SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทที่ 1                                                    ลูกใครหวา




                      บทบาทของครูนอกเหนือจากการสอนแลว ครูยังมีหนาที่ปรับพฤติกรรม
           ที่ ไม พึ ง ประสงค ข องนั ก เรี ย นให เป น ไปในแนวทางที่ เหมาะสม ป จ จุ บั น พบว า
           มีนักเรียนที่มีปญหาดานพฤติกรรมมากขึ้น เชน โรคสมาธิสั้น พบได 10% ปญหา
           ทางดานอารมณ สังคม เปนตน การชวยเหลือนักเรียนจึงตองทราบถึงสาเหตุเพื่อ
           ใหนักเรียนไดรับการชวยเหลืออยางเต็มที่ ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจะไดลดลง
           อย า งรวดเร็ ว จากประสบการณ ก ารสอนของผมได พ บนั ก เรี ย นที่ มี ป ญ หา
           พฤติกรรมหลากหลาย ซึ่งบางกรณีเปนพฤติกรรมที่กอใหเกิดความยุงยากตอ
           ตัวเอง เพื่อน ๆ และสังคม จึงจำเปนตองปรับพฤติกรรมของนักเรียนเพื่อให
           บรรยากาศการเรียนการสอนและการอยูรวมกันดำเนินอยางมีความสุข

                    เอ บี และซี เปนชื่อของนักเรียนที่ผมไดรูจักและไดเรียนรู ผมเปนครูสอน
           อยูที่โรงเรียนประถมศึกษาที่มีชื่อเสียงแหงหนึ่งในแตละปที่นักเรียนขึ้นชั้นเรียน
           ใหมจะมีการจัดชั้นเรียนใหนักเรียนคละกันไป ทำใหนักเรียนมีโอกาสปรับตัวเขา
           กับเพื่อนใหม รูจักเพื่อนมากขึ้น และเมื่อเรียนถึงระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6
           นักเรียนทั้งระดับเกือบจะรูจักกันหมดทุกคน



AW_child story#file.indd 1                                                                   9/13/12 11:54:05 PM
ขณะที่ผมสอนโรงเรียนนี้ได 3 ป ผมไดสอนวิชาสังคมศึกษา ระดับประถม
           ศึ ก ษาป ที่ 6 ห อ งที่ เด็ ก หญิ ง เอเรี ย นอยู ผมสั ง เกตพบว า เพื่ อ น ๆ ส ว นใหญ
           ในหองไมยอมรับเอ และนอกจากเพื่อนในหองแลว เพื่อนในระดับ ป.6 สวนใหญ
           โดยเฉพาะอยางยิ่งนักเรียนชายที่เรียนอยูในระดับออน ไมชอบเอ มักจะลอหรือ
           ยัวยุเอ หรือแสดงความรังเกียจเออยางชัดเจน เชน เอานิวแตะเอ แลวเอาไปแตะเพือน
             ่                                                           ้                         ่
           เพื่อนก็จะวิ่งหนีกลัวติดเชื้อจากเอ ซึ่งเอเองก็รูตัววาเพื่อนไมชอบ เอเปนเด็กหญิง
           ที่มีลักษณะทวมนิด ๆ ผิวมีตุมเล็ก ๆ คลายเปนผื่น เรียนไมดีนัก เวลาอาจารย
           เรียกตอบมักตอบไมคอยได และไมคอยพูด ทำใหเธอขาดความเชื่อมั่นในตนเอง
           และขาดเพือน สุดทายเอลาออกจากโรงเรียนเมืออยูมธยมศึกษาปที่ 3 เพราะปรับตัว
                        ่                                       ่  ั
           เขากับเพื่อนไมคอยได

                      หลังจากนั้นอีก 6 ป ผมไดพบนักเรียนหญิงชื่อ บี บีไมไดรับการยอมรับ
           จากเพื่อนและมักถูกลอจากเพื่อน ๆ ทำใหผมหวนนึกถึงเออยางยิ่ง บีมีรูปรางที่
           ผอมจนเพื่อน ๆ เรียกวากางใสแวนตาหนาใหญ ผลการเรียนไมคอยดี ขาดความ
           เชื่ อ มั่ น ทั้ ง จากการเรี ย น และจากการถู ก เพื่ อ นล อ บี ไ ม ค อ ยพู ด กั บ ใคร
           บีเรียนจนจบชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 การถูกเพื่อนลอเรียนในวัยเด็ก สงผลเสียหาย
           และเปนปมซอนเรนในจิตใตสำนึกของเด็ก ๆ หลายคนตองหาทางยุติความ
           ทรมานจากการถูกลอเลียนหรือคำสบประมาทของเพื่อน ๆ บางคนทนไมไหว
           อาจเกิดปฏิกิริยาและหาทางตอบโตในลักษณะตาง ๆ

                4 ปตอมาผมสอนวิชาสรางเสริมประสบการณชีวิตชั้น ป.1 ทุกเชาวัน
           พฤหัสบดี นักเรียน ป.1 จะเรียนวิชาจริยศึกษารวมกันในหองประชุมวันพฤหัสบดี
           แรกของการเรี ย นผมสั ง เกตว า มี นั ก เรี ย นชายตั ว ไม โ ตนั ก แต ค รู ป ระจำชั้ น

                                                       2


AW_child story#file.indd 2                                                                     9/13/12 11:54:06 PM
ใหนักเรียนคนนี้นั่งทายแถว จากนั้นเด็กชายคนนี้แสดงอาการแปลก ๆ คือนั่งเลน
           คนเดียว สงเสียงพึมพำเหมือนบน มือสายไปมาไมหยุด ทำใหผมทราบแลววา
           ทำไมเด็กคนนี้ตองมานั่งอยูทายแถวของหอง เด็กคนนี้ชื่อ ซี ซีถูกอาจารยอาวุโส
           ที่เครงครัดในระเบียบวินัยทานหนึ่งสั่งใหซีนั่งนิ่ง ๆ แตซีเหมือนไมรูคำสั่งนั้น ครู
           ทานนั้นจึงทำโทษ แตซีก็ยังคงไมนิ่ง ครูทานนั้นจึงตี ซีก็ไมแกไขตนเองเอาแต
           รองไหไมหยุด ในที่สุดซีตองออกจากหองประชุมทุกวันพฤหัสบดีที่ผมพบซี ซีจะมี
           อาการเหมือนเดิมและครูทานนั้นก็พยายามแกไขพฤติกรรมซีในรูปแบบตาง ๆ
           แตผมคิดวาทานคงไมสามารถเปลี่ยนซีได ขณะเดียวกันผมก็อดคิดไมไดวา ถา
           อีก 5 ป ขางหนาผมไดเปนครูประจำชั้นซีผมจะทำอยางไรในการแกไขปญหานี้

                    เหมื อ นเป น โชคชะตา 5 ป ต อ มาผมได เป นครู ป ระจำชั้ น ในห อ งที่ ซี อ ยู
           ความหนักใจเริ่มเกิดขึ้นกอนเปดเทอมเสียอีก ในระยะแรก ๆ ผมสังเกตเห็นวา
           เพื่ อ น ๆ ในห อ งส ว นใหญ ไม ย อมรั บ ซี และก็ ร วมถึ ง เพื่ อ นในระดั บ ชั้ น ด ว ย
           ผมหวนนึกถึงเอ และบี แตซีมีทั้งพฤติกรรมสวนตัวและการปรับตัวเขากับเพื่อน
           ดวย ซึ่งคราวนี้ซีเปนเด็กในหองที่ผมประจำชั้นอยูในความรับผิดชอบของผมอยาง
           เต็มที่ ผมจะตองดูแลปญหานี้ใหผานไปดวยดี

                  กอนอื่นเรามาทำความรูจักลักษณะนิสัยและพฤติกรรมของซี เพื่อเปน
           ขอมูลดังนี้

                1. ดานการเรียน ซีเปนนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยูในระดับออน
           การทำงานไมคอยเปนระเบียบนัก แตจะสงงานและการบานครบถวนดี ทั้งนี้
           เพราะพอและแมของซีเอาใจใสในการบานของซีดีมาก ขณะนั่งเรียนวิชาตาง ๆ ซี

                                                       3


AW_child story#file.indd 3                                                                     9/13/12 11:54:06 PM
จะมีสมาธิสั้น มักจะนั่งเหมอมองไปนอกหอง การเรียนจึงไมตอเนื่อง ขณะเรียน
           บางครังนังเลนมือและบนเงียบ ๆ อยูคนเดียว ไมมการซักถาม แตมกจะอยากตอบ
                   ้ ่                                     ี             ั
           อยากพูดในเรื่องที่ตนสนใจซึ่งเปนเรื่องของสัตวตาง ๆ โดยเฉพาะปลา ซีมีความรู
           เรื่องสัตวลึกซึ้งและละเอียดกวาเพื่อนในระดับชั้นเดียวกัน ลักษณะการพูดของซี
           จะพูดเร็ว ๆ สั้น ๆ หวน ๆ ติดอางบาง ตองตั้งใจฟงจึงจับใจความได

                     2. ด า นพฤติ ก รรมส ว นตั ว และสั ง คม ซี มี โ ลกส ว นตั ว อย า งมาก ซี
           ไมสามารถยืนหรือนั่งนิ่งไดนานนัก มักจะสรางโลกสวนตัวขึ้นมาโดยการสมมุติ
           มือซายและขวาเปนเหมือนปลา หรือสัตวอื่น ๆ จากนั้นซีจะจินตนาการเรื่องราว
           โดยปากพูดถึงเรื่องราวที่สมมุติอยูเบา ๆ เหมือนบน และมือทั้งสองก็เคลื่อนไหว
           สอดคลองกับจินตนาการ การใชจินตนาการการคิดแบบเลื่อนลอยถาใชบอย ๆ
           และมากเกินไปจะเกิดโทษเพราะทำใหปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมที่เปนจริง
           ไดยากลำบาก การที่ซีมีโลกสวนตัวนั้นเพราะซีไมมีเพื่อน และไมสนใจเพื่อนเลย
           คิ ด ว า อยู ค นเดี ย วก็ ได และการอยู ค นเดี ย วก็ ไม มี ค นแกล ง ด ว ย นอกจากการ
           มีโลกสวนตัวของซีแลวอุปสรรคอีกประการในการปรับตัวใหเขากับเพื่อนคือการ
           สื่อภาษา เพราะการติดตอสื่อสารที่สามารถสื่อความหมายไดดีคือการพูด หาก
           นักเรียนคนใดมีความบกพรองทางการพูด การติดตอสื่อสารยอมเกิดปญหาและ
           อุปสรรคในการอยูรวมกับผูอนซึงจะทำใหนกเรียนคนนันขาดความสุข นอกจากนัน
                                            ื่ ่        ั                ้                      ้
           ภาษาพูดยังชวยระบายอารมณของคน ๆ นั้นดวย ทำใหคลายความทุกข การมี
           ปญหาเรื่องการพูดจึงกอใหเกิดปญหาปรับตัวเขากับเพื่อน หรือคนอื่น ๆ ที่ตน
           เขาไปเกี่ยวของดวย ซีไมสามารถใชคำพูดสื่อสารไดตามตองการ คือจะพูดหรือ
           จะอธิบายอะไรก็ยากลำบาก ขณะเดียวกันการสรางโลกสวนตัวของซี ทำใหซี
           ติดตอกับเพื่อนนอย ซึ่งทำใหการใชภาษาสื่อสารของซีไมพัฒนาดวยเปนลูกโซ

                                                      4


AW_child story#file.indd 4                                                                    9/13/12 11:54:07 PM
เชนนี้ ตัวอยางของปญหาในการสื่อสารคือ ในวันพฤหัสบดีจะเรียนวิชาลูกเสือ
           ผาพันคอของซีไมเรียบรอย ซียื่นผาพันคอใหเพื่อนชวยพันให เพื่อนคนนี้นิสัยดี
           ไม รั ง เกี ย จซี จึ ง พั น ให ข ณะที่ เพื่ อ นกำลั ง ม ว นผ า อยู นั้ น ซี เ อามื อ ไปทุ บ เพื่ อ น
           โดยไมพูดไมถามอะไรใด ๆ ทั้งสิ้น เพราะคิดวาเพื่อนกำลังแกลงทำใหผายับ
           ผมซักถามซีวาทำไมทำเชนนั้น จนทราบเหตุแลวผมตองอธิบายใหซีทราบวา
           เพื่อนไมไดแกลงและใหซีขอโทษเพื่อนคนนั้น

                  3. ดานครอบครัว ซีมีพี่นองรวม 3 คน ซีเปนคนกลาง พี่และนองของซี
           ปรับตัวเขากับเพื่อนไดดี และเรียนดี พอและแมของซีใหนองสาวซีเปนผูคอยดูแล
           ชวยเหลือซีในบางครั้ง จากการสอบถามซีวาเวลาซีดื้อคุณพอทำอยางไรเพื่อผม
           จะไดนำวิธีมาใชบาง ซีบอกวาคุณพอตีดวยเข็มขัด ผมคิดวาถาผมใชวิธีนี้ผมคง
           ติดคุกกอนชวยเหลือซีได ขณะเดียวกันก็ทำใหเขาใจวาทำไมตอน ป.1 ซีจงไมกลัว       ึ
           การทำโทษของอาจารยอาวุโสทานนั้น ในบางโอกาสที่ผมไดพูดคุยกับผูปกครอง
           พบว า ผู ป กครองไม ให ค วามร ว มมื อ ในการให ข อ มู ล ของซี เท า ที่ ค วร เหมื อ น
           ไมยอมรับวาซีมีปญหา บางครั้งผูปกครองแอบมาคอยดูพฤติกรรมของซีและ
           เพื่อน ๆ ที่มาแกลงซี เพื่อจัดการเพื่อนนักเรียนเหลานั้นดวยตนเอง ดังนั้น การ
           ชวยเหลือซีจึงยากยิ่งขึ้นเพราะขาดความรวมมือจากผูปกครอง

                   4. ดานสุขภาพกาย ซีเปนเด็กที่มีรางกายสมสวน แข็งแรง ทานอาหาร
           ไดดีเวนของหวาน จะไมทานเลย เพราะไดรับการปลูกฝงมาวาจะทำใหฟนผุ และ
           ซีก็เครงครัดมากไมยอมกินของหวานใด ๆ



                                                               5


AW_child story#file.indd 5                                                                                   9/13/12 11:54:08 PM
กลาวโดยสรุปคือ ซีมีปญหาเรื่องสมาธิสั้น มีโลกสวนตัว ภาษาที่ใชสื่อสาร
           ไมดี ถูกเพือนแกลง มีปญหาการปรับตัวทางสังคม ชอบแยกตัวจากสังคม ไมคบใคร
                       ่          

                การแกปญหาของซีมี 2 สวน คือ สวนที่เปนลักษณะพฤติกรรมของตัวซี
           เอง และสวนที่เกิดจากการกระทำของเพื่อน ๆ รอบขาง ในสวนที่ 2 นี้ ผมขอ
           แนะนำนักเรียนรวมชั้นของซีอีก 3 คนที่มีบทบาทอยางมากตอซี และการทำงาน
           ของผม นักเรียนทั้ง 3 คนเปนนักเรียนชาย และเปนเพื่อนที่สนิทกัน คือ เค เอ็ม
           และโอ ทั้งสามมีผลการเรียนในระดับปานกลาง

                     เคจะเรียนออนกวาเพือน มีความรับผิดชอบตองานนอยกวา สมาธิในการเรียน
                                         ่
           ไมดนก ชอบคุยขณะเรียน ทำใหโดนครูวชาตาง ๆ ตักเตือนเปนประจำ เคจะไมพอใจ
                ี ั                                   ิ
           ทุ ก ครั้ ง ที่ โดนตำหนิ แ ละมั ก จะเปรี ย บเที ย บกั บ ซี เ สมอว า ครู ล ำเอี ย ง เคชอบ
           แสดงออกในความเปนผูนำทางความคิด เพื่อใหเพื่อน ๆ ยอมรับ โดยเฉพาะ
           ความคิดจับผิดซีอยูเสมอ ซึ่งก็จะไดผลอยูบอย ๆ เพราะนักเรียนสวนใหญไมคอย
           ชอบซีอยูแลว

                  เอ็ม เปนเด็กที่ฉลาดวางตัวไดดี แตไมชอบพฤติกรรมของซี เอ็มมักอยู
           เบื้องหลังของเคเพื่อยุใหเคมีเรื่องกับซี

                 สวนโอ เปนโรคสมาธิสั้น (Attention deficit hyperactivity disorder)
           สมาธิไมดีอยูนิ่งไมได โดยเฉพาะวันไหนที่ลืมกินยา จะคุมตนเองยากจะพูดคุย
           และเลนตลอดเวลา สำหรับโอตางจากทั้งสองคน เพราะพื้นฐานเปนคนจิตใจ
           ออนโยนแตไมแนนอน บางวันโอก็จะรูสึกเห็นใจซี ชวยเหลือซี แตบางวันก็ไมชอบ

                                                      6


AW_child story#file.indd 6                                                                    9/13/12 11:54:08 PM
ซีมาก ๆ ก็จะไปรวมมือกับเค และเอ็มในการแกลงหรือใสความซี

                  ทั้งสามคนตางมีอคติตอซี จองจับผิดซีอยูเสมอ คอยเปรียบเทียบความ
           ยุติธรรมของครูตอพวกเขาและซี โดยไมยอมเขาใจวาซีมีปญหาดานพฤติกรรม
           แมครูจะพยายามอธิบายอยางไรทั้ง 3 คนก็จะหาโอกาสแกลง หรือแหยใหซีโกรธ
           หรือเสียใจ ซึ่งเมื่อซีโกรธหรือเสียใจทั้งสามจะรูสึกสะใจ การแหยใหซีโกรธนั้น
           งายมากซึ่งเด็กทั้งระดับชั้น ป.6 ในปการศึกษานั้นรูกันทุกคน คือ เพียงพูดวา
           บี้มดใหซีไดยิน ซีก็จะกรี๊ดออกมาอยางดัง บางครั้งหนาหงิกงอเหมือนรองไหหรือ
           อาจรองไห และรวมถึงไลทุบคนที่พูด ซึ่งคนที่พูดเมื่อถูกซีทุบก็จะทุบซีกลับคืน
           แตการทุบกลับนั้นทำดวยความรุนแรงกวามาก และมักอางวาซีมาทำกอนเพื่อ
           เปนเหตุใหครูทำโทษไดลำบากเพราะซีลงมือทำกอนจริง หลายทานคงสงสัย
           เหมือนผมวาทำไมเมื่อซีไดยินคำวาบี้มดจึงโกรธมาก ผมไดถามซี และไดรับ
           คำตอบวาสงสารมด ทั้งที่จริงไมมีใครบี้มดจริง เปนคำพูดลอเลน ปจจุบันซีอยู
           ม.3 แลว แตคำวาบี้มดก็ยังใชไดผลกับซี สิ่งเหลานี้เปนปญหาที่ทาทายใหผม
           ตองหาทางแกไขและปรับพฤติกรรมของซีใหดีขึ้น

                    การแกปญหาชันเรียนทีผมใชไดผลเสมอมาคือการเปนผูนำกลุม (leadership)
                                ้      ่                                  
           ครูประจำชั้นมีความผูกพันกับเด็กมาก เปนผูอบรมสั่งสอนดูแลความเรียบรอย
           ความสงบสุขของนักเรียนอยางใกลชิดก็จริง แตไมไดหมายความวาครูประจำชั้น
           ผูน้ันเปนผูนำ (Leader) เพราะผูนำกลุมของผมหมายถึง ผูนำที่ไดรับการยอมรับ
           จากนักเรียนในชั้นเรียนโดยความเชื่อมั่น เชื่อถือ (trust) และความศรัทธา (faith)
           มากกวาการยอมรับเพราะคำสั่ง และความอาวุโสกวา เปนคนที่มีบทบาทเฉพาะ
           อยางที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมของผูอื่นที่อยูในกลุมเดียวกัน เชน เมื่อผมบอกให

                                                  7


AW_child story#file.indd 7                                                          9/13/12 11:54:09 PM
สมาชิกในกลุมทำสิ่งใด สมาชิกก็ทำหรือเชื่อตาม การเปนผูนำกลุมทำใหเด็ก ๆ
           ยอมรับเรางายขึน ฟงเหตุผลของเราในทางบวกไดงายขึน ทำใหเราแกปญหาตาง ๆ
                             ้                            ้                  
           ไดงายขึ้น ดังนั้น การสรางผูนำกลุมของผมก็เริ่มขึ้นทันที ซึ่งการสรางความ
           เปนผูนำกลุมนี้ไดรวมกระบวนการแกปญหารวมอยูในกระบวนการนี้ดวย โดย

                  1. สรางความใกลชิดและเปนกันเองกับนักเรียนทุกคนใหเร็วที่สุด การ
           สรางความใกลชิดและเปนกันเองนี้ครูตองเขาหาเด็กนักเรียนกอน ตองสังเกต
           พฤติกรรมเฉพาะตนของเด็กแตละคน เชน ชอบอะไรไมชอบอะไร ราเริงหรือ
           สุภาพ วองไวหรือเฉื่อยชา ครูตองทำดวยความสุข และความจริงใจจึงจะไดผล
           เพราะอยาลืมวาขณะที่ครูศึกษา และสังเกตเด็ก เด็กก็ศึกษาพฤติกรรมครูของเขา
           ไปดวย เมื่อเขารูวาเรารักเขาอยางจริงใจพวกเขาก็จะยอมรับและรักเราอยาง
           รวดเร็ว เชนกัน

                     กอนเขาเรียนทุกเชาผมจะเดินดูและทักเด็กทุกคนที่มาโรงเรียน เพื่อ
           สั ง เกตความผิ ด ปกติ ห รื อ ความกั ง วลของเด็ ก ทุ ก คน เมื่ อ เห็ น สิ่ ง ผิ ด ปกติ ก็ จ ะ
           ซักถาม และชวยเหลือในทันที การทักทายถาเปนนักเรียนชายก็อาจลูบหัวดวย
           ความเอ็นดูใชสื่อภาษาทางกาย (Body language) ไปดวย รวมทั้งการพูดจา
           หยอกล อ เล นกั บ เด็ ก แต ล ะคนเป นที่ ส นุ ก สนานไปด ว ยกั น เด็ ก คนไหนลื ม ทำ
           การบานมาก็จะชวยสอน คนไหนลืมเอาอุปกรณใดมาก็จะหาให วันไหนสอบวิชา
           อะไร ก็จะชวยทบทวนใหในบรรยากาศที่ผอนคลายและเปนกันเอง

                     โฮมรูม ชวงนี้เปนอีกชวงที่จะสรางความใกลชิดระหวางครูและนักเรียน
           เปนชวงเวลาในการสรางขอตกลง กฎระเบียบวินัยตาง ๆ การรับฟงความคิดเห็น

                                                        8


AW_child story#file.indd 8                                                                       9/13/12 11:54:09 PM
ซึ่งกันและกัน รวมทั้งการหาทางชวยกันแกปญหา โดยผมจะใหเด็ก ๆ ชวยกัน
           คิดในเรื่องตาง ๆ เชน ขอตกลงหอง การแกปญหาของเพื่อน การทำกิจกรรม
           ตาง ๆ ทั้งในหองเรียนและในระดับชั้น และผมจะแทรกขอคิดที่เด็กอาจลืมหรือ
           คิดไมถึงลงไป ซึ่งเด็กก็จะยอมรับวาครูคิดดวยจะรอบคอบกวาการยอมรับ การ
           รับฟงและความเปนผูนำกลุมก็กำลังเริ่มขึ้นทีละเล็กละนอยเชนกัน

                      การเฝาดูแลขณะเรียนวิชาตาง ๆ อยางใกลชิด ไมวาจะไปเรียนพละ
           หรือการงานอาชีพและเทคโนโลยี เพื่อสังเกตพฤติกรรมในชวงเวลาตาง ๆ จนเรา
           เหมือนเปนสวนหนึ่งของพวกเขาไปดวย ถาวันไหนเราแอบดูพวกเขาอยู โดยเขา
           ไมเห็นเราเขาก็จะมองหา และเมื่อเห็นเราพวกเขาก็จะยิ้มดวยความดีใจที่เราอยู
           ใกล ๆ การเฝาดูอยางใกลชิดนี้ทำใหเค เอ็ม และโอ หาโอกาสแหยซีไดยาก
           ไปดวยในการไปเฝาดูแลพวกเขาอยาทำใหพวกเขารูสึกวาเราไปจับผิด แตใหเขารู
           วาเราไปดูเขาดวยความรัก ความหวงใยพวกเขา ซึ่งพวกเขาจะรับรูไดจากทาทาง
           และสายตาของเรา

                         อยูบนความยุติธรรม ขอนี้สำคัญมาก เด็ก ๆ ตองการไดความรัก
           จากครูเทาเทียมกัน ดังนั้น ไมวาการกระทำใด ๆ ของครูตอนักเรียนทุกคน
           ในชั้ น เรี ย นต อ งอยู บ นความเสมอภาคเท า เที ย มกั น ใช ก ฎ ระเบี ย บ หรื อ การ
           ทำโทษเหมือน ๆ กัน จะทำใหเด็กพอใจและรูถึงความยุติธรรมและความถูกตอง
           ของครู เปนการสรางความศรัทธาในตัวครูอยางยิ่ง




                                                     9


AW_child story#file.indd 9                                                                9/13/12 11:54:10 PM
อยูบนเหตุผล และขอตกลง ครูตองใหโอกาสนักเรียนแสดงถึงเหตุผล
           ที่นักเรียนคิดหรือทำสิ่งตาง ๆ และสั่งสอน หรือตักเตือนนักเรียนดวยเหตุผล
           และเมตตาธรรมเสมอ

                  2. ชักจูงกลุมใหรูสึกเห็นใจและเขาใจซี เมื่อเราเปนผูนำกลุมแลว เราก็เริ่ม
           ชักจูงใหเด็ก ๆ เขาใจพฤติกรรมของซี และเห็นอกเห็นใจซีมากกวารังเกียจ ซึ่ง
           เด็กสวนใหญเมือยอมรับในความเปนผูนำของเราแลวเราจะสลายความคิดทีผด ๆ
                          ่                                                            ่ ิ
           หรือถายทอดกันมาจากเพือนๆ ไดงาย และยอมรับในซีมากขึน แตไมถงกับชวนซี
                                       ่                                  ้        ึ
           เลนดวย แตเลิกที่จะจองจับผิด หรือแหยซี อีกทั้งเปนการแยกนักเรียนสวนใหญ
           ออกมาจากเดิมที่เคยเปนแนวรวมของเค เอ็ม และโอ โดยเค เอ็ม และโอไมรูตัว
           และทั้งสามก็ยอมรับเราดวย

                     สำหรับการแกปญหาซีนั้นผมจะใชเวลาพูดคุยกับซีในชวงเวลาพักตาง ๆ
           ทำใหผมไดรูจักซีมากขึ้น และทำใหซีไดฝกพูดสนทนา รูจักใชภาษาเพื่อการ
           สื่อสาร มีความเชื่อมั่นในการสื่อสาร กลาแสดงความคิดเห็นมากขึ้นเพราะรูวา
           มี ค นตั้ ง ใจฟ ง และรู ว า มี ผ มเป น เพื่ อ นไม ได อ ยู ในโลกส ว นตั ว เช น เคย และรู สึ ก
           ปลอดภัยจากการถูกแกลงดวย ซึ่งสอดคลองกับเรฟฟนี (1993) ไดเสนอแนะ
           แนวทางในการพัฒนาการเห็นคุณคาในตนเองโดยครูจะตองเรียนรูลักษณะพิเศษ
           ของนักเรียนแตละคนและใหความเอาใจใสในลักษณะพิเศษนั้น ๆ ของนักเรียน
           แตละคน และใหความเอาใจใสในลักษณะพิเศษนั้น ๆ ของนักเรียน ดังนั้น ผม
           ไมตองดุซี หรือใชความรุนแรงกับซีเพื่อใหซีเชื่อฟงผม แตผมใชการพูดกับซีได
           โดยงาย แตในบางครั้งซีอารมณไมดี ซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุทางบานหรือถูกเพื่อน
           แกลงซีจะไมฟงผม ผมก็จะไมฝนเอาชนะซี แตจะปลอยซีสกพักจนอารมณทรอนแรง
                                                                                  ั                  ี่ 

                                                             10


AW_child story#file.indd 10                                                                               9/13/12 11:54:10 PM

More Related Content

Similar to 9789740330219

คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้ครูบ้านนอก จนจน
 
กรณีตัวอย่าง ฟันดะ
กรณีตัวอย่าง  ฟันดะกรณีตัวอย่าง  ฟันดะ
กรณีตัวอย่าง ฟันดะtassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียนtassanee chaicharoen
 
พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างdirectorcherdsak
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการJariya
 
กรณีตัวอย่าง จุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
กรณีตัวอย่าง จุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลยกรณีตัวอย่าง จุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
กรณีตัวอย่าง จุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลยtassanee chaicharoen
 
ตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chay
ตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chayตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chay
ตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chayPeter Chay
 
การเรียนรู้โดยการสังเกต
การเรียนรู้โดยการสังเกตการเรียนรู้โดยการสังเกต
การเรียนรู้โดยการสังเกตorawan chaiyakhan
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกWiwat Ch
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกWiwat Ch
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกWiwat Ch
 
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน putjohn
 
หลักการทำงาน
หลักการทำงาน หลักการทำงาน
หลักการทำงาน putjohn
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกWiwat Ch
 
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวThunyalak Thumphila
 
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้Atima Teraksee
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2duenka
 

Similar to 9789740330219 (20)

2010111209582136
20101112095821362010111209582136
2010111209582136
 
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
 
กรณีตัวอย่าง ฟันดะ
กรณีตัวอย่าง  ฟันดะกรณีตัวอย่าง  ฟันดะ
กรณีตัวอย่าง ฟันดะ
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
 
พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่าง
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
กรณีตัวอย่าง จุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
กรณีตัวอย่าง จุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลยกรณีตัวอย่าง จุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
กรณีตัวอย่าง จุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
 
ตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chay
ตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chayตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chay
ตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chay
 
การเรียนรู้โดยการสังเกต
การเรียนรู้โดยการสังเกตการเรียนรู้โดยการสังเกต
การเรียนรู้โดยการสังเกต
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวก
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวก
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวก
 
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
 
หลักการทำงาน
หลักการทำงาน หลักการทำงาน
หลักการทำงาน
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวก
 
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
 
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2
 
K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740330219

  • 1. บทที่ 1 ลูกใครหวา บทบาทของครูนอกเหนือจากการสอนแลว ครูยังมีหนาที่ปรับพฤติกรรม ที่ ไม พึ ง ประสงค ข องนั ก เรี ย นให เป น ไปในแนวทางที่ เหมาะสม ป จ จุ บั น พบว า มีนักเรียนที่มีปญหาดานพฤติกรรมมากขึ้น เชน โรคสมาธิสั้น พบได 10% ปญหา ทางดานอารมณ สังคม เปนตน การชวยเหลือนักเรียนจึงตองทราบถึงสาเหตุเพื่อ ใหนักเรียนไดรับการชวยเหลืออยางเต็มที่ ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจะไดลดลง อย า งรวดเร็ ว จากประสบการณ ก ารสอนของผมได พ บนั ก เรี ย นที่ มี ป ญ หา พฤติกรรมหลากหลาย ซึ่งบางกรณีเปนพฤติกรรมที่กอใหเกิดความยุงยากตอ ตัวเอง เพื่อน ๆ และสังคม จึงจำเปนตองปรับพฤติกรรมของนักเรียนเพื่อให บรรยากาศการเรียนการสอนและการอยูรวมกันดำเนินอยางมีความสุข เอ บี และซี เปนชื่อของนักเรียนที่ผมไดรูจักและไดเรียนรู ผมเปนครูสอน อยูที่โรงเรียนประถมศึกษาที่มีชื่อเสียงแหงหนึ่งในแตละปที่นักเรียนขึ้นชั้นเรียน ใหมจะมีการจัดชั้นเรียนใหนักเรียนคละกันไป ทำใหนักเรียนมีโอกาสปรับตัวเขา กับเพื่อนใหม รูจักเพื่อนมากขึ้น และเมื่อเรียนถึงระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 นักเรียนทั้งระดับเกือบจะรูจักกันหมดทุกคน AW_child story#file.indd 1 9/13/12 11:54:05 PM
  • 2. ขณะที่ผมสอนโรงเรียนนี้ได 3 ป ผมไดสอนวิชาสังคมศึกษา ระดับประถม ศึ ก ษาป ที่ 6 ห อ งที่ เด็ ก หญิ ง เอเรี ย นอยู ผมสั ง เกตพบว า เพื่ อ น ๆ ส ว นใหญ ในหองไมยอมรับเอ และนอกจากเพื่อนในหองแลว เพื่อนในระดับ ป.6 สวนใหญ โดยเฉพาะอยางยิ่งนักเรียนชายที่เรียนอยูในระดับออน ไมชอบเอ มักจะลอหรือ ยัวยุเอ หรือแสดงความรังเกียจเออยางชัดเจน เชน เอานิวแตะเอ แลวเอาไปแตะเพือน ่ ้ ่ เพื่อนก็จะวิ่งหนีกลัวติดเชื้อจากเอ ซึ่งเอเองก็รูตัววาเพื่อนไมชอบ เอเปนเด็กหญิง ที่มีลักษณะทวมนิด ๆ ผิวมีตุมเล็ก ๆ คลายเปนผื่น เรียนไมดีนัก เวลาอาจารย เรียกตอบมักตอบไมคอยได และไมคอยพูด ทำใหเธอขาดความเชื่อมั่นในตนเอง และขาดเพือน สุดทายเอลาออกจากโรงเรียนเมืออยูมธยมศึกษาปที่ 3 เพราะปรับตัว ่ ่  ั เขากับเพื่อนไมคอยได หลังจากนั้นอีก 6 ป ผมไดพบนักเรียนหญิงชื่อ บี บีไมไดรับการยอมรับ จากเพื่อนและมักถูกลอจากเพื่อน ๆ ทำใหผมหวนนึกถึงเออยางยิ่ง บีมีรูปรางที่ ผอมจนเพื่อน ๆ เรียกวากางใสแวนตาหนาใหญ ผลการเรียนไมคอยดี ขาดความ เชื่ อ มั่ น ทั้ ง จากการเรี ย น และจากการถู ก เพื่ อ นล อ บี ไ ม ค อ ยพู ด กั บ ใคร บีเรียนจนจบชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 การถูกเพื่อนลอเรียนในวัยเด็ก สงผลเสียหาย และเปนปมซอนเรนในจิตใตสำนึกของเด็ก ๆ หลายคนตองหาทางยุติความ ทรมานจากการถูกลอเลียนหรือคำสบประมาทของเพื่อน ๆ บางคนทนไมไหว อาจเกิดปฏิกิริยาและหาทางตอบโตในลักษณะตาง ๆ 4 ปตอมาผมสอนวิชาสรางเสริมประสบการณชีวิตชั้น ป.1 ทุกเชาวัน พฤหัสบดี นักเรียน ป.1 จะเรียนวิชาจริยศึกษารวมกันในหองประชุมวันพฤหัสบดี แรกของการเรี ย นผมสั ง เกตว า มี นั ก เรี ย นชายตั ว ไม โ ตนั ก แต ค รู ป ระจำชั้ น 2 AW_child story#file.indd 2 9/13/12 11:54:06 PM
  • 3. ใหนักเรียนคนนี้นั่งทายแถว จากนั้นเด็กชายคนนี้แสดงอาการแปลก ๆ คือนั่งเลน คนเดียว สงเสียงพึมพำเหมือนบน มือสายไปมาไมหยุด ทำใหผมทราบแลววา ทำไมเด็กคนนี้ตองมานั่งอยูทายแถวของหอง เด็กคนนี้ชื่อ ซี ซีถูกอาจารยอาวุโส ที่เครงครัดในระเบียบวินัยทานหนึ่งสั่งใหซีนั่งนิ่ง ๆ แตซีเหมือนไมรูคำสั่งนั้น ครู ทานนั้นจึงทำโทษ แตซีก็ยังคงไมนิ่ง ครูทานนั้นจึงตี ซีก็ไมแกไขตนเองเอาแต รองไหไมหยุด ในที่สุดซีตองออกจากหองประชุมทุกวันพฤหัสบดีที่ผมพบซี ซีจะมี อาการเหมือนเดิมและครูทานนั้นก็พยายามแกไขพฤติกรรมซีในรูปแบบตาง ๆ แตผมคิดวาทานคงไมสามารถเปลี่ยนซีได ขณะเดียวกันผมก็อดคิดไมไดวา ถา อีก 5 ป ขางหนาผมไดเปนครูประจำชั้นซีผมจะทำอยางไรในการแกไขปญหานี้ เหมื อ นเป น โชคชะตา 5 ป ต อ มาผมได เป นครู ป ระจำชั้ น ในห อ งที่ ซี อ ยู ความหนักใจเริ่มเกิดขึ้นกอนเปดเทอมเสียอีก ในระยะแรก ๆ ผมสังเกตเห็นวา เพื่ อ น ๆ ในห อ งส ว นใหญ ไม ย อมรั บ ซี และก็ ร วมถึ ง เพื่ อ นในระดั บ ชั้ น ด ว ย ผมหวนนึกถึงเอ และบี แตซีมีทั้งพฤติกรรมสวนตัวและการปรับตัวเขากับเพื่อน ดวย ซึ่งคราวนี้ซีเปนเด็กในหองที่ผมประจำชั้นอยูในความรับผิดชอบของผมอยาง เต็มที่ ผมจะตองดูแลปญหานี้ใหผานไปดวยดี กอนอื่นเรามาทำความรูจักลักษณะนิสัยและพฤติกรรมของซี เพื่อเปน ขอมูลดังนี้ 1. ดานการเรียน ซีเปนนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยูในระดับออน การทำงานไมคอยเปนระเบียบนัก แตจะสงงานและการบานครบถวนดี ทั้งนี้ เพราะพอและแมของซีเอาใจใสในการบานของซีดีมาก ขณะนั่งเรียนวิชาตาง ๆ ซี 3 AW_child story#file.indd 3 9/13/12 11:54:06 PM
  • 4. จะมีสมาธิสั้น มักจะนั่งเหมอมองไปนอกหอง การเรียนจึงไมตอเนื่อง ขณะเรียน บางครังนังเลนมือและบนเงียบ ๆ อยูคนเดียว ไมมการซักถาม แตมกจะอยากตอบ ้ ่  ี ั อยากพูดในเรื่องที่ตนสนใจซึ่งเปนเรื่องของสัตวตาง ๆ โดยเฉพาะปลา ซีมีความรู เรื่องสัตวลึกซึ้งและละเอียดกวาเพื่อนในระดับชั้นเดียวกัน ลักษณะการพูดของซี จะพูดเร็ว ๆ สั้น ๆ หวน ๆ ติดอางบาง ตองตั้งใจฟงจึงจับใจความได 2. ด า นพฤติ ก รรมส ว นตั ว และสั ง คม ซี มี โ ลกส ว นตั ว อย า งมาก ซี ไมสามารถยืนหรือนั่งนิ่งไดนานนัก มักจะสรางโลกสวนตัวขึ้นมาโดยการสมมุติ มือซายและขวาเปนเหมือนปลา หรือสัตวอื่น ๆ จากนั้นซีจะจินตนาการเรื่องราว โดยปากพูดถึงเรื่องราวที่สมมุติอยูเบา ๆ เหมือนบน และมือทั้งสองก็เคลื่อนไหว สอดคลองกับจินตนาการ การใชจินตนาการการคิดแบบเลื่อนลอยถาใชบอย ๆ และมากเกินไปจะเกิดโทษเพราะทำใหปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมที่เปนจริง ไดยากลำบาก การที่ซีมีโลกสวนตัวนั้นเพราะซีไมมีเพื่อน และไมสนใจเพื่อนเลย คิ ด ว า อยู ค นเดี ย วก็ ได และการอยู ค นเดี ย วก็ ไม มี ค นแกล ง ด ว ย นอกจากการ มีโลกสวนตัวของซีแลวอุปสรรคอีกประการในการปรับตัวใหเขากับเพื่อนคือการ สื่อภาษา เพราะการติดตอสื่อสารที่สามารถสื่อความหมายไดดีคือการพูด หาก นักเรียนคนใดมีความบกพรองทางการพูด การติดตอสื่อสารยอมเกิดปญหาและ อุปสรรคในการอยูรวมกับผูอนซึงจะทำใหนกเรียนคนนันขาดความสุข นอกจากนัน   ื่ ่ ั ้ ้ ภาษาพูดยังชวยระบายอารมณของคน ๆ นั้นดวย ทำใหคลายความทุกข การมี ปญหาเรื่องการพูดจึงกอใหเกิดปญหาปรับตัวเขากับเพื่อน หรือคนอื่น ๆ ที่ตน เขาไปเกี่ยวของดวย ซีไมสามารถใชคำพูดสื่อสารไดตามตองการ คือจะพูดหรือ จะอธิบายอะไรก็ยากลำบาก ขณะเดียวกันการสรางโลกสวนตัวของซี ทำใหซี ติดตอกับเพื่อนนอย ซึ่งทำใหการใชภาษาสื่อสารของซีไมพัฒนาดวยเปนลูกโซ 4 AW_child story#file.indd 4 9/13/12 11:54:07 PM
  • 5. เชนนี้ ตัวอยางของปญหาในการสื่อสารคือ ในวันพฤหัสบดีจะเรียนวิชาลูกเสือ ผาพันคอของซีไมเรียบรอย ซียื่นผาพันคอใหเพื่อนชวยพันให เพื่อนคนนี้นิสัยดี ไม รั ง เกี ย จซี จึ ง พั น ให ข ณะที่ เพื่ อ นกำลั ง ม ว นผ า อยู นั้ น ซี เ อามื อ ไปทุ บ เพื่ อ น โดยไมพูดไมถามอะไรใด ๆ ทั้งสิ้น เพราะคิดวาเพื่อนกำลังแกลงทำใหผายับ ผมซักถามซีวาทำไมทำเชนนั้น จนทราบเหตุแลวผมตองอธิบายใหซีทราบวา เพื่อนไมไดแกลงและใหซีขอโทษเพื่อนคนนั้น 3. ดานครอบครัว ซีมีพี่นองรวม 3 คน ซีเปนคนกลาง พี่และนองของซี ปรับตัวเขากับเพื่อนไดดี และเรียนดี พอและแมของซีใหนองสาวซีเปนผูคอยดูแล ชวยเหลือซีในบางครั้ง จากการสอบถามซีวาเวลาซีดื้อคุณพอทำอยางไรเพื่อผม จะไดนำวิธีมาใชบาง ซีบอกวาคุณพอตีดวยเข็มขัด ผมคิดวาถาผมใชวิธีนี้ผมคง ติดคุกกอนชวยเหลือซีได ขณะเดียวกันก็ทำใหเขาใจวาทำไมตอน ป.1 ซีจงไมกลัว ึ การทำโทษของอาจารยอาวุโสทานนั้น ในบางโอกาสที่ผมไดพูดคุยกับผูปกครอง พบว า ผู ป กครองไม ให ค วามร ว มมื อ ในการให ข อ มู ล ของซี เท า ที่ ค วร เหมื อ น ไมยอมรับวาซีมีปญหา บางครั้งผูปกครองแอบมาคอยดูพฤติกรรมของซีและ เพื่อน ๆ ที่มาแกลงซี เพื่อจัดการเพื่อนนักเรียนเหลานั้นดวยตนเอง ดังนั้น การ ชวยเหลือซีจึงยากยิ่งขึ้นเพราะขาดความรวมมือจากผูปกครอง 4. ดานสุขภาพกาย ซีเปนเด็กที่มีรางกายสมสวน แข็งแรง ทานอาหาร ไดดีเวนของหวาน จะไมทานเลย เพราะไดรับการปลูกฝงมาวาจะทำใหฟนผุ และ ซีก็เครงครัดมากไมยอมกินของหวานใด ๆ 5 AW_child story#file.indd 5 9/13/12 11:54:08 PM
  • 6. กลาวโดยสรุปคือ ซีมีปญหาเรื่องสมาธิสั้น มีโลกสวนตัว ภาษาที่ใชสื่อสาร ไมดี ถูกเพือนแกลง มีปญหาการปรับตัวทางสังคม ชอบแยกตัวจากสังคม ไมคบใคร ่  การแกปญหาของซีมี 2 สวน คือ สวนที่เปนลักษณะพฤติกรรมของตัวซี เอง และสวนที่เกิดจากการกระทำของเพื่อน ๆ รอบขาง ในสวนที่ 2 นี้ ผมขอ แนะนำนักเรียนรวมชั้นของซีอีก 3 คนที่มีบทบาทอยางมากตอซี และการทำงาน ของผม นักเรียนทั้ง 3 คนเปนนักเรียนชาย และเปนเพื่อนที่สนิทกัน คือ เค เอ็ม และโอ ทั้งสามมีผลการเรียนในระดับปานกลาง เคจะเรียนออนกวาเพือน มีความรับผิดชอบตองานนอยกวา สมาธิในการเรียน ่ ไมดนก ชอบคุยขณะเรียน ทำใหโดนครูวชาตาง ๆ ตักเตือนเปนประจำ เคจะไมพอใจ ี ั ิ ทุ ก ครั้ ง ที่ โดนตำหนิ แ ละมั ก จะเปรี ย บเที ย บกั บ ซี เ สมอว า ครู ล ำเอี ย ง เคชอบ แสดงออกในความเปนผูนำทางความคิด เพื่อใหเพื่อน ๆ ยอมรับ โดยเฉพาะ ความคิดจับผิดซีอยูเสมอ ซึ่งก็จะไดผลอยูบอย ๆ เพราะนักเรียนสวนใหญไมคอย ชอบซีอยูแลว เอ็ม เปนเด็กที่ฉลาดวางตัวไดดี แตไมชอบพฤติกรรมของซี เอ็มมักอยู เบื้องหลังของเคเพื่อยุใหเคมีเรื่องกับซี สวนโอ เปนโรคสมาธิสั้น (Attention deficit hyperactivity disorder) สมาธิไมดีอยูนิ่งไมได โดยเฉพาะวันไหนที่ลืมกินยา จะคุมตนเองยากจะพูดคุย และเลนตลอดเวลา สำหรับโอตางจากทั้งสองคน เพราะพื้นฐานเปนคนจิตใจ ออนโยนแตไมแนนอน บางวันโอก็จะรูสึกเห็นใจซี ชวยเหลือซี แตบางวันก็ไมชอบ 6 AW_child story#file.indd 6 9/13/12 11:54:08 PM
  • 7. ซีมาก ๆ ก็จะไปรวมมือกับเค และเอ็มในการแกลงหรือใสความซี ทั้งสามคนตางมีอคติตอซี จองจับผิดซีอยูเสมอ คอยเปรียบเทียบความ ยุติธรรมของครูตอพวกเขาและซี โดยไมยอมเขาใจวาซีมีปญหาดานพฤติกรรม แมครูจะพยายามอธิบายอยางไรทั้ง 3 คนก็จะหาโอกาสแกลง หรือแหยใหซีโกรธ หรือเสียใจ ซึ่งเมื่อซีโกรธหรือเสียใจทั้งสามจะรูสึกสะใจ การแหยใหซีโกรธนั้น งายมากซึ่งเด็กทั้งระดับชั้น ป.6 ในปการศึกษานั้นรูกันทุกคน คือ เพียงพูดวา บี้มดใหซีไดยิน ซีก็จะกรี๊ดออกมาอยางดัง บางครั้งหนาหงิกงอเหมือนรองไหหรือ อาจรองไห และรวมถึงไลทุบคนที่พูด ซึ่งคนที่พูดเมื่อถูกซีทุบก็จะทุบซีกลับคืน แตการทุบกลับนั้นทำดวยความรุนแรงกวามาก และมักอางวาซีมาทำกอนเพื่อ เปนเหตุใหครูทำโทษไดลำบากเพราะซีลงมือทำกอนจริง หลายทานคงสงสัย เหมือนผมวาทำไมเมื่อซีไดยินคำวาบี้มดจึงโกรธมาก ผมไดถามซี และไดรับ คำตอบวาสงสารมด ทั้งที่จริงไมมีใครบี้มดจริง เปนคำพูดลอเลน ปจจุบันซีอยู ม.3 แลว แตคำวาบี้มดก็ยังใชไดผลกับซี สิ่งเหลานี้เปนปญหาที่ทาทายใหผม ตองหาทางแกไขและปรับพฤติกรรมของซีใหดีขึ้น การแกปญหาชันเรียนทีผมใชไดผลเสมอมาคือการเปนผูนำกลุม (leadership)  ้ ่   ครูประจำชั้นมีความผูกพันกับเด็กมาก เปนผูอบรมสั่งสอนดูแลความเรียบรอย ความสงบสุขของนักเรียนอยางใกลชิดก็จริง แตไมไดหมายความวาครูประจำชั้น ผูน้ันเปนผูนำ (Leader) เพราะผูนำกลุมของผมหมายถึง ผูนำที่ไดรับการยอมรับ จากนักเรียนในชั้นเรียนโดยความเชื่อมั่น เชื่อถือ (trust) และความศรัทธา (faith) มากกวาการยอมรับเพราะคำสั่ง และความอาวุโสกวา เปนคนที่มีบทบาทเฉพาะ อยางที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมของผูอื่นที่อยูในกลุมเดียวกัน เชน เมื่อผมบอกให 7 AW_child story#file.indd 7 9/13/12 11:54:09 PM
  • 8. สมาชิกในกลุมทำสิ่งใด สมาชิกก็ทำหรือเชื่อตาม การเปนผูนำกลุมทำใหเด็ก ๆ ยอมรับเรางายขึน ฟงเหตุผลของเราในทางบวกไดงายขึน ทำใหเราแกปญหาตาง ๆ ้  ้  ไดงายขึ้น ดังนั้น การสรางผูนำกลุมของผมก็เริ่มขึ้นทันที ซึ่งการสรางความ เปนผูนำกลุมนี้ไดรวมกระบวนการแกปญหารวมอยูในกระบวนการนี้ดวย โดย 1. สรางความใกลชิดและเปนกันเองกับนักเรียนทุกคนใหเร็วที่สุด การ สรางความใกลชิดและเปนกันเองนี้ครูตองเขาหาเด็กนักเรียนกอน ตองสังเกต พฤติกรรมเฉพาะตนของเด็กแตละคน เชน ชอบอะไรไมชอบอะไร ราเริงหรือ สุภาพ วองไวหรือเฉื่อยชา ครูตองทำดวยความสุข และความจริงใจจึงจะไดผล เพราะอยาลืมวาขณะที่ครูศึกษา และสังเกตเด็ก เด็กก็ศึกษาพฤติกรรมครูของเขา ไปดวย เมื่อเขารูวาเรารักเขาอยางจริงใจพวกเขาก็จะยอมรับและรักเราอยาง รวดเร็ว เชนกัน กอนเขาเรียนทุกเชาผมจะเดินดูและทักเด็กทุกคนที่มาโรงเรียน เพื่อ สั ง เกตความผิ ด ปกติ ห รื อ ความกั ง วลของเด็ ก ทุ ก คน เมื่ อ เห็ น สิ่ ง ผิ ด ปกติ ก็ จ ะ ซักถาม และชวยเหลือในทันที การทักทายถาเปนนักเรียนชายก็อาจลูบหัวดวย ความเอ็นดูใชสื่อภาษาทางกาย (Body language) ไปดวย รวมทั้งการพูดจา หยอกล อ เล นกั บ เด็ ก แต ล ะคนเป นที่ ส นุ ก สนานไปด ว ยกั น เด็ ก คนไหนลื ม ทำ การบานมาก็จะชวยสอน คนไหนลืมเอาอุปกรณใดมาก็จะหาให วันไหนสอบวิชา อะไร ก็จะชวยทบทวนใหในบรรยากาศที่ผอนคลายและเปนกันเอง โฮมรูม ชวงนี้เปนอีกชวงที่จะสรางความใกลชิดระหวางครูและนักเรียน เปนชวงเวลาในการสรางขอตกลง กฎระเบียบวินัยตาง ๆ การรับฟงความคิดเห็น 8 AW_child story#file.indd 8 9/13/12 11:54:09 PM
  • 9. ซึ่งกันและกัน รวมทั้งการหาทางชวยกันแกปญหา โดยผมจะใหเด็ก ๆ ชวยกัน คิดในเรื่องตาง ๆ เชน ขอตกลงหอง การแกปญหาของเพื่อน การทำกิจกรรม ตาง ๆ ทั้งในหองเรียนและในระดับชั้น และผมจะแทรกขอคิดที่เด็กอาจลืมหรือ คิดไมถึงลงไป ซึ่งเด็กก็จะยอมรับวาครูคิดดวยจะรอบคอบกวาการยอมรับ การ รับฟงและความเปนผูนำกลุมก็กำลังเริ่มขึ้นทีละเล็กละนอยเชนกัน การเฝาดูแลขณะเรียนวิชาตาง ๆ อยางใกลชิด ไมวาจะไปเรียนพละ หรือการงานอาชีพและเทคโนโลยี เพื่อสังเกตพฤติกรรมในชวงเวลาตาง ๆ จนเรา เหมือนเปนสวนหนึ่งของพวกเขาไปดวย ถาวันไหนเราแอบดูพวกเขาอยู โดยเขา ไมเห็นเราเขาก็จะมองหา และเมื่อเห็นเราพวกเขาก็จะยิ้มดวยความดีใจที่เราอยู ใกล ๆ การเฝาดูอยางใกลชิดนี้ทำใหเค เอ็ม และโอ หาโอกาสแหยซีไดยาก ไปดวยในการไปเฝาดูแลพวกเขาอยาทำใหพวกเขารูสึกวาเราไปจับผิด แตใหเขารู วาเราไปดูเขาดวยความรัก ความหวงใยพวกเขา ซึ่งพวกเขาจะรับรูไดจากทาทาง และสายตาของเรา อยูบนความยุติธรรม ขอนี้สำคัญมาก เด็ก ๆ ตองการไดความรัก จากครูเทาเทียมกัน ดังนั้น ไมวาการกระทำใด ๆ ของครูตอนักเรียนทุกคน ในชั้ น เรี ย นต อ งอยู บ นความเสมอภาคเท า เที ย มกั น ใช ก ฎ ระเบี ย บ หรื อ การ ทำโทษเหมือน ๆ กัน จะทำใหเด็กพอใจและรูถึงความยุติธรรมและความถูกตอง ของครู เปนการสรางความศรัทธาในตัวครูอยางยิ่ง 9 AW_child story#file.indd 9 9/13/12 11:54:10 PM
  • 10. อยูบนเหตุผล และขอตกลง ครูตองใหโอกาสนักเรียนแสดงถึงเหตุผล ที่นักเรียนคิดหรือทำสิ่งตาง ๆ และสั่งสอน หรือตักเตือนนักเรียนดวยเหตุผล และเมตตาธรรมเสมอ 2. ชักจูงกลุมใหรูสึกเห็นใจและเขาใจซี เมื่อเราเปนผูนำกลุมแลว เราก็เริ่ม ชักจูงใหเด็ก ๆ เขาใจพฤติกรรมของซี และเห็นอกเห็นใจซีมากกวารังเกียจ ซึ่ง เด็กสวนใหญเมือยอมรับในความเปนผูนำของเราแลวเราจะสลายความคิดทีผด ๆ ่  ่ ิ หรือถายทอดกันมาจากเพือนๆ ไดงาย และยอมรับในซีมากขึน แตไมถงกับชวนซี ่  ้ ึ เลนดวย แตเลิกที่จะจองจับผิด หรือแหยซี อีกทั้งเปนการแยกนักเรียนสวนใหญ ออกมาจากเดิมที่เคยเปนแนวรวมของเค เอ็ม และโอ โดยเค เอ็ม และโอไมรูตัว และทั้งสามก็ยอมรับเราดวย สำหรับการแกปญหาซีนั้นผมจะใชเวลาพูดคุยกับซีในชวงเวลาพักตาง ๆ ทำใหผมไดรูจักซีมากขึ้น และทำใหซีไดฝกพูดสนทนา รูจักใชภาษาเพื่อการ สื่อสาร มีความเชื่อมั่นในการสื่อสาร กลาแสดงความคิดเห็นมากขึ้นเพราะรูวา มี ค นตั้ ง ใจฟ ง และรู ว า มี ผ มเป น เพื่ อ นไม ได อ ยู ในโลกส ว นตั ว เช น เคย และรู สึ ก ปลอดภัยจากการถูกแกลงดวย ซึ่งสอดคลองกับเรฟฟนี (1993) ไดเสนอแนะ แนวทางในการพัฒนาการเห็นคุณคาในตนเองโดยครูจะตองเรียนรูลักษณะพิเศษ ของนักเรียนแตละคนและใหความเอาใจใสในลักษณะพิเศษนั้น ๆ ของนักเรียน แตละคน และใหความเอาใจใสในลักษณะพิเศษนั้น ๆ ของนักเรียน ดังนั้น ผม ไมตองดุซี หรือใชความรุนแรงกับซีเพื่อใหซีเชื่อฟงผม แตผมใชการพูดกับซีได โดยงาย แตในบางครั้งซีอารมณไมดี ซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุทางบานหรือถูกเพื่อน แกลงซีจะไมฟงผม ผมก็จะไมฝนเอาชนะซี แตจะปลอยซีสกพักจนอารมณทรอนแรง   ั ี่  10 AW_child story#file.indd 10 9/13/12 11:54:10 PM