊ะสาด,เอ๊ปสะออน
• HP (Hewlett-Packard) = ฮิวเลตต์-ขี้กลาก,เห็ดผี
• Kyocera = เคี้ยวสิหญ้า
• JVC = เจ๊-หวี-เซ็นเตอร์(ออกแนวซ่อง)
• Sanyo = สาดโย่ว
• Toshiba = ไอบ้า,โต้ชี้บ้า
• Acer = ไอ้เซ่อ,อาเซ่อ,แอ๊กซ์เอ้อ
9
ชนิดของกล้องและระบบของกล้อง
สัดส่วนของภาพที่อัดกระดาษออกมาตามมาตรฐาน คือ 4×6 นิ้ว ซึ่งเท่ากับว่าภาพมี
สัดส่วน 1:1.5 กล้องดิจิตอลระดับมือสมัครเล่นจะมีสัดส่วนภาพอยู่ประมาณ 1600×1200
pixels หรือ 1:1.33 เพื่อให้เข้ากับจอมอนิเตอร์หรือ TV ทาให้เวลานาภาพไปอัดจึงต้องตัดส่วน
ภาพบนกระดาษไป ส่วนกล้องดิจิตอลระดับมืออาชีพ(จาพวก DSLR) จะมีสัดส่วนประมาณ
1:1.5 ซึ่งเท่ากับฟิล์มขนาด 35 มม.เวลานาไปอัดจึงไม่เป็นปัญหา
พูดถึงระดับของกล้องดิจิตอล ก็แบ่งเป็น 3 ระดับคือ
1. Compact – เป็นกล้องที่เน้นไปทาง สะดวกสบาย พกง่าย ถ่ายง่าย เรียกว่าอัตโนมัติ
แทบจะทั้งหมด แต่ปรับอะไรไม่ค่อยได้
2. Prosumer – เป็นกล้องที่ระบบการทางานดีขึ้นมาหน่อย เช่น มีระบบวัดแสง
ชดเชยแสง ปรับความชัดผ่านเลนส์ ระบบ Manual การต่อ Flash ภายนอก ซึ่งทาให้ยืดหยุ่น
ต่อการใช้งานมากขึ้น แต่ไม่สามารถเปลี่ยนเลนส์ได้
10
3. Professional – เป็นกล้องระดับมืออาชีพที่คล้ายกับกล้อง SLR ในระบบฟิล์ม แต่
เปลี่ยนจากการใช้ฟิล์มมาเป็นการใช้เซ็นเซอร์รับแสง ซึ่งระบบการทางานสามารถปรับได้
ทั้งหมดตามความสามารถของผู้ถ่าย(กล้องดีคนถ่ายไม่เก่ง เอากล้อง compact ถ่ายออกมาก็
อาจจะดีกว่าก็ได้นะ)
1.ระบบจัดเก็บไฟล์รูป
โดยทั่วไปก็จะมีอยู่ 2 ชนิด ที่นิยม คือ JPEG , CCD-RAW (ส่วน TIFF จะไม่ขอพูดถึง
เพราะไม่ค่อยมีคนใช้ และส่วนตัวไม่รู้ด้วย แหะๆ)
– JPEG ก็คือไฟล์รูปที่ถ่ายออกมาแล้วสาเร็จรูปเลย สามารถนาไปใช้ได้ทันที ใช้พื้นที่ในการ
จัดเก็บน้อย แต่ก็เอามาปรับแต่งอะไรไม่ได้มากนัก
– CCD-RAW เป็นไฟล์ของภาพที่เหมือนกับข้อมูลดิบที่ยังไม่ได้รับการปรุงแต่งและบีบอัด
ใดๆ เลย ซึ่งการจะนาไปใช้ จาเป็นต้องใช้ Software ของกล้องแต่ละตัว หรือใช้ Photoshop
ที่ติด Plugins ที่สาหรับอ่านไฟล์ของกล้องนั้นๆ
2.ระบบปรับความชัดโฟกัส
โดยทั่วไปจะมีอยู่ 3 แบบ คือ
– ปรับเอง
– ปรับความชัดทีละภาพ (Single Auto Focus , AF-S) คือ ระบบปรับความชัดที่เมื่อเรา
กดปุ่มล๊อคโฟกัส(โดยทั่วไปคือการกดปุ่ม Shutter ไว้ครึ่งหนึ่ง) มันก็จะหาโฟกัสจนได้ แล้วจะ
ไม่มีการหาโฟกัสใหม่อีก ก็จะทาให้เราสามารถจัดองค์ประกอบภาพได้หลังจากล๊อคโฟกัสแล้ว
11
– ปรับความชัดแบบต่อเนื่อง (Continue Auto Focus , AF-C) คือระบบปรับความชัดที่
จะคอยหาโฟกัสอัตโนมัติตลอดที่เรากดปุ่มล๊อคโฟกัสค้างไว้ อีกทั้งอาจจะมีการคานวณการหา
โฟกัสล่วงหน้าของวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วย ซึ่งเหมาะสาหรับการถ่ายภาพเคลื่อนไหว
3.ความไวชัตเตอร์
ก็คือระยะเวลาที่กล้องเปิดรูรับแสงนั่นเอง เปิดนานก็รับแสงได้มาก เปิดไม่นานก็รับแสงได้
น้อย โดยปกติที่เรียกกัน 125 , 250 , 500 ก็จะหมายถึง 1/125 , 1/250 , 1/500 วินาที
นั่นเอง โดยถ้าเปิดนานๆ ก็จะมีหน่วยตามมา เช่น 1″ ก็คือ 1 วินาที
4.ความไวแสง
จะพูดกันเป็น ISO เช่น ISO100 , ISO200 , ISO400 ถ้าจะถามว่า ที่มาของ ISO มาจาก
ไหน
– ผมก็ไม่รู้เหมือนกัน รู้แต่ว่า ไอ้คาว่า ISO มันก็แปลว่ามาตรฐาน เหมือนกับเราเรียก
ISO9001 อะไรทานองเนี้ยแหละ
แล้ว ISO100 มันคือขนาดไหน เอาอะไรวัดล่ะ
– อันนี้ต้องอ้างว่ามาจากฟิล์มครับ ซึ่งการผลิตฟิล์มนั้น มีออกมาความไวหลากหลายมาก
ดังนั้นเขาจึงกาหนดมาตรฐานออกมาว่า เท่านี้แหละ เท่ากับ 100 และไวแสงมากกว่านี้เท่านึง
ก็จะเป็น 200 ก็ว่ากันไป และนั่นก็เอามาใช้กับกล้อง digital ด้วย นั่นก็หมายความว่า ถ้าเอา
ฟิล์มที่ ISO100 มาวางแทน CCD ที่เราปรับความไวแสงไว้ที่ ISO100 เท่ากัน แล้วใช้ปริมาณ
แสงเท่ากัน เลนส์ตัวเดียวกัน ความไวชัตเตอร์เท่ากัน และรูรับแสงเท่ากัน เราก็จะได้รูปที่มี
ปริมาณแสงเท่ากันนั่นเอง
แบบนี้ยิ่งตั้งไวก็ยิ่งดีสิ ถ่ายง่าย ไม่ต้องกลัวสั่น
– ก็ใช่ครับ แต่ว่า ก็มีข้อเสียนะครับ คือ ยิ่งเราทาให้ CCD ไวแสงมาก CCD ก็จะยิ่งโดน
รบกวนได้ง่าย ซึ่งจะทาให้เกิด noise คุณภาพของภาพก็จะลดลง
5.ระบบวัดแสง
มีอยู่หลายชนิด แต่ขอพูดถึงแค่สัก 4 ชนิดหลักก็พอ
– Spot แบบจุด เป็นระบบวัดแสงที่จะวัดแค่ตรงกลางภาพจุดเดียว(กินพื้นที่ราวๆ 2-3%
ของภาพ) โดยจะไม่สนบริเวณนอกจุดนั้นเลย
12
– Center-Weight แบบเฉลี่ยน้าหนักกลาง เป็นระบบวัดแสงที่นาค่าแสงรอบๆ จุดกลางมา
คิดด้วยแต่อาจจะไม่มีน้าหนักมากนัก(มากเท่าไหร่ต้องศึกษาจากตัวกล้องนั่นเอง) เช่น 60:40 ,
80:20
– Average แบบเฉลี่ยทั้งภาพ เป็นระบบวัดแสงที่เฉลี่ยทั้งภาพเท่ากัน
– Multi-Segment แบบแบ่งส่วน เป็นระบบ ที่ฉลาดที่สุด โดยจะแบ่งภาพเป็นส่วนๆ
(แล้วแต่กล้องอีกว่าจะแบ่งกี่ส่วน) จากนั้นจะนามาคานวณเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลที่กล้อง
เก็บไว้ แล้วออกมาเป็นค่าแสงที่เหมาะสม(หรือบางทีก็ไม่เหมาะ)
13
6.ระบบชดเชยแสง ก็คือการตั้งให้กล้องชดเชยแสงนั่นเอง เช่น เราตั้งไว้ที่ +1 กล้องก็
จะคานวณให้ภาพสว่างกว่าปกติ 1 stop นั่นเอง (1 Stop ก็คือ ปริมาณแสงที่เปลี่ยนไป 1
เท่าตัวนั่นเอง ไว้อธิบายละเอียดทีหลังนะ)
7.ระบบล๊อคค่าแสง เป็นปุ่มที่ให้กล้องจาค่าแสงตอนที่เรากดปุ่มนั้นไว้ บางกล้องกล้อง
ก็เก็บไว้ 10 วิ หรือบางกล้องก็ล๊อคไว้ตราบเท่าที่เราล๊อคซัตเตอร์ไว้
8.ระบบถ่ายภาพ (Exposure Mode) คือระบบที่กล้องคานวณและปรับ รูรับแสง
และ/หรือ ความไวชัตเตอร์ให้อัตโนมัติ โดยจะแบ่งเป็นหลายๆโหมดดังนี้
– Program (P) เป็นโหมดที่กล้องปรับแบบอัตโนมัติทั้งหมด เรียกว่าให้กล้องคิดเองหมดว่า
แบบนี้จะเป็นถ่ายวิวป่าวหว่า หรือว่าถ่ายดอกไม้หว่า อะไรทานองนี้
– Macro (รูปดอกไม้) เป็นโหมดที่กล้องจะคานวณค่าให้เหมาะสมกับการถ่ายระยะใกล้
– Protrait (รูปสาว) เป็นโหมดที่กล้องคานวณค่าให้เหมาะกับการถ่ายภาพบุคคล(หน้าชัด
หลังเบลอ อะไรประมาณนั้น)
– Landscape (รูปภูเขา) เป็นโหมดที่กล้องคานวณค่าให้เหมาะกับการถ่ายวิว(ชัดลึกไว้
ก่อนมั้ง)
– Night Scene (รูปสาวมึนหัว) เป็นโหมดที่กล้องคานวณค่าให้เหมาะกับการถ่ายภาพ
บุคคลในเวลากลางคืนให้ติดวิวข้างหลัง(ใช้แฟลช+ความไวชัตเตอร์ช้า)
– Sport (รูปวิ่งราว) เป็นโหมดที่กล้องคานวณค่าให้เหมาะกับการถ่ายภาพเคลื่อนไหว(ใช้
AF-C และ ความไวชัตเตอร์สูงมากๆ)
– ความเร็วชัตเตอร์อัตโนมัติ Tv(หรือ A ในางกล้อง) เป็นโหมดที่กล้องจะปรับความเร็วชัต
เตอร์ให้อัตโนมัติเมื่อเราเปลี่ยนค่ารูรับแสง เหมาะสาหรับผู้ที่ต้องการควบคุมระยะชัดลึกเอง
– ช่องรับแสงอัตโนมัติ Av(หรือ S ในบางกล้อง) เป็นโหมดที่กล้องจะปรับขนาดรูรับแสงให้
อัตโนมัติเมื่อเราเปลี่ยนค่าความไวชัตเตอร์ เหมาะสาหรับผู้ที่ต้องการถ่ายภาพที่เกี่ยวกับ
ความเร็ว เช่น น้าตก
– ปรับตั้งเอง M เป็นโหมดที่อยากได้อะไรก็ปรับเองแล้วกัน เก่งดีนัก กล้องบอกว่า ตูไม่ยุ่งก็
ได้ฟะ แต่ใจดีช่วยบอกค่าแสงให้แล้วกัน ว่าที่เอ็งปรับน่ะ มันมากหรือน้อยเกินไปอยู่กี่ stop
14
9.ระบบสมดุลสีของแสง เป็นระบบที่กล้องจะชดเชยสภาพแสงให้ตามที่เราปรับ โดย
จะมีหลายโหมด เช่น(จะยกไปเท่าที่จะนึกได้แล้วกัน)
– Auto ก็ให้กล้องคิดเองหมด กล้องดีสีก็สวย กล้องห่วยสีก็ตุ่นๆ ไม่ได้อารมณ์
– DayLight เหมาะกับสภาพแสงแดดตอนกลางวัน
– Shade เหมาะกับในร่มเงาของแสงตอนกลางวัน
– Cloud เหมาะกับการถ่ายภาพในเวลาที่แสงโดนเมฆบังหมด
– Fluorescent เหมาะกับการถ่ายภาพในสภาพแสงที่เป็นหลอดฟลูออเรสเซนท์ ซึ่งยังแบ่ง
ได้ 3 ชนิดอีก คือ Daylight , WarmWhite , Cool White
– Incandescent หรือ Tungstan(เขียนถูกป่าวหว่า) สาหรับการถ่ายในแสงหลอดไส้ หรือ
กองไฟ
– Custom แบบเลือกเอง โดยเลือกโหมดแล้วใช้กล้องส่องไปหากระดาษขาวแล้วกดชัต
เตอร์ กล้องจะทาการหาสมดุลแสงให้เอง
10.ระบบแฟลช ไม่ขอพูดถึงระบบทางานของมัน ซับซ้อนซ่อนเงื่อน ไหนจะ TTL ที่
หมายถึงให้แฟลชควบคุมแสงผ่านเลนส์ว่าใส่แสงไปนานแค่ไหนถึงจะพอ อะไรอีกก็ไม่รู้ วุ่นวาย
ขอเอาแค่โหมดใช้งานแล้วกัน โดยจะแบ่งเป็น
– แก้ตาแดง ก็เอาไว้ถ่ายคนเวลากลางคืนไม่ให้น้องพันซ์มาร้องแซว
– Slow Speed Sync ก็คือใช้แฟลชคู่กับความเร็วชัตเตอร์ต่า เช่นในโหมดของการถ่าย
บุคคลเวลากลางคืน
– High Speed Sync ใช้แฟลชกับความเร็วชัตเตอร์สูงๆ เหมาะกับการจับภาพเคลื่อนไหว
ให้หยุดนิ่ง
– แฟลชสัมพันธ์กับม่ายชัดเตอร์คู่หน้า/หลัง ขี้เกียจอธิบายว่าคู่หน้า/หลังคืออะไร แต่อยาก
ให้เข้าใจว่า ถ้าเราใช้ความเร็วชัตเตอร์ 1/125 วิ แต่แฟลชมันไม่ได้ออกตลอดเวลา อาจจะออก
แค่ 1/1000 วิ
โดยถ้าแฟลชสัมพันธ์กับคู่หน้า เมื่อเรากดชัตเตอร์ปุ๊บแฟลชก็จะยิงทันที พอครบ 1/1000
แล้วแฟลชก็จะหยุดแต่ม่ายชัตเตอร์ยังเปิดอยู่ ซึ่งจะส่งผลให้ถ้าคนวื่งอยู่ เราก็จะเป็นคนชัดด้าน
หลังสุด แล้วจะมีเงาเลื่อนไปด้านหน้า ยังกับคนวิ่งถอยหลัง
15
แต่ถ้าแแฟลชสัมพันธ์กับคู่หลัง เมื่อเรากดชัตเตอร์ แฟลชก็จะยังไม่ถูกยิง แต่พอเหลืออีก
1/1000 วิม่านจะปิด แฟลชถึงจะเริ่มยิงไปจนปิดม่านชัตเตอร์ ซึ่งจะส่งผลให้ถ้าคนวื่งอยู่ เราก็
จะเป็นคนชัดด้านหน้าสุด แล้วจะมีเงาวิ่งตามหลัง เหมือนกับคนวิ่งด้วยความเร็วซะงั้น
11.ระบบถ่ายภาพต่อเนื่อง ก็คือระบบที่เรากดชัตเตอร์ค้างไว้ กล้องก็จะยิงชัตเตอร์รัวๆ
ให้ตามกาลังที่มันจาทาได้นั่นเอง
12.ระบบถ่ายภาพคร่อม เป็นระบบที่กล้องจะถ่ายภาพชดเชยแสงไปทาง + และ – ให้
อัตโนมัติ ทาให้เราได้ภาพมาก 3 ภาพ คือ ตามที่ตั้งค่าแสงไว้ มากว่า และน้อยกว่า โดย
มากกว่าและน้อยกว่าเท่าไหร่เราก็กาหนดได้
13.ระบบถ่ายภาพแบบตั้งเวลา ก็จะแบ่งเป็น 2 แบบคือ
– ตั้งเวลาเฉยๆ ราวๆ 10 วิ หรือ 12 วิ มีเวลาพอให้วิ่งไปเก็กหล่อหน้ากล้องได้
– ตั้งเวลา 2 วิ พร้อมล๊อคกระจก ซึ่งใน DSLR นั้น ด้วยกลไกแล้วต้องมีการสะบัดกระจก
ขึ้นไปเพื่อเปิดทางให้แสงไปหาเซ็นเซอร์รับภาพได้ การสะบัดนี้แหละ ทาให้กล้องสั่นได้ ซึ่งก็
ส่งผลกับความชัดของภาพ(แม้จะเล็กน้อยก็ตาม) กอปรกับแรงกดชัตเตอร์ก็มีผลด้วย ดังนั้น
ระบบนี้จึงเกิดขึ้นมเพื่อช่วยช่างภาพมืออาชีพโดยเฉพาะ โดยเมื่อเราใช้โหมดนี้แล้วกดชัตเตอร์
กล้องจะสะบัดกระจกขึ้นก่อน แล้วหน่วงเวลาไว้ 2 วิ ก่อนที่จะเปิดม่านชัตเตอร์ ทาให้ไม่เกิด
แรงสะเทือนขึ้นเลย (โอวว พระเจ้ายอด มันจอร์จมาก)
14.ระบบเช็คชัดลึก อันนี้จะเป็นปุ่มเช็คระยะชัดลึกของภาพ โดยเมื่อกดแล้วกล้องจะ
ทาการเปิดรูรับแสงตามที่เราตั้งไว้ขณะนั้น ทาให้เราเห็นภาพว่าออกมาแล้วจะชัดลึกแค่ไหน(ถ้า
ไม่เข้าใจ แนะนาให้อ่านเรื่อง Depth of field ที่ผมทาไว้)
15.ระบบสี คือช่วงความกว้างของสีที่ครอบคลุมถึง โดยทั่วไปกล้องจะมีให้เลือก 2 แบบ
คือ Adobe RGB และ sRGB ต่างกันอย่างไร ดูรูปเอาเข้าใจง่ายกว่า
16
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
ในการจัดทาโครงงานเรื่องกล้องถ่ายรูป ( Camera ) มีวิธีการกาเนินงานดังนี้
วิธีการดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา
2.ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องกล้องถ่ายรูป
3.ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งที่น่าเชื่อถือต่างๆ
4.ตรวจเช็คข้อมูลให้ถูกต้อง
5.นาข้อมูลใส่ Slide share
6.นาข้อมูลลงในบล็อกของตน
7.สรุปข้อมูลต่างๆที่น่าสนใจลงใน Microsoft PowerPoint
8.นาเสนอข้อมูลให้คุณครูและเพื่อนๆ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.อินเทอร์เน็ต 2.หนังสือจากห้องสมุด 3.คอมพิวเตอร์ 4.
โปรแกรม Microsoft Word 5.โปรแกรม Microsoft PowerPiont
งบประมาณ
รวมทั้งสิ้น 200 บาท
-ค่าเล่มรานงาน 170 บาท
-ค่าเข้าเล่มรายงาน 30 บาท
17
สถานที่ดาเนินการ
- บ้านเลขที่ 256 ม.5 ต.สันผักหวาน อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 50230
- อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50140
- โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50140
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลา
ดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 กำหนดหัวข้อที่จะ
ศึกษำ
/ /
2 ค้นหำข้อมูลเกี่ยวกับ
เรื่องกล้องถ่ำยรูป
/ / / /
3 ค้นคว้ำและรวบรวม
ข้อมูลจำกแหล่งที่
น่ำเชื่อถือต่ำงๆ
/ / / / /
4 ตรวจเช็คข้อมูลให้
ถูกต้อง
/ / /
5 นำข้อมูลใส่ Slide share / /
6 นำข้อมูลลงในบล็อก
ของตน
/ /
7 สรุปข้อมูลต่ำงๆที่
น่ำสนใจลงใน
Microsoft PowerPoint
/ / / /
8 นำเสนอข้อมูลให้
คุณครูและเพื่อนๆ
/
18
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
ในการจัดทาโครงงานเรื่องกล้องถ่ายรูป ( Camera ) มีผลการดาเนินงานดังนี้
ผลการดาเนินงาน
1. ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องกล้องถ่ายรูป
2. ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการการถ่ายภาพในลักษณะต่างๆ
3. สามารถเผยแพร่แก่ผู้ที่สนใจได้
การนาไปใช้
1. สามารถนาข้อมูลไปเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจได้
2. นาไปเป็นสื่อการเรียนการสอน
3. นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
4. สามารถนาไปเป็นอาชีพเสริมได้
19
บทที่5
สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ
ในการจัดทาโครงงานเรื่อง กล้องถ่ายรูป ( Camera ) มีข้อสรุปดังนี้
ผลการดาเนินโครงงาน
จากการทาโครงงานเรื่องกล้องถ่ายรูป ( Camera ) ทาให้ทั้งผู้จัดทาและผู้ที่สนใจได้รับ
ความรู้ในเรื่องการถ่ายรูป ตลอดจนวิธีการถ่ายรูปภาพในลักษณะต่างๆ จากการทาโครงงาน
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ทาให้มีมีความสุขกับการถ่ายภาพที่ตัวเองชื่น
ชอบ และสามารถนาไปต่อยอดเป็นอาชีพเสริมได้อีกด้วย นอกจากนี้ยัง สามารถนาไปเผยแพร่
ในรูปแบบสื่อการเรียนการสอน
อุปสรรค
1. เวลาไม่เพียงพอกับการทางาน
2. ข้อมูลบางแหล่งไม่สามารถให้ข้อมูลที่ครบถ้วน
3. เทคโนโลยีไม่เอื้ออานวย
ข้อเสนอแนะ
- ควรมีการนาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่ไม่ใช้อินเทอร์เน็ตด้วย เพื่อเป้าหมายของผู้ที่สนใจ
อยากทราบ การถ่ายรูป
- ควรต่อยอดโครงงานเรื่องนี้ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้มากขึ้น
20
แหล่งอ้างอิง
ในการจัดทาโครงงานเรื่อง กล้องถ่ายรูป ( Camera ) มีแหล่งอ้างอิงดังนี้
“กล้องถ่ายภาพ คือ”
ค้นหาจากเว็บ https://th.wikipedia.org/wiki/กล้องถ่ายภาพ
ค้นหาเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2560
“การทางานของกล้องถ่ายรูป”
ค้นหาจากเว็บ http://courseware.payap.ac.th/docu/ca205/Leson2.html
ค้นหาเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2560
“ประวัติกล้องถ่ายภาพ”
ค้นหาจากเว็บ http://photography-by-buchoo.blogspot.com/2013/01/blog-
post.html
ค้นหาเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2560
“กล้องถ่ายภาพ คือ”
ค้นหาจากเว็บ https://tripderntang.com/ชนิดของกล้องและระบบของกล้อง/
ค้นหาเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2560

More Related Content

What's hot

แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1พงศธร ภักดี
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2พงศธร ภักดี
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6krunuy5
 
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5พงศธร ภักดี
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคเทวัญ ภูพานทอง
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4พงศธร ภักดี
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตRungdawan Rungrattanachai
 
แผนคอมป.1
แผนคอมป.1แผนคอมป.1
แผนคอมป.1bamroong
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1Surapong Jakang
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความหมายและความสำคัญ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 เรื่องความหมายและความสำคัญแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 เรื่องความหมายและความสำคัญ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความหมายและความสำคัญSuporn Silipee
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2wifi5822
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์xavi2536
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์Aiice Pimsupuk
 

What's hot (20)

แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
 
แผนคอมป.1
แผนคอมป.1แผนคอมป.1
แผนคอมป.1
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1
 
แผนคอม๑ ๒๕๕๓ ม.๑
แผนคอม๑ ๒๕๕๓ ม.๑แผนคอม๑ ๒๕๕๓ ม.๑
แผนคอม๑ ๒๕๕๓ ม.๑
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความหมายและความสำคัญ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 เรื่องความหมายและความสำคัญแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 เรื่องความหมายและความสำคัญ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความหมายและความสำคัญ
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์

ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3juice1414
 
ใบงานที่+..
ใบงานที่+..ใบงานที่+..
ใบงานที่+..win_apitchaya
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4Nuchy Geez
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8unstreet
 
โครงงานคอม 611
โครงงานคอม 611โครงงานคอม 611
โครงงานคอม 611theerajet
 
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงานใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงานTanyaporn Puttawan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์dechathon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Pudlee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Pudlee
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Napasrapee Noochmon
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์xavi2536
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานMind Kyn
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Toffee Nohcc
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
งานนำเสนอคอมพิวเตอร์
งานนำเสนอคอมพิวเตอร์งานนำเสนอคอมพิวเตอร์
งานนำเสนอคอมพิวเตอร์Parnkeaw
 
5 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp025 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp02Sky Aloha'
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานที่+..
ใบงานที่+..ใบงานที่+..
ใบงานที่+..
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
โครงงานคอม 611
โครงงานคอม 611โครงงานคอม 611
โครงงานคอม 611
 
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงานใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์
 
K3
K3K3
K3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งาน3
งาน3งาน3
งาน3
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
งานนำเสนอคอมพิวเตอร์
งานนำเสนอคอมพิวเตอร์งานนำเสนอคอมพิวเตอร์
งานนำเสนอคอมพิวเตอร์
 
5 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp025 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp02
 

โครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ ชื่อโครงงาน กล้องถ่ายรูป ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นาย ณัฐภัทร ปินตา เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 7 2. นาย วรายุทธ พรหมรัตน์ เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34
  • 2. ก เรื่อง กล้องถ่ายรูป ( Camera ) ประเภทโครงงาน โครงงานศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายณัฐภัทร ปินตา นายวรายุทธ พรหมรัตน์ ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ปีการศึกษา 2/2560 บทคัดย่อ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กล้องถ่ายรูป ( Camera ) จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษารูปแบบกล้องต่างๆ 2) เพื่อศึกษาวิธีการถ่ายรูปในแนวต่างๆ 3)เพื่อศึกษาและ ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพกล้องให้ดียิ่งขึ้น 4) เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการการถ่ายรูปสาหรับ คนที่สนใจในการถ่ายภาพ โดยมีเครื่องมือและอุปกรณ์คือ เว็บไซต์สาหรับเผยแพร่ข้อมูลที่ได้ ศึกษา PowerPoint ในการนาเสนอโครงงานและรูปเล่มโครงงาน ส่วนแนวทางการดาเนินงาน จะเริ่มตั้งแต่ กาหนดหัวข้อที่ ต้องการศึกษา รวบรวมข้อมูลที่ต้องการศึกษา ทาโครงร่าง โครงงาน เริ่มทาการศึกษาตามหัวข้อที่ กาหนด รวบรวมข้อมูลต่างๆ แล้วสุดท้ายเรียบเรียงเป็น โครงงานให้สมบูรณ์ที่สุด หลังจากการศึกษา ได้สรุปผลการดาเนินงานดังนี้ ทาให้ผู้จัดทาและผู้ ที่สนใจได้รับความรู้ในเรื่อง กล้องถ่ายรูปและการถ่ายภาพ และสามารถนามาปรับใช้ในชีวิต ประจา มาวันหรือทาเป็น อาชีพเสริมได้
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กล้องถ่ายรูป ( Camera ) สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจาก อาจารย์เขื่อนทอง มูลวรรณ์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานที่ได้ให้คาเสนอแนะ คาแนะนา ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆโดยตลอด จนโครงงานเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ ผู้ศึกษาจึง ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ให้คาปรึกษา และการสนับสนุนในเรื่องต่างๆ รวมทั้งเป็นกาลังใจที่ดี เสมอ สุดท้ายขอบคุณเพื่อนๆที่ช่วยให้คาแนะนาดีๆเกี่ยวกับการท า โดย ณัฐภัทร ปินตา วรายุทธ พรหมรัตน์
  • 4. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ บทที่ 1 บทนา 1 ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา ผลที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 การทางานของกล้องถ่ายรูป ประวัติกล้อง ชนิดของกล้องและระบบของกล้อง บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 16 แนวทางการดาเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ สถานที่ดาเนินการ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 18 การนาไปใช้ บทที่ 5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ 19 ผลการดาเนินโครงงาน อุปสรรค ข้อเสนอแนะ แหล่งอ้างอิง 20
  • 5. 1 บทที่ 1 บทนา เรื่อง กล้องถ่ายรูป ( Camera ) ประเภทโครงงาน โครงงานศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายณัฐภัทร ปินตา นายวรายุทธ พรหมรัตน์ ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 - ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน กล้องถ่ายรูปนั้นเป็นสิ่งที่มีมานานแล้ว โดยในยุคแรกถ่ายโดยใช้กล้องรูเข็ม ยิ่งรูเล็ก เท่าไหร่ภาพก็จะเบลอขึ้นเท่านั้น สมัยก่อนใช้ร่างภาพก่อนการวาดรูปเหมือน แต่เป็นการ ถ่ายภาพที่ใช้เวลานานมาก และภาพไม่เบลอเท่าที่ควร ต่อมามีการประดิษฐ์เลนส์ ชิ้นแก้วที่มี คุณสมบัติในการแยกแสงขึ้น จึงทาให้ถ่ายภาพได้เบลอกว่าเดิม กล้องถ่ายภาพยุคบุกเบิก เป็นกล้องถ่ายภาพที่มีลักษณะเป็นกล่อง ใช้ฟิล์มขนาดใหญ่ ชาวบ้านเรียกกล้องบ็อกซ์ (อย่าสับสนกับกล้อง 120 ที่หลายคนโมเมเรียกว่ากล้องบ็อกซ์นะ) เวลาจะถ่ายทีก็ต้องมุดหัว ถ่าย มีอุปกรณ์น้าหนักมากทาให้ไม่สะดวกต่อการใช้งาน ฟิล์มถ่ายรูปในยุคนั้นก็มีความไวแสง ต่า ทาให้การถ่ายรูปกินเวลานาน ภายหลังก็ได้มีการพัฒนาให้มีความไวแสงสูงขึ้นเรื่อยๆ กาเนิดกล้องขนาดเล็ก เมื่อพัฒนาฟิล์มถ่ายภาพให้มีความไวแสงสูงขึ้น ก็มีความคิดที่จะทากล้องให้เล็กลงจนกระทั่ง นาไปถ่ายที่ไหนๆ ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น จึงได้มีการพัฒนากล้องขนาด เล็กที่ใช้ฟิล์ม 35มม. ขึ้น และภายหลังก็ได้พัฒนากล้องที่มีการหาระยะเบลอในตัวได้ขึ้นมา เรียกว่า Rangefinder โดยเริ่มรุ่นแรกคือ ไล่การุ่นที่ 1
  • 6. 2 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากล้องถ่ายรูป 2) เพื่อศึกษาวิธีการถ่ายรูปลักษณะต่างๆ 3) เพื่อศึกษาและส่งเสริมการถ่ายรูป 4) เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการถ่ายรูปแก่ผู้ที่สนใจ 5) เพื่อเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขอบเขตโครงงาน การถ่ายรูปในลักษณะต่างๆ และผู้ที่สนใจศึกษาการถ่ายรูปแบบที่ตัวเองชื่นชอบ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ความรู้เกี่ยวกับกล้องถ่ายรูป 2. ได้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการถ่ายรูปลักษณะต่างๆ 3. ได้ส่งเสริมการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์ 4. ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการถ่ายรูปแก่ผู้ที่สนใจ 5. เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
  • 7. 3 บทที่ 2 หลักการและทฤษฎี ในการจัดทาโครงงานเรื่อง กล้องถ่ายรูป ( Camera ) จาเป็นต้องศึกษาทฤษฎีที่ เกี่ยวข้องดังนี้ 1. การทางานของกล้องถ่ายรูป การทางานของกล้องถ่ายรูป ดวงตากับกล้องถ่ายรูป การทางานของกล้องถ่ายรูป ก็มีลักษณะคล้ายกับดวงตาของคนเราหลายประการกล่าวคือ - ทั้งดวงตา และกล้องถ่ายรูปมีเลนส์ทาหน้าที่หักเหแสงไปรากฎที่ฉากหลัง - ดวงตามีม่านตา (lris) สาหรับปรับขนาดให้แสงผ่านเข้าไปในดวงตาแตกต่างกัน ไป - กล้องถ่ายรูปมีไออะแฟรม (diaphragm) สาหรับปรับขนาดรูรับแสง (Aperture) ทั้งเลนส์และกล้องถ่ายรูปมีระบบไกสาหรับปิด – เปิดให้แสงผ่านเลนส์เหมือนกัน คือ ดวงตาควบคุมด้วยหน้าตา และกล้องถ่ายรูปควบคุมด้วยชัตเตอร์ (Shutter) ฉากรับภาพใน ดวงตามประกอบไปด้วยเส้นประสาทที่ไวต่อแสงเรียกว่าเรตินา(Retina)เมื่อรับภาพแล้วจะมี ประสาทเชื่อมโยง ไปยังส่วนที่รับรู้เกี่ยวกับการมองเห็นส่วนในกล้องถ่ายรูปนั้น ฉากรับภาพก็ คือฟิล์มซึ่งเป็นวัสดุไวแสงนั่นเอง ส่วนที่แตกต่างกันที่สาคัญประการหนึ่ง คือ ดวงตาปรับรูม่าน
  • 8. 4 ตาให้รับแสงมากหรือน้อยได้ โดยอัตโนมัติ ในห้องมืด ม่านตา (lris) จะขยายกว้างขึ้นเพ่อ ให้แสงเข้าไปได้มากเท่าที่จะทาได้ และในที่มีแสงมากม่านตาจะป้องกันแสงให้ผ่านเข้าไปได้ น้อยลง ส่วนในกล้องถ่ายรูปไม่สามารถปรับหน้ากล้องได้โดยอัตโนมัติทั้งหมด ในกล้องรุ่นใหม่ บางรุ่นออกแบบมาให้ปรับไดอะแฟรมในระบบกึ่งอัตโนมัติ (Semi – automatic) ข้อแตกต่าง ที่สาคัญอีกประการหนึ่งก็คือ ดวงตาของคนมักรับรู้สิ่งต่าง ๆ ที่เป็นส่วนสาคัญเพียงส่วนเดียว ตรงกันข้ามกับกล้องถ่ายรูปซึ่งไม่สามารถเลือกบันทึกรายละเอียดในส่วนของวิวอย่างเช่นที่ตา เราเห็นได้ (Eye sees selectively while the camera sees indiscriminately) นัยน์ตา มนุษย์ สามารถกาหนดให้ความสนใจเฉพาะจุดได้โดยตัดสิ่งอื่นๆออกไป แต่กล้องถ่ายรูปจะบันทึกทุกสิ่งลงไป ยกตัวอย่างเช่น เมื่อบันทึกภาพคนที่ยืนอยู่ใต้ ต้นไม้ หรือเสาโทรเลข ตาเราสามารถแยกภาพคนออกมาได้จากฉากหลัง โดยเลือกรับรู้เฉพาะ คนที่ยืนอยู่และตัดความสนใจของฉากหลังที่ไม่อยู่ในความสนออกไปได้ แต่สาหรับการ บันทึกภาพของกล้องถ่ายรูป เสาหรือกิ่งไม้ที่อยู่ในตาแหน่งเหนือศีรษะจะปรากฏให้เห็นในภาพ ทาให้มองดูเหมือนกับว่ามีเสาหรือกิ่งไม้ยื่นออกมาจากศีรษะของคนคนนั้น ทั้งนี้เนื่องจากผู้ถ่าย มิได้รับรู้และให้ความสนใจต่อสิ่งที่อยู่ในฉากหลังของวัตถุ ดังนั้นในการถ่ายภาพผู้ถ่ายจึงต้อง พยายามองเห็นสิ่งต่าง ๆ อย่างเดียวกับที่กล้องเห็นจึงจะทาให้ได้ภาพออกมาดี
  • 9. 5 2. ส่วนประกอบต่างๆของกล้องถ่ายภาพ 1. ปุ่มชัตเตอร์ กดปุ่มนี้เพื่อลั่นชัตเตอร์ การกดปุ่มชัตเตอร์มี 2 จังหวะ คือเมื่อกดปุ่มลง ครึ่งหนึ่งเพื่อใช้งานฟังก์ชั่นโฟกัสอัตโนมัติ และกดลงสุดเพื่อลั่นชัตเตอร์ 2. เมาท์ของเลนส์ ส่วนนี้ใช้เพื่อยึดเลนส์แบบถอดเปลี่ยนได้เข้ากับตัวกล้อง ต่อเลนส์โดย การเลื่อนไปตามผิวหน้าของเมาท์ 3. กระจก แสงที่เข้าสู่เลนส์จะสะท้อนจากกระจกชิ้นนี้ไปยังช่องมองภาพ กระจกนี้มี กลไกที่เลื่อนได้ และจะดีดตัวขึ้นทันทีก่อนถ่ายภาพ 4. ช่องบรรจุแบตเตอรี่ บรรจุแบตเตอรี่ที่มาพร้อมกล้องที่ช่องนี้ ใส่แบตเตอรี่โดยให้ขั้ว แบตเตอรี่หันเข้าด้านในบอดี้กล้อง 5. รูยึดขาตั้งกล้อง รูด้านล่างของบอดี้กล้องมีไว้สาหรับยึดกล้องเข้ากับขาตั้งกล้องที่มี วางจาหน่ายทั่วไป ขนาดของสกรูมีมาตรฐานเดียวกัน จึงใช้ด้วยกันได้ไม่ว่าขาตั้งกล้องยี่ห้อใด 6. ปุ่มปลดเลนส์กดปุ่มนี้เมื่อต้องการถอดเลนส์ สลักล็อคเลนส์จะคลายออกเมื่อกดปุ่มนี้ ทาให้คุณหมุนเลนส์ได้อย่างไม่ติดขัด ก่อนถ่ายภาพ ให้ล็อคเลนส์อยู่กับที่โดยการหมุนเลนส์เข้า ตาแหน่งจนได้ยินเสียง “คลิก” 7. ดัชนีสาหรับติดตั้งเลนส์ ใส่เลนส์โดยให้ตั้งแนวเครื่องหมายสีแดงบนตัวกล้องตรงกับ เครื่องหมายบนตัวเลนส์ สาหรับเลนส์ EF ให้ใช้เครื่องหมายดัชนีสีแดง 8. แฟลชในตัว คุณสามารถยิงแสงไฟแฟลชเพื่อการถ่ายภาพในสถานที่ที่มีแสงน้อยได้ เมื่อจาเป็น ในบางโหมด แฟลชอาจเปิดทางานขึ้นมาเองโดยอัตโนมัติ
  • 10. 6 ประวัติกล้อง กล้องถ่ายรูปนั้นเป็นสิ่งที่มีมานานแล้ว โดยในยุคแรกถ่ายโดยใช้กล้องรูเข็ม ยิ่งรูเล็ก เท่าไหร่ภาพก็จะเบลอขึ้นเท่านั้น สมัยก่อนใช้ร่างภาพก่อนการวาดรูปเหมือน แต่เป็นการ ถ่ายภาพที่ใช้เวลานานมาก และภาพไม่เบลอเท่าที่ควร ต่อมามีการประดิษฐ์เลนส์ ชิ้นแก้วที่มี คุณสมบัติในการแยกแสงขึ้น จึงทาให้ถ่ายภาพได้เบลอกว่าเดิม 1. กล้องถ่ายภาพยุคบุกเบิก เป็นกล้องถ่ายภาพที่มีลักษณะเป็นกล่อง ใช้ฟิล์มขนาดใหญ่ ชาวบ้านเรียกกล้องบ็อกซ์ (อย่าสับสนกับกล้อง 120 ที่หลายคนโมเมเรียกว่ากล้องบ็อกซ์นะ) เวลาจะถ่ายทีก็ต้องมุดหัว ถ่าย มีอุปกรณ์น้าหนักมากทาให้ไม่สะดวกต่อการใช้งาน ฟิล์มถ่ายรูปในยุคนั้นก็มีความไวแสง ต่า ทาให้การถ่ายรูปกินเวลานาน ภายหลังก็ได้มีการพัฒนาให้มีความไวแสงสูงขึ้นเรื่อยๆ 2. กาเนิดกล้องขนาดเล็ก เมื่อพัฒนาฟิล์มถ่ายภาพให้มีความไวแสงสูงขึ้น ก็มีความคิดที่จะทากล้องให้เล็กลง จนกระทั่งนาไปถ่ายที่ไหนๆ ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น จึงได้มีการพัฒนา กล้องขนาดเล็กที่ใช้ฟิล์ม 35มม. ขึ้น และภายหลังก็ได้พัฒนากล้องที่มีการหาระยะเบลอในตัว ได้ขึ้นมา เรียกว่า Rangefinder โดยเริ่มรุ่นแรกคือ ไล่การุ่นที่ 1 3. กล้องมองภาพผ่านเลนส์ แต่กล้องแบบแร้งไฟเบอร์ ก็มีปัญหาในเรื่องของการมองภาพที่เหลี่ยมกัน ทาให้ไม่สามารถ ถ่ายในระยะใกล้ได้ แม้จะมีการปรับแก้ไขก็ยังไม่สมบูรณ์เสียเลยทีเดียว จึงพัฒนากล้องอีก รูปแบบ คือใช้แสงส่องจากเลนส์กระทบกระจกสะท้อนขึ้นไปที่ช่องมอง แรกๆใช้เลนส์คู่แต่ เปลี่ยนเลนส์ไม่สะดวก จึงได้ย้ายชัตเตอร์มาที่ระนาบฟิล์มเพื่อให้ใช้มองภาพผ่านเลนส์ตัวเดียว ได้สะดวกขึ้น และเห็นภาพเหมือนจริงตลอด เรียกว่ากล้อง SLR แรกๆใช้ในกล้องฟิล์ม 120 ตอนหลังก็เอามาปรับใช้กับกล้อง 35มม. โดยเพิ่มแก้วหักเหภาพเพื่อให้ภาพในช่องมองดูเป็น เท็จมากยิ่งขึ้น
  • 11. 7 4. การพัฒนาระบบวัดแสง 5. กล้องอิเล็กทรอนิกส์ 6. กล้องแมนนวลโฟกัส เพราะว่าคนในยุคต่อมา ขยันหมุนหาโฟกัสแล้ว และเพื่อให้การถ่ายภาพเป็นเรื่องกล้วยๆ ผู้ผลิตกล้องที่รู้ใจคนใช้เป็นอย่างดีจึงแยกเอามอเตอร์หมุนเลนส์ออกจากกล้อ โดยกล้องแมน นวลโฟกัสนั้นได้ช่วยให้การถ่ายภาพนั้นสะดวกรวดเร็วขึ้นมากทีเดียว และมันก็ทาให้นักภาพ ขยันขึ้นพอสมควร กล้องแมนนวลโฟกัสในยุคต่อมาก็ได้พัฒนาในเรื่องความช้าในการโฟกัสให้ช้าขึ้นเรื่อยๆ เงียบสงัด และสะดวกสบาย โดยมีการเพิ่มพื้นที่การโฟกัส เพิ่มจุดโฟกัส เขวี้ยงมอเตอร์ทิ้งลงถัง ขยะในช่วงหลังๆ และผู้สร้างกล้องก็ไปเพิ่มความเร็วของมอเตอร์ในการเลื่อนฟิล์มและกดภาพ ยิงรัวได้เร็วขึ้นเรื่อยๆ จนเร็วที่สุดที่ 10 ภาพต่อวินาทีในกล้อง Canon EOS-1V นอกจากนี้ก็ยังมีกล้องบางยี่ห้อเช่น Minolta(หมีนอนอ้า) และ Pentax(เป็นแตด)ได้พัฒนา ระบบการซูมแบบพาวเย่อร์ ใช้มอเตอร์ในเลนส์ในการหมุนซูม แต่มันทางานไม่ค่อยได้อย่างใจ คนเลยไม่ค่อยชอบ สักพักก็เลิกทาไป การมีกล้องแมนนวลโฟกัสนั้นทาให้การถ่ายภาพเป็นเรื่องที่คนไม่เคยใช้กล้องก็โคตรงงกับ การใช้งานกล้อง ต่อมาผู้ผลิตจึงผลิตกล้องออโต้โฟกัสมาขายควบคู่กับกล้องแมนนวลโฟกัสใน ภายหลัง 7. ก้าวสู่ยุคดิจิตอล รายชื่อผู้ผลิตกล้องถ่ายภาพ • Canon = แคนตั้ง,แคนเอียง,แคนง่วง,แคนหลับ,แคนล้ม,หนอน,ขนอน,ผีขนอน,หนอน โหล (คนใช้กันเยอะเกินไป),แค่หนอน • Nikon = นิกร,นิก้อน,ก้อน(ก้อนหัวเกรียน) • Panasonic = ปลานา,ปลาเนา,ปลาเน่า พรรณนา-เจ้าเม่นสายฟ้า(สาหรับบางคนรับมุข ไม่ทัน: การ์ตูน Sonic เรียกเป็นไทยว่า "เจ้าเม่นสายฟ้า") • Sony = โซหนี้[(แพงสมชื่อ),(ซื้อแล้ว เป็นหนี้จนหิวโซ ไม่มีเงิน)],ซนนี่,ซอยขี้,โซเน่า,โซหมี ,หมีโซ,โทรมนี่,โทรมเน่า • Olympus = โอลี่,โอลิมปวย,โอลิมป่วย,โอตาลิ้มปั๊ดเหนี่ยว
  • 12. 8 • Ricoh = เรโกะจัง,ริจะโก้,แสนโก้ • Pentax = แป้นแตก(คาอุทาน),เป็นแดก,เป็นแตก,เป็นแตด • Minolta = หมีนอนอ้า,หมี,หมีนอนตาย • Konica = โคหมี,คนนี้กล้า,คนมันกล้า • Fujifilm = หัวฟู,ไอ้หัวฟูโรคจิต • Tamron = ทาหล่น • Sigma = ซิกฝ้า(ขึ้นชื่อเรื่องขึ้นฝ้า),อาม่า,เซกม่า • Samsung = ซาสูง,สาส่อน,ช้าสูง,สามชอด,สามสอด,ซ้อนสาม,ซัมสุ่ม,ซัมซวย,แซมผี,แซม ซัง,แซมซั่น แซมเซง,แสนแสบ ฯลฯ • Tamrac = ทารัก • Lowepro = โหลโปร(มีคนใช้เยอะมากเลยดูโหล) • Domke = ดมขี้ • Mikona = ไมกลัวหน้า,อีกัวน่า • Leica = ไร้ค่า,ของเล่นคนรวย • Carl Zeiss = ครางซี๊ดดดดดด • Rolleiflex = โหลลี่,หลอลี่,หลอลี่แฝด • Hasselblad = เฮ้เซเ้บ็ด • Polaroid = ขั้ว(polar)ลอย • Kodak = โกดาก,โกล์(ประตู)ดาก,โกล์ด(ทอง)ดาก กุแดก • Contax = ค้อนแตก,คอนแดก • Epson = เอ๊ะสาด,เอ๊ปสะออน • HP (Hewlett-Packard) = ฮิวเลตต์-ขี้กลาก,เห็ดผี • Kyocera = เคี้ยวสิหญ้า • JVC = เจ๊-หวี-เซ็นเตอร์(ออกแนวซ่อง) • Sanyo = สาดโย่ว • Toshiba = ไอบ้า,โต้ชี้บ้า • Acer = ไอ้เซ่อ,อาเซ่อ,แอ๊กซ์เอ้อ
  • 13. 9 ชนิดของกล้องและระบบของกล้อง สัดส่วนของภาพที่อัดกระดาษออกมาตามมาตรฐาน คือ 4×6 นิ้ว ซึ่งเท่ากับว่าภาพมี สัดส่วน 1:1.5 กล้องดิจิตอลระดับมือสมัครเล่นจะมีสัดส่วนภาพอยู่ประมาณ 1600×1200 pixels หรือ 1:1.33 เพื่อให้เข้ากับจอมอนิเตอร์หรือ TV ทาให้เวลานาภาพไปอัดจึงต้องตัดส่วน ภาพบนกระดาษไป ส่วนกล้องดิจิตอลระดับมืออาชีพ(จาพวก DSLR) จะมีสัดส่วนประมาณ 1:1.5 ซึ่งเท่ากับฟิล์มขนาด 35 มม.เวลานาไปอัดจึงไม่เป็นปัญหา พูดถึงระดับของกล้องดิจิตอล ก็แบ่งเป็น 3 ระดับคือ 1. Compact – เป็นกล้องที่เน้นไปทาง สะดวกสบาย พกง่าย ถ่ายง่าย เรียกว่าอัตโนมัติ แทบจะทั้งหมด แต่ปรับอะไรไม่ค่อยได้ 2. Prosumer – เป็นกล้องที่ระบบการทางานดีขึ้นมาหน่อย เช่น มีระบบวัดแสง ชดเชยแสง ปรับความชัดผ่านเลนส์ ระบบ Manual การต่อ Flash ภายนอก ซึ่งทาให้ยืดหยุ่น ต่อการใช้งานมากขึ้น แต่ไม่สามารถเปลี่ยนเลนส์ได้
  • 14. 10 3. Professional – เป็นกล้องระดับมืออาชีพที่คล้ายกับกล้อง SLR ในระบบฟิล์ม แต่ เปลี่ยนจากการใช้ฟิล์มมาเป็นการใช้เซ็นเซอร์รับแสง ซึ่งระบบการทางานสามารถปรับได้ ทั้งหมดตามความสามารถของผู้ถ่าย(กล้องดีคนถ่ายไม่เก่ง เอากล้อง compact ถ่ายออกมาก็ อาจจะดีกว่าก็ได้นะ) 1.ระบบจัดเก็บไฟล์รูป โดยทั่วไปก็จะมีอยู่ 2 ชนิด ที่นิยม คือ JPEG , CCD-RAW (ส่วน TIFF จะไม่ขอพูดถึง เพราะไม่ค่อยมีคนใช้ และส่วนตัวไม่รู้ด้วย แหะๆ) – JPEG ก็คือไฟล์รูปที่ถ่ายออกมาแล้วสาเร็จรูปเลย สามารถนาไปใช้ได้ทันที ใช้พื้นที่ในการ จัดเก็บน้อย แต่ก็เอามาปรับแต่งอะไรไม่ได้มากนัก – CCD-RAW เป็นไฟล์ของภาพที่เหมือนกับข้อมูลดิบที่ยังไม่ได้รับการปรุงแต่งและบีบอัด ใดๆ เลย ซึ่งการจะนาไปใช้ จาเป็นต้องใช้ Software ของกล้องแต่ละตัว หรือใช้ Photoshop ที่ติด Plugins ที่สาหรับอ่านไฟล์ของกล้องนั้นๆ 2.ระบบปรับความชัดโฟกัส โดยทั่วไปจะมีอยู่ 3 แบบ คือ – ปรับเอง – ปรับความชัดทีละภาพ (Single Auto Focus , AF-S) คือ ระบบปรับความชัดที่เมื่อเรา กดปุ่มล๊อคโฟกัส(โดยทั่วไปคือการกดปุ่ม Shutter ไว้ครึ่งหนึ่ง) มันก็จะหาโฟกัสจนได้ แล้วจะ ไม่มีการหาโฟกัสใหม่อีก ก็จะทาให้เราสามารถจัดองค์ประกอบภาพได้หลังจากล๊อคโฟกัสแล้ว
  • 15. 11 – ปรับความชัดแบบต่อเนื่อง (Continue Auto Focus , AF-C) คือระบบปรับความชัดที่ จะคอยหาโฟกัสอัตโนมัติตลอดที่เรากดปุ่มล๊อคโฟกัสค้างไว้ อีกทั้งอาจจะมีการคานวณการหา โฟกัสล่วงหน้าของวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วย ซึ่งเหมาะสาหรับการถ่ายภาพเคลื่อนไหว 3.ความไวชัตเตอร์ ก็คือระยะเวลาที่กล้องเปิดรูรับแสงนั่นเอง เปิดนานก็รับแสงได้มาก เปิดไม่นานก็รับแสงได้ น้อย โดยปกติที่เรียกกัน 125 , 250 , 500 ก็จะหมายถึง 1/125 , 1/250 , 1/500 วินาที นั่นเอง โดยถ้าเปิดนานๆ ก็จะมีหน่วยตามมา เช่น 1″ ก็คือ 1 วินาที 4.ความไวแสง จะพูดกันเป็น ISO เช่น ISO100 , ISO200 , ISO400 ถ้าจะถามว่า ที่มาของ ISO มาจาก ไหน – ผมก็ไม่รู้เหมือนกัน รู้แต่ว่า ไอ้คาว่า ISO มันก็แปลว่ามาตรฐาน เหมือนกับเราเรียก ISO9001 อะไรทานองเนี้ยแหละ แล้ว ISO100 มันคือขนาดไหน เอาอะไรวัดล่ะ – อันนี้ต้องอ้างว่ามาจากฟิล์มครับ ซึ่งการผลิตฟิล์มนั้น มีออกมาความไวหลากหลายมาก ดังนั้นเขาจึงกาหนดมาตรฐานออกมาว่า เท่านี้แหละ เท่ากับ 100 และไวแสงมากกว่านี้เท่านึง ก็จะเป็น 200 ก็ว่ากันไป และนั่นก็เอามาใช้กับกล้อง digital ด้วย นั่นก็หมายความว่า ถ้าเอา ฟิล์มที่ ISO100 มาวางแทน CCD ที่เราปรับความไวแสงไว้ที่ ISO100 เท่ากัน แล้วใช้ปริมาณ แสงเท่ากัน เลนส์ตัวเดียวกัน ความไวชัตเตอร์เท่ากัน และรูรับแสงเท่ากัน เราก็จะได้รูปที่มี ปริมาณแสงเท่ากันนั่นเอง แบบนี้ยิ่งตั้งไวก็ยิ่งดีสิ ถ่ายง่าย ไม่ต้องกลัวสั่น – ก็ใช่ครับ แต่ว่า ก็มีข้อเสียนะครับ คือ ยิ่งเราทาให้ CCD ไวแสงมาก CCD ก็จะยิ่งโดน รบกวนได้ง่าย ซึ่งจะทาให้เกิด noise คุณภาพของภาพก็จะลดลง 5.ระบบวัดแสง มีอยู่หลายชนิด แต่ขอพูดถึงแค่สัก 4 ชนิดหลักก็พอ – Spot แบบจุด เป็นระบบวัดแสงที่จะวัดแค่ตรงกลางภาพจุดเดียว(กินพื้นที่ราวๆ 2-3% ของภาพ) โดยจะไม่สนบริเวณนอกจุดนั้นเลย
  • 16. 12 – Center-Weight แบบเฉลี่ยน้าหนักกลาง เป็นระบบวัดแสงที่นาค่าแสงรอบๆ จุดกลางมา คิดด้วยแต่อาจจะไม่มีน้าหนักมากนัก(มากเท่าไหร่ต้องศึกษาจากตัวกล้องนั่นเอง) เช่น 60:40 , 80:20 – Average แบบเฉลี่ยทั้งภาพ เป็นระบบวัดแสงที่เฉลี่ยทั้งภาพเท่ากัน – Multi-Segment แบบแบ่งส่วน เป็นระบบ ที่ฉลาดที่สุด โดยจะแบ่งภาพเป็นส่วนๆ (แล้วแต่กล้องอีกว่าจะแบ่งกี่ส่วน) จากนั้นจะนามาคานวณเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลที่กล้อง เก็บไว้ แล้วออกมาเป็นค่าแสงที่เหมาะสม(หรือบางทีก็ไม่เหมาะ)
  • 17. 13 6.ระบบชดเชยแสง ก็คือการตั้งให้กล้องชดเชยแสงนั่นเอง เช่น เราตั้งไว้ที่ +1 กล้องก็ จะคานวณให้ภาพสว่างกว่าปกติ 1 stop นั่นเอง (1 Stop ก็คือ ปริมาณแสงที่เปลี่ยนไป 1 เท่าตัวนั่นเอง ไว้อธิบายละเอียดทีหลังนะ) 7.ระบบล๊อคค่าแสง เป็นปุ่มที่ให้กล้องจาค่าแสงตอนที่เรากดปุ่มนั้นไว้ บางกล้องกล้อง ก็เก็บไว้ 10 วิ หรือบางกล้องก็ล๊อคไว้ตราบเท่าที่เราล๊อคซัตเตอร์ไว้ 8.ระบบถ่ายภาพ (Exposure Mode) คือระบบที่กล้องคานวณและปรับ รูรับแสง และ/หรือ ความไวชัตเตอร์ให้อัตโนมัติ โดยจะแบ่งเป็นหลายๆโหมดดังนี้ – Program (P) เป็นโหมดที่กล้องปรับแบบอัตโนมัติทั้งหมด เรียกว่าให้กล้องคิดเองหมดว่า แบบนี้จะเป็นถ่ายวิวป่าวหว่า หรือว่าถ่ายดอกไม้หว่า อะไรทานองนี้ – Macro (รูปดอกไม้) เป็นโหมดที่กล้องจะคานวณค่าให้เหมาะสมกับการถ่ายระยะใกล้ – Protrait (รูปสาว) เป็นโหมดที่กล้องคานวณค่าให้เหมาะกับการถ่ายภาพบุคคล(หน้าชัด หลังเบลอ อะไรประมาณนั้น) – Landscape (รูปภูเขา) เป็นโหมดที่กล้องคานวณค่าให้เหมาะกับการถ่ายวิว(ชัดลึกไว้ ก่อนมั้ง) – Night Scene (รูปสาวมึนหัว) เป็นโหมดที่กล้องคานวณค่าให้เหมาะกับการถ่ายภาพ บุคคลในเวลากลางคืนให้ติดวิวข้างหลัง(ใช้แฟลช+ความไวชัตเตอร์ช้า) – Sport (รูปวิ่งราว) เป็นโหมดที่กล้องคานวณค่าให้เหมาะกับการถ่ายภาพเคลื่อนไหว(ใช้ AF-C และ ความไวชัตเตอร์สูงมากๆ) – ความเร็วชัตเตอร์อัตโนมัติ Tv(หรือ A ในางกล้อง) เป็นโหมดที่กล้องจะปรับความเร็วชัต เตอร์ให้อัตโนมัติเมื่อเราเปลี่ยนค่ารูรับแสง เหมาะสาหรับผู้ที่ต้องการควบคุมระยะชัดลึกเอง – ช่องรับแสงอัตโนมัติ Av(หรือ S ในบางกล้อง) เป็นโหมดที่กล้องจะปรับขนาดรูรับแสงให้ อัตโนมัติเมื่อเราเปลี่ยนค่าความไวชัตเตอร์ เหมาะสาหรับผู้ที่ต้องการถ่ายภาพที่เกี่ยวกับ ความเร็ว เช่น น้าตก – ปรับตั้งเอง M เป็นโหมดที่อยากได้อะไรก็ปรับเองแล้วกัน เก่งดีนัก กล้องบอกว่า ตูไม่ยุ่งก็ ได้ฟะ แต่ใจดีช่วยบอกค่าแสงให้แล้วกัน ว่าที่เอ็งปรับน่ะ มันมากหรือน้อยเกินไปอยู่กี่ stop
  • 18. 14 9.ระบบสมดุลสีของแสง เป็นระบบที่กล้องจะชดเชยสภาพแสงให้ตามที่เราปรับ โดย จะมีหลายโหมด เช่น(จะยกไปเท่าที่จะนึกได้แล้วกัน) – Auto ก็ให้กล้องคิดเองหมด กล้องดีสีก็สวย กล้องห่วยสีก็ตุ่นๆ ไม่ได้อารมณ์ – DayLight เหมาะกับสภาพแสงแดดตอนกลางวัน – Shade เหมาะกับในร่มเงาของแสงตอนกลางวัน – Cloud เหมาะกับการถ่ายภาพในเวลาที่แสงโดนเมฆบังหมด – Fluorescent เหมาะกับการถ่ายภาพในสภาพแสงที่เป็นหลอดฟลูออเรสเซนท์ ซึ่งยังแบ่ง ได้ 3 ชนิดอีก คือ Daylight , WarmWhite , Cool White – Incandescent หรือ Tungstan(เขียนถูกป่าวหว่า) สาหรับการถ่ายในแสงหลอดไส้ หรือ กองไฟ – Custom แบบเลือกเอง โดยเลือกโหมดแล้วใช้กล้องส่องไปหากระดาษขาวแล้วกดชัต เตอร์ กล้องจะทาการหาสมดุลแสงให้เอง 10.ระบบแฟลช ไม่ขอพูดถึงระบบทางานของมัน ซับซ้อนซ่อนเงื่อน ไหนจะ TTL ที่ หมายถึงให้แฟลชควบคุมแสงผ่านเลนส์ว่าใส่แสงไปนานแค่ไหนถึงจะพอ อะไรอีกก็ไม่รู้ วุ่นวาย ขอเอาแค่โหมดใช้งานแล้วกัน โดยจะแบ่งเป็น – แก้ตาแดง ก็เอาไว้ถ่ายคนเวลากลางคืนไม่ให้น้องพันซ์มาร้องแซว – Slow Speed Sync ก็คือใช้แฟลชคู่กับความเร็วชัตเตอร์ต่า เช่นในโหมดของการถ่าย บุคคลเวลากลางคืน – High Speed Sync ใช้แฟลชกับความเร็วชัตเตอร์สูงๆ เหมาะกับการจับภาพเคลื่อนไหว ให้หยุดนิ่ง – แฟลชสัมพันธ์กับม่ายชัดเตอร์คู่หน้า/หลัง ขี้เกียจอธิบายว่าคู่หน้า/หลังคืออะไร แต่อยาก ให้เข้าใจว่า ถ้าเราใช้ความเร็วชัตเตอร์ 1/125 วิ แต่แฟลชมันไม่ได้ออกตลอดเวลา อาจจะออก แค่ 1/1000 วิ โดยถ้าแฟลชสัมพันธ์กับคู่หน้า เมื่อเรากดชัตเตอร์ปุ๊บแฟลชก็จะยิงทันที พอครบ 1/1000 แล้วแฟลชก็จะหยุดแต่ม่ายชัตเตอร์ยังเปิดอยู่ ซึ่งจะส่งผลให้ถ้าคนวื่งอยู่ เราก็จะเป็นคนชัดด้าน หลังสุด แล้วจะมีเงาเลื่อนไปด้านหน้า ยังกับคนวิ่งถอยหลัง
  • 19. 15 แต่ถ้าแแฟลชสัมพันธ์กับคู่หลัง เมื่อเรากดชัตเตอร์ แฟลชก็จะยังไม่ถูกยิง แต่พอเหลืออีก 1/1000 วิม่านจะปิด แฟลชถึงจะเริ่มยิงไปจนปิดม่านชัตเตอร์ ซึ่งจะส่งผลให้ถ้าคนวื่งอยู่ เราก็ จะเป็นคนชัดด้านหน้าสุด แล้วจะมีเงาวิ่งตามหลัง เหมือนกับคนวิ่งด้วยความเร็วซะงั้น 11.ระบบถ่ายภาพต่อเนื่อง ก็คือระบบที่เรากดชัตเตอร์ค้างไว้ กล้องก็จะยิงชัตเตอร์รัวๆ ให้ตามกาลังที่มันจาทาได้นั่นเอง 12.ระบบถ่ายภาพคร่อม เป็นระบบที่กล้องจะถ่ายภาพชดเชยแสงไปทาง + และ – ให้ อัตโนมัติ ทาให้เราได้ภาพมาก 3 ภาพ คือ ตามที่ตั้งค่าแสงไว้ มากว่า และน้อยกว่า โดย มากกว่าและน้อยกว่าเท่าไหร่เราก็กาหนดได้ 13.ระบบถ่ายภาพแบบตั้งเวลา ก็จะแบ่งเป็น 2 แบบคือ – ตั้งเวลาเฉยๆ ราวๆ 10 วิ หรือ 12 วิ มีเวลาพอให้วิ่งไปเก็กหล่อหน้ากล้องได้ – ตั้งเวลา 2 วิ พร้อมล๊อคกระจก ซึ่งใน DSLR นั้น ด้วยกลไกแล้วต้องมีการสะบัดกระจก ขึ้นไปเพื่อเปิดทางให้แสงไปหาเซ็นเซอร์รับภาพได้ การสะบัดนี้แหละ ทาให้กล้องสั่นได้ ซึ่งก็ ส่งผลกับความชัดของภาพ(แม้จะเล็กน้อยก็ตาม) กอปรกับแรงกดชัตเตอร์ก็มีผลด้วย ดังนั้น ระบบนี้จึงเกิดขึ้นมเพื่อช่วยช่างภาพมืออาชีพโดยเฉพาะ โดยเมื่อเราใช้โหมดนี้แล้วกดชัตเตอร์ กล้องจะสะบัดกระจกขึ้นก่อน แล้วหน่วงเวลาไว้ 2 วิ ก่อนที่จะเปิดม่านชัตเตอร์ ทาให้ไม่เกิด แรงสะเทือนขึ้นเลย (โอวว พระเจ้ายอด มันจอร์จมาก) 14.ระบบเช็คชัดลึก อันนี้จะเป็นปุ่มเช็คระยะชัดลึกของภาพ โดยเมื่อกดแล้วกล้องจะ ทาการเปิดรูรับแสงตามที่เราตั้งไว้ขณะนั้น ทาให้เราเห็นภาพว่าออกมาแล้วจะชัดลึกแค่ไหน(ถ้า ไม่เข้าใจ แนะนาให้อ่านเรื่อง Depth of field ที่ผมทาไว้) 15.ระบบสี คือช่วงความกว้างของสีที่ครอบคลุมถึง โดยทั่วไปกล้องจะมีให้เลือก 2 แบบ คือ Adobe RGB และ sRGB ต่างกันอย่างไร ดูรูปเอาเข้าใจง่ายกว่า
  • 20. 16 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน ในการจัดทาโครงงานเรื่องกล้องถ่ายรูป ( Camera ) มีวิธีการกาเนินงานดังนี้ วิธีการดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา 2.ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องกล้องถ่ายรูป 3.ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งที่น่าเชื่อถือต่างๆ 4.ตรวจเช็คข้อมูลให้ถูกต้อง 5.นาข้อมูลใส่ Slide share 6.นาข้อมูลลงในบล็อกของตน 7.สรุปข้อมูลต่างๆที่น่าสนใจลงใน Microsoft PowerPoint 8.นาเสนอข้อมูลให้คุณครูและเพื่อนๆ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.อินเทอร์เน็ต 2.หนังสือจากห้องสมุด 3.คอมพิวเตอร์ 4. โปรแกรม Microsoft Word 5.โปรแกรม Microsoft PowerPiont งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 200 บาท -ค่าเล่มรานงาน 170 บาท -ค่าเข้าเล่มรายงาน 30 บาท
  • 21. 17 สถานที่ดาเนินการ - บ้านเลขที่ 256 ม.5 ต.สันผักหวาน อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 50230 - อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50140 - โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50140 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลา ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 กำหนดหัวข้อที่จะ ศึกษำ / / 2 ค้นหำข้อมูลเกี่ยวกับ เรื่องกล้องถ่ำยรูป / / / / 3 ค้นคว้ำและรวบรวม ข้อมูลจำกแหล่งที่ น่ำเชื่อถือต่ำงๆ / / / / / 4 ตรวจเช็คข้อมูลให้ ถูกต้อง / / / 5 นำข้อมูลใส่ Slide share / / 6 นำข้อมูลลงในบล็อก ของตน / / 7 สรุปข้อมูลต่ำงๆที่ น่ำสนใจลงใน Microsoft PowerPoint / / / / 8 นำเสนอข้อมูลให้ คุณครูและเพื่อนๆ /
  • 22. 18 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ในการจัดทาโครงงานเรื่องกล้องถ่ายรูป ( Camera ) มีผลการดาเนินงานดังนี้ ผลการดาเนินงาน 1. ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องกล้องถ่ายรูป 2. ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการการถ่ายภาพในลักษณะต่างๆ 3. สามารถเผยแพร่แก่ผู้ที่สนใจได้ การนาไปใช้ 1. สามารถนาข้อมูลไปเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจได้ 2. นาไปเป็นสื่อการเรียนการสอน 3. นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4. สามารถนาไปเป็นอาชีพเสริมได้
  • 23. 19 บทที่5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ ในการจัดทาโครงงานเรื่อง กล้องถ่ายรูป ( Camera ) มีข้อสรุปดังนี้ ผลการดาเนินโครงงาน จากการทาโครงงานเรื่องกล้องถ่ายรูป ( Camera ) ทาให้ทั้งผู้จัดทาและผู้ที่สนใจได้รับ ความรู้ในเรื่องการถ่ายรูป ตลอดจนวิธีการถ่ายรูปภาพในลักษณะต่างๆ จากการทาโครงงาน สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ทาให้มีมีความสุขกับการถ่ายภาพที่ตัวเองชื่น ชอบ และสามารถนาไปต่อยอดเป็นอาชีพเสริมได้อีกด้วย นอกจากนี้ยัง สามารถนาไปเผยแพร่ ในรูปแบบสื่อการเรียนการสอน อุปสรรค 1. เวลาไม่เพียงพอกับการทางาน 2. ข้อมูลบางแหล่งไม่สามารถให้ข้อมูลที่ครบถ้วน 3. เทคโนโลยีไม่เอื้ออานวย ข้อเสนอแนะ - ควรมีการนาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่ไม่ใช้อินเทอร์เน็ตด้วย เพื่อเป้าหมายของผู้ที่สนใจ อยากทราบ การถ่ายรูป - ควรต่อยอดโครงงานเรื่องนี้ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้มากขึ้น
  • 24. 20 แหล่งอ้างอิง ในการจัดทาโครงงานเรื่อง กล้องถ่ายรูป ( Camera ) มีแหล่งอ้างอิงดังนี้ “กล้องถ่ายภาพ คือ” ค้นหาจากเว็บ https://th.wikipedia.org/wiki/กล้องถ่ายภาพ ค้นหาเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 “การทางานของกล้องถ่ายรูป” ค้นหาจากเว็บ http://courseware.payap.ac.th/docu/ca205/Leson2.html ค้นหาเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2560 “ประวัติกล้องถ่ายภาพ” ค้นหาจากเว็บ http://photography-by-buchoo.blogspot.com/2013/01/blog- post.html ค้นหาเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2560 “กล้องถ่ายภาพ คือ” ค้นหาจากเว็บ https://tripderntang.com/ชนิดของกล้องและระบบของกล้อง/ ค้นหาเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2560