SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทน�ำ


	           พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543 (ใช้บังคับตั้งแต่ 22 กรกฎาคม 2543)
	           1.	 เจตนารมณ์ ข องกฎหมายฉบั บ นี้ อาจสรุ ป จากเหตุ ผ ล1 ในการประกาศใช้
พระราชบัญญัติ ได้ดังนี้
		 1.1	 เพื่อปรับปรุงมาตรการทางกฎหมาย เนื่องจากประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่
286 มีข้อบกพร่องบางประการ จึงจ�ำเป็นต้องแก้ไขปรับปรุงให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์
ที่เปลี่ยนแปลง (ยุคโลกาภิวัตน์) เช่น ที่ดินมีหนังสือรับรองการท�ำประโยชน์ (น.ส. 3 หรือ น.ส. 3ก.) ก็
ขอจัดสรรได้ตามมาตรา 23 (1) การให้จัดท�ำหนังสือรับรองจากผู้จัดสรรที่ดินว่าจะจ่ายเงินตามจ�ำนวน
ที่ขาด จนครบ กรณีเงินค�้ำประกันไม่เพียงพอตามมาตรา 24 วรรคสาม ให้โอกาสโฆษณาโครงการ
จัดสรรที่ดินได้ก่อนรับอนุญาตจัดสรรที่ดินตามมาตรา 29 สัญญาจะซื้อจะขายต้องท�ำตามแบบที่
คณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางก�ำหนด (มาตรา 34) ให้ผู้จัดสรรที่ดินท�ำสัญญาค�้ำประกันการบ�ำรุง
รักษาสาธารณูปโภคตามมาตรา 43 วรรคสอง การบ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภคโดยนิติบุคคลหมู่บ้าน
จัดสรร (มาตรา 44, 45) การให้อ�ำนาจคณะกรรมการจัดสรรที่ดิน (ได้แก่ คณะกรรมการจัดสรร
ทีดนกรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการจัดสรรทีดนจังหวัด) สังผูจดสรรทีดนกรณีฝาฝืนหรือไม่ปฏิบติ
  ่ิ                                               ่ิ         ่ ้ั     ่ิ        ่              ั
ตามมาตรา 52 เป็นต้น
		 ่อคุ้มครองผู้ซื้อ ใน 2 เรื่องหลัก คือ
                1.2	 เพื
			 ก.	 การได้สิทธิในที่ดินจัดสรร มีหลักประกันอย่างน้อย 3 ประการ คือ
				ประการแรก ผู้ขอจัดสรรที่ดินจะต้องมีชื่อเป็นเจ้าของในเอกสารสิทธิที่ดินที่ขอ
จัดสรรในขณะยื่นค�ำขอตามมาตรา 23 (1) ซึ่งอาจเป็นโฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองการท�ำประโยชน์
ก็ได้ เพื่อป้องกันมิให้ผู้ประกอบการจับเสือมือเปล่า

	 1	 เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543
		 เนื่องจากประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 286 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 ซึ่งเป็นกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการ
จัดสรรที่ดิน ได้ประกาศใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว มีหลักการและรายละเอียดไม่เหมาะสมหลายประการ สมควรแก้ไขปรับปรุงเพื่อ
ก�ำหนดมาตรการในการคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรร โดยเฉพาะการได้สิทธิในที่ดินจัดสรรและการก�ำหนดให้มีผู้รับผิดชอบบ�ำรุงรักษา
สาธารณูปโภคและบริการสาธารณะ นอกจากนั้น เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการด�ำเนินธุรกิจการจัดสรรที่ดินจึงได้กระจายอ�ำนาจการ
อนุญาตและการควบคุมดูแลการจัดสรรที่ดินไปสู่ระดับจังหวัด และก�ำหนดเวลาในการพิจารณาอนุญาตให้แน่นอนจึงจ�ำเป็นต้องตรา
พระราชบัญญัตินี้
2 นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร

				ประการทสอง ถามหนจำนองหรอบรมสทธิ ใหถอวาทดนแปลงยอยเปนประกน
                                        ี่      ้ ี ี้ � ื ุิ ิ      ้ ื ่ ี่ ิ       ่ ็          ั
หนี้ดังกล่าวเฉพาะตามจ�ำนวนเงินที่ระบุไว้ตามมาตรา 30 ซึ่งไม่ต้องรับภาระหนี้ทั้งหมดตามมูลหนี้
เดิม และผู้ซื้อมีสิทธิช�ำระหนี้โดยตรงต่อเจ้าหนี้ได้ โดยให้ถือว่าเป็นการช�ำระราคาที่ดินส่วนหนึ่งด้วย
(มาตรา 36) ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ซื้อที่ดินจัดสรรขอโอนแปลงย่อยได้โดยปลอดจ�ำนองหรือบุริมสิทธิ
				ประการที่สาม เมื่อผู้ซื้อได้ช�ำระราคาครบตามสัญญาแล้ว ให้ถือว่าที่ดินนั้น
พนจากการยดหรออายดทงปวง และใหผซอมสทธไปขอจดทะเบยนโอนฝายเดยวไดตามมาตรา 37 เปนตน
  ้          ึ ื ั ั้                      ้ ู้ ื้ ี ิ ิ      ี       ่ ี ้                    ็ ้

			 ข.	 การก�ำหนดให้มผรบผิดชอบบ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภคและการบริการสาธารณะ
                                       ี ู้ ั
(มาตรา 43) โดยมีหลักการดังนี้
				ประการแรก สาธารณูปโภคที่จัดให้มีขึ้น ตกเป็นภาระจ�ำยอมของที่ดินแปลง
ย่อยโดยผลของกฎหมาย และจะกระท�ำการใดอันเป็นเหตุให้ประโยชน์แห่งภาระจ�ำยอมลดไปหรือ
เสื่อมความสะดวกมิได้
				ประการทสอง ใหเ้ ปนหนาทของผจดสรรทดน ทจะตองบำรงรกษาสาธารณปโภค
                                ี่            ็ ้ ี่ ู้ ั   ี่ ิ ี่ ้ � ุ ั           ู
ดังกล่าว ให้คงสภาพดังเช่นที่ได้จัดท�ำขึ้นนั้นต่อไป (อย่างน้อย 1 ปี) จนกว่าจะพ้นหน้าที่ตามที่
กฎหมายก�ำหนด
				ประการที่สาม ให้ผู้จัดสรรที่ดินจัดหาธนาคาร หรือสถาบันการเงินมาท�ำ
สัญญาค�้ำประกันการบ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภค และยังอยู่ในความรับผิดชอบในการบ�ำรุงรักษาของ
ผู้จัดสรรที่ดินต่อไปจนกว่าจะพ้นหน้าที่
				ประการที่สี่ ถ้าผู้จัดสรรที่ดินต้องการจะพ้นจากหน้าที่ดังกล่าว อาจโอนให้นิติ
บุคคลหมู่บ้านจัดสรรท�ำหน้าที่แทนได้ตามมาตรา 44 และ 45
		 ่อส่งเสริมธุรกิจการจัดสรรที่ดิน นอกจากจะคุ้มครองผู้ซื้อแล้ว ในขณะเดียวกัน
               1.3	 เพื
ก็ต้องส่งเสริมธุรกิจการจัดสรรที่ดินของผู้ประกอบการด้วย เพื่อให้เกิดความคล่องตัว และสะดวก
รวดเร็วในการด�ำเนินการ โดย
			 ก.	 กระจายอ�ำนาจการอนุญาต และการควบคุมดูแลการจัดสรรที่ดินไปสู่ระดับ
จังหวัด โดยให้มีคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัดทุกจังหวัด (มาตรา 13) และให้มีอ�ำนาจหน้าที่
พิจารณาและออกใบอนุญาตจัดสรรที่ดินได้ตามมาตรา 14
			 ข.	 ก�ำหนดเวลาในการพิจารณาอนุญาตให้แน่นอน เช่น
3 พจน์ สุขมหา

				 		 ให้คณะกรรมการจัดสรรที่ดินพิจารณาแผนผังโครงการ และวิธีการในการ
                     ●


จัดสรรที่ดินให้แล้วเสร็จภายใน 45 วันนับแต่วันที่เจ้าพนักงานที่ดินรับค�ำขอ ถ้าไม่พิจารณาให้แล้ว
เสร็จภายในก�ำหนดโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้ถือว่าได้ให้ความเห็นชอบแล้วตามมาตรา 25
				 		 กรณีคณะกรรมการจัดสรรที่ดินไม่เห็นชอบ หรือมีค�ำสั่งไม่อนุญาต ผู้ขอ
                     ●


จัดสรรที่ดินมีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางได้ ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ทราบ
ค�ำสั่ง และคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางต้องพิจารณาอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายใน 60 วันนับแต่
วันได้รับอุทธรณ์ ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ดังกล่าวให้เป็นที่สุด (มาตรา 26)
				 เพื่อให้เห็นภาพรวมโปรดศึกษาโครงสร้างของกฎหมายฉบับนี้ ในหน้าถัดไป
4 นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร

                                                     พ.ร.บ.การจัดสรรที่ดิน
        โครงสร้าง                                    (ใช้บังคับ 22 ก.ค. 2543)                                  พ.ศ. 2543
               เจตนารมณ์                                   มาตรการขับเคลื่อน                                          เป้าหมายสุดท้าย

➊ คุ้มครองผู้ซื้อ                                        นวัตกรรมทางกฎหมาย                                          ผู้ซื้อได้สิ่งที่ต้องการ
●   	 การได้สิทธิในที่ดินจัดสรร     	 หลักพร้อมโอนโดยปลอดหนี้ ผจดสรรตองมชอในเอกสารสทธขณะยนคำ�ขอ
                                     ●                               ู้ ั   ้ ี ่ื           ิ ิ     ่ื       ● 	 ได้รับโอนที่ดินหรือที่ดินพร้อมสิ่ง
                                 ถ้ามีหนี้ต้องเฉลี่ยหนี้ตามเนื้อที่แปลงย่อยตาม ม. 23 (1) และ (2) และต้องโอน   ปลูกสร้าง โดยปลอดหนี้และภาระ
                                 โดยปลอดหนี้และภาระผูกพัน (ม. 30, 33)                                         ผูกพัน
●	 การคุ้มครองสาธารณูปโภคและ     ●	 สร้างภูมิคุ้มกันด้วยเกราะ 3 ชั้น ตามหลักทรัพยสิทธิ (ม. 43) โดย (1)        ●	 มีสิทธิใช้ประโยชน์ในที่ดิน
บริการสาธารณะ (ให้สมประโยชน์ ให้ตกเป็นภาระจำ�ยอม (2) ผู้จัดสรรมีหน้าที่บำ�รุงรักษาคนแรก (3) ห้ามทำ�ให้        สาธารณูปโภคและบริการสาธารณะ
ตามที่จัดให้มี)                  ภาระจำ�ยอมลด หรือเสือมความสะดวกพร้อมมาตรการบังคับ คือ ถ้าฝ่าฝืนหรือ
                                                          ่                                                   ตลอดไป
                                 ทำ�ผิดผังให้บังคับตาม ม. 52 และ 65
●	 การบำ�รุงรักษาสาธารณูปโภค     ●	 จัดหาตัวช่วยได้ตามบันได 3 ขั้น โดยผู้จัดสรรที่ดินรับหน้าที่คนแรกพร้อม     ●  	 มีผู้บำ�รุงรักษาให้คงสภาพดังเช่น
และบริการสาธารณะ (ให้ใช้ได้อย่าง ค�้ำบ�ำรุง (ม. 43) จนกว่าจะพ้นหน้าที่เมื่อด�ำเนินการโดยล�ำดับตาม ม. 44 คือ   ที่ได้จัดทำ�ขึ้น โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ยั่งยืน)                         (1) ตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร (2) บ�ำรุงรักษาตามวิธีที่คณะกรรมการจัดสรร    เว้นแต่ค่าใช้บริการสาธารณะ อัตราที่
                                 อนุมัติ (3) จดทะเบียนโอนให้เป็นสาธารณประโยชน์                                คณะกรรมการเห็นชอบ(ม. 53)
➋ ส่งเสริมธุรกิจ                                           หลักกระจายอำ�นาจ                                       ผู้จัดสรรได้รับบริการที่ดี
		 การจัดสรรที่ดิน
● 	 เกณฑ์การพิจารณาอนุญาตต้อง ●	 คณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัด มีอำ�นาจหน้าที่ออกข้อกำ�หนด ตาม                ●   	 สะดวก รวดเร็ว ภายใต้ข้อกำ�หนด
เหมาะสมกับสภาพท้องที่ และคล่อง ม. 14 (1) ให้เหมาะสมกับสภาพท้องที่ (ม. 16) และออกใบอนุญาตได้เองตาม             ที่ ส อดคล้ อ งกั บ สภาพท้ อ งที่ แ ต่ ล ะ
ตัว                            ม. 14 (2)                                                                      จังหวัด
●	 ขั้นตอนดำ�เนินการและการ     ●	 กำ�กับด้วยกรอบเวลาตั้งแต่ยื่นคำ�ขอจนออกใบอนุญาตอย่างชัดเจนพร้อม             ●	 โปร่งใส เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ
พิจารณาต้องชัดเจนและเสมอภาค สิทธิอุทธรณ์ ถ้าไม่พิจารณาให้เสร็จตามที่กฎหมายกำ�หนด (45 วัน) ให้ถือว่า           ไม่ว่าจะเป็นที่ดินมีโฉนดหรือหนังสือ
                               ให้ความเห็นชอบ (ม. 25–28)                                                      รับรองการทำ�ประโยชน์ก็ตาม
➌	ปรับปรุงมาตรการทาง	                                         หลักโลกาภิวัตน์                                        เพิ่มประสิทธิภาพ
		 กฎหมาย                                                                                                                สู่เป้าหมาย
●	 การยื่นคำ�ขออนุญาตจัดสรรและ ●	 ผู้ขอต้องมีชื่อเป็นเจ้าของที่ดินโดยปลอดบุริมสิทธิตาม ม. 23 (1) และ          ● 	 เพื่อค้มครองผ้ซ้อและอำ�นวยความ
                                                                                                                         ุ      ูื
การอุทธรณ์                     ให้คณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัดพิจารณาอนุญาต ถ้าไม่อนุญาตมีสิทธิ              สะดวกรวดเร็วแก่ผู้ประกอบธุรกิจการ
                               อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางได้ (ม. 26)                                จัดสรรที่ดิน ให้มีความคล่องตัว เพื่อ
●	 การแบ่งแยกเป็นแปลงย่อย      ●	 แปลงสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะต้องปลอดหนี้และภาระผูกพัน                    พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจควบคู่กัน
                               ถ้ามีหนี้ให้ระบุยอดหนี้ตามเนื้อที่แปลงย่อย (ม. 30) และขอแบ่งได้ก่อนออก         ไปในลักษณะยั่งยืน
                               ใบอนุญาตเมื่อได้รับอนุมัติแผนผังโครงการจากคณะกรรมการแล้ว
                                                                                                              หมายเหตุ :
●	 การโฆษณาและจำ�หน่าย         ●	 ขายและโฆษณาโครงการก่อนออกใบอนุญาตได้ แต่ต้องตรงกับคำ�ขอ
                                                                                                              	 1. ถนนในโครงการที่จัดสรรยังไม่
                               (ม. 29, 61) สัญญาจะซื้อจะขายต้องทำ�ตามแบบที่คณะกรรมการจัดสรร                   แล้วเสร็จก่อน ปว. 286 อาจตกเป็น
                               ที่ดินกลางกำ�หนด (ม. 34, 63) แต่จะโอนก่อนออกใบอนุญาตไม่ได้ (ม. 21,             ภาระจำ�ยอมได้ ถ้าได้ยื่นรายการตาม
                               59)                                                                            ข้อ 32 ภายใน 60 วัน นับแต่วันที่
●	 การชำ�ระราคาและการโอน       ●	 ต้องออกใบเสร็จ เมื่อมีการชำ�ระเงินตาม ม. 35, 64 ถ้ามีหนี้รายอื่น ผู้ซื้อ    ปว. 286 ใช้บังคับ (28 ม.ค. 2516)
                               มีสิทธิชำ�ระหนี้โดยตรงต่อเจ้าหนี้และให้ถือว่าเป็นการชำ�ระราคาส่วนหนึ่ง         เทียบคำ�พิพากษาศาลปกครองสูงสุด
                               ด้วย (ม. 36) เมื่อชำ�ระครบให้ถือว่าพ้นจากการยึดอายัดและขอโอนฝ่ายเดียว          ที่ อ. 206-209/2549
                               ได้ตาม ม. 37                                                                   	 2. สาธารณูปโภคในโครงการ
●	 การบำ�รุงรักษาสาธารณูปโภค   ●	 ระบุตัวผู้มีหน้าที่พร้อมระบบการค�้ำประกันการบ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภค          จัดสรรที่ไม่ได้ขออนุญาตอาจตก
และบริการสาธารณะ               และให้คงหน้าที่ไว้จนกว่าจะพ้นหน้าที่ (ม. 43) แต่อาจถ่ายโอนหน้าที่ได้ตาม        เป็นภาระจำ�ยอมได้ ถ้าดำ�เนินการ
                               บันได 3 ขั้น (ม. 44)                                                           ครบองค์ประกอบของกฎหมาย
●	 มาตรการบังคับเกี่ยวกับ      ●	 ถ้ามีผู้จัดสรรก่อผลกระทบต่อสาธารณูปโภคใน 2 กรณี ตาม ม. 52 ให้
                                                                                                              จัดสรร ตามนัยคำ�พิพากษาฎีกาที่
สาธารณูปโภค                    ฝ่ายบริหารใช้อำ�นาจทางปกครองและทางอาญากับผู้จัดสรรได้ทั้งรายใหม่               5553/2537, 1112/2542
                               (ม. 52, 65) และรายเก่า (ม. 70 วรรคหนึ่ง)
●	 มาตรการเยียวยาเกี่ยวกับการ  ●	 ให้นำ�ระบบนิตบคคลหมูบานจัดสรร มาใช้กบการจัดสรร ตามประกาศของ
                                                  ิ ุ      ่ ้               ั
บำ�รุง รักษาสาธารณูปโภคตาม     คณะปฏิวัติ ฉบับที่ 286 ได้ใน 2 กรณี คือ เมื่อผู้จัดสรรต้องการพ้นหน้าที่
กฎหมายเก่า                     (ม. 70 วรรคสาม) และกรณีผู้จัดสรรไม่ปฏิบัติหน้าที่บำ�รุงรักษาตาม ม. 70
                               วรรคสี่
5 พจน์ สุขมหา

	            2.	 ความหมายของการจัดสรรที่ดิน
		 กฎหมายฉบับนี้ได้ให้ค�ำนิยามไว้ว่า “การจัดสรรที่ดิน” หมายความว่า การจ�ำหน่าย
ที่ดินที่ได้แบ่งเป็นแปลงย่อยรวมกันตั้งแต่สิบแปลงขึ้นไป ไม่ว่าจะเป็นการแบ่งจากที่ดินแปลงเดียว
หรือแบ่งจากที่ดินหลายแปลงที่มีพื้นที่ติดต่อกัน โดยได้รับทรัพย์สินหรือประโยชน์เป็นค่าตอบแทน
และให้หมายรวมถึงการด�ำเนินการดังกล่าวที่ได้มีการแบ่งที่ดินเป็นแปลงย่อยไว้ไม่ถึงสิบแปลง และ
ต่อมาได้แบ่งที่ดินแปลงเดิมเพิ่มเติมภายในสามปีเมื่อรวมกันแล้วมีจ�ำนวนตั้งแต่สิบแปลงขึ้นไปด้วย
	            จากนิยามดังกล่าวจึงต้องมีองค์ประกอบหลัก 3 ประการ คือ
	            	 2.1	 มีการแบ่งเป็นแปลงย่อยตั้งแต่ 10 แปลงขึ้นไป ไม่ว่าจะแบ่งจากที่ดินแปลงเดียว
หรือหลายแปลงที่มีพื้นที่ตดต่อกัน (อาจเป็นที่ดนมีโฉนดหรือหนังสือรับรองการท�ำประโยชน์ ก็ได้) และ
                          ิ                     ิ
ไม่ค�ำนึงถึงวัตถุประสงค์ในการใช้ประโยชน์ที่ดิน
		 จากหลักการนี้ การจัดสรรที่ดินในลักษณะสวนเกษตร ซึ่งแต่เดิมไม่อยู่ในความควบคุม
ของกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน ก็จะต้องขออนุญาตจัดสรรที่ดินตามกฎหมายฉบับนี้ด้วย
		 วงเวลาการแบ่งแยก ต้องเป็นการแบ่งแยกภายใน 3 ปี จะแบ่งกี่ครั้งก็ตาม เมื่อ
                 2.2	 ช่
รวมกันแล้ว มีจ�ำนวนตั้งแต่ 10 แปลงขึ้นไป (ก�ำหนดเวลา 3 ปี ก็เพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขการค้า
ที่ดินตามมาตรา 102 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ที่จะต้องจ�ำหน่ายให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี) ปัจจุบัน
การค้าที่ดินตามมาตรา 101 และ 102 ยกเลิกโดยมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2551
		 การจ�ำหน่ายโดยได้รับทรัพย์สินหรือประโยชน์เป็นค่าตอบแทน กล่าวคือ
                 2.3	 มี
ต้องเป็นการจ�ำหน่ายในเชิงธุรกิจการค้าที่มุ่งรับเงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดเป็นค่าตอบแทน
และการจ�ำหน่ายมิได้หมายเฉพาะการขายเท่านั้นอาจเป็นการโอนโดยวิธีใดก็ได้ ถ้ามีผลเป็นการโอน
ความเป็นเจ้าของโดยมีค่าตอบแทน
		 อย่างไรก็ตาม ถ้ามีการแบ่งตั้งแต่ 10 แปลงขึ้นไป กฎหมายให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็น
การจัดสรรที่ดิน เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่ามิใช่แบ่งเพื่อการจัดสรรที่ดิน ตามมาตรา 22 เช่น แบ่งให้ทายาท
แบ่งให้ระหว่างญาติพี่น้อง หรือแบ่งเพื่อให้เช่า หรือเป็นกรณียกเว้นตามมาตรา 5
		 ดังนั้น สาระส�ำคัญของการจัดสรรที่ดินตามกฎหมายฉบับนี้จึงขึ้นอยู่กับจ�ำนวนแปลง
ย่อย ช่วงเวลาแบ่งแยก และวัตถุประสงค์ของการจ�ำหน่ายที่มุ่งเพื่อประโยชน์ในทางการค้าหาก�ำไร
เป็นส�ำคัญ มิได้เน้นการปรับปรุงหรือพัฒนาที่ดินด้านสาธารณูปโภค หรือบริการสาธารณะเหมือนการ
จัดสรรที่ดินตามนัยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 286 แต่โดยพฤตินัย ผู้ประกอบการจ�ำเป็น
6 นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร

ต้องพัฒนาและจัดให้มีสาธารณูปโภค และบริการสาธารณะอยู่ดี ทั้งนี้เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้
ประโยชน์ที่ดินจัดสรร และด้านการตลาดเพื่อจูงใจผู้ซื้อ ซึ่งจะต้องระบุรายละเอียดและรายการ
ต่าง ๆ ตามมาตรา 23 (4) และต้องเป็นไปตามมาตรฐานในข้อก�ำหนดของคณะกรรมการจัดสรร
ที่ดินจังหวัดนั้น ๆ
	          3.	 ข้อยกเว้นที่ไม่ต้องขออนุญาตจัดสรรที่ดิน ตามมาตรา 5 มี 2 กรณี คือ
		 3.1	 กรณีด�ำเนินการโดยหน่วยงานของรัฐที่ท�ำการจัดสรรที่ดินตามกฎหมายเฉพาะ
ซึ่งอาจเป็นหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่นของ
รัฐก็ได้ ถ้าหน่วยงานนั้นมีอ�ำนาจหน้าที่ท�ำการจัดสรรที่ดินตามกฎหมายที่ก�ำหนดไว้โดยเฉพาะ
เช่น การเคหะแห่งชาติ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นต้น
		 ด้วยเหตุนี้ การจัดสรรที่ดินเพื่อสวัสดิการข้าราชการไม่ว่าจะด�ำเนินการโดยหน่วยงาน
นั้นเองหรือโดยเอกชนในนามของส่วนราชการใดก็ตาม ย่อมอยู่ในบังคับกฎหมายจัดสรรทั้งสิ้น
(เทียบฎีกาที่ 85/2540)
		 3.2	 กรณีเป็นการจัดสรรที่ดินที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายอื่น เหตุผลที่ยกเว้นก็เพราะ
กรณีดังกล่าว ย่อมจะต้องมีการควบคุม ก�ำกับดูแลตามกฎหมายเฉพาะนั้น ๆ อยู่แล้ว จึงไม่มีความ
จ�ำเป็นที่จะต้องควบคุมซ�้ำซ้อนโดยกฎหมายนี้อีก ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นกรณีที่ด�ำเนินการโดยเอกชน
เช่น พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 แต่ถ้าการนิคมอุตสาหกรรม
แห่งประเทศไทย (กนอ.) เป็นเพียงผู้ถือหุ้นในบริษัทเอกชน ก็ต้องขออนุญาตจัดสรรตามกฎหมาย
(ความเห็นของส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ 11/2546)
	           4.	 มาตรการป้องกันการจัดสรรที่ดินนอกระบบ (มาตรา 22)
		 4.1	 กรณีการแบ่งแยกที่ดินมีจ�ำนวนตั้งแต่ 10 แปลงขึ้นไป กฎหมายให้สันนิษฐาน
ไว้ก่อนว่าเป็นการจัดสรรที่ดินทุกกรณี แต่เป็นข้อสันนิษฐานในลักษณะเปิด คือไม่เด็ดขาด โดย
เปิดโอกาสให้ผู้ขอแบ่งแยกพิสูจน์ให้ได้ว่ามิใช่แบ่งเพื่อการจัดสรรที่ดิน ถ้ามีเหตุผลหรือหลักฐาน
น่าเชื่อ จึงจะด�ำเนินการรังวัดแบ่งแยกให้ต่อไป หากไม่อาจแสดงให้เป็นที่เชื่อถือได้ว่ามิใช่เป็นการ
แบ่งเพื่อการจัดสรรที่ดิน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งให้ผู้ขอด�ำเนินการยื่นขออนุญาตจัดสรรที่ดินก่อน
และให้รอเรื่องรังวัดแบ่งแยกไว้
		 4.2	 หากผู้ขอแบ่งแยกไม่เห็นด้วย ให้อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัด
หรือคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกรุงเทพมหานครแล้วแต่กรณี ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
7 พจน์ สุขมหา

และคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจะต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ภายใน 45 วันนับแต่วันที่คณะกรรมการ
จัดสรรที่ดินได้รับอุทธรณ์ ถ้าคณะกรรมการจัดสรรที่ดิน มิได้มีค�ำวินิจฉัยภายในก�ำหนดเวลา
45 วันดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ด�ำเนินการเรื่องแบ่งแยกที่ดินนั้นต่อไป เมื่อคณะกรรมการ
มีค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์เป็นประการใด ให้แจ้งค�ำวินิจฉัยเป็นหนังสือให้ผู้อุทธรณ์ทราบภายใน 7 วัน
นับแต่วันที่คณะกรรมการมีค�ำวินิจฉัย ค�ำวินิจฉัยของคณะกรรมการดังกล่าวให้เป็นที่สุด แต่สิ้นสุด
ทางฝ่ายบริหารระดับต้นเท่านั้น มิได้ตัดสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางตาม
มาตรา 8 (5) หรือสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครองแต่อย่างใด เพราะการไม่อนุญาตให้ท�ำการรังวัดแบ่ง
แยกที่ดิน เนื่องจากผลของการวินิจฉัยอุทธรณ์ ย่อมเป็นการใช้อ�ำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่
ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิทธิของบุคคล
จึงเป็นการออกค�ำสั่งทางปกครองตาม พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ผู้ขอย่อม
มีสิทธิอุทธรณ์ได้
	          จึงต้องแจ้งสิทธิอุทธรณ์ตามมาตรา 402 หรือสิทธิการฟ้องคดีปกครองตามมาตรา 503
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ในหนังสือแจ้งด้วย
	          5.	 การขออนุญาตจัดสรรที่ดิน (มาตรา 21–30)
		 5.1	 ห้ามมิให้ผู้ใดท�ำการจัดสรรที่ดิน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ
จัดสรรที่ดิน หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษสองสถานตามมาตรา 59 คือ จ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับตั้งแต่
สี่หมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท (ทั้งจ�ำทั้งปรับ)



	 2	 มาตรา 40 ค�ำสั่งทางปกครองที่อาจอุทธรณ์หรือโต้แย้งต่อไปได้ ให้ระบุกรณีที่อาจอุทธรณ์หรือโต้แย้ง การยื่นค�ำ
อุทธรณ์หรือค�ำโต้แย้ง และระยะเวลาส�ำหรับการอุทธรณ์หรือการโต้แย้งดังกล่าวไว้ด้วย
		 ในกรณีที่มีการฝ่าฝืนบทบัญญัติตามวรรคหนึ่ง ให้ระยะเวลาส�ำหรับการอุทธรณ์ หรือการโต้แย้งเริ่มนับใหม่ ตั้งแต่วันที่ได้รับ
แจ้งหลักเกณฑ์ตามวรรคหนึ่ง แต่ถ้าไม่มีการแจ้งใหม่และระยะเวลาดังกล่าวมีระยะเวลาสั้นกว่าหนึ่งปี ให้ขยายเป็นหนึ่งปีนับแต่
วันที่ได้รับค�ำสั่งทางปกครอง
	 3	 มาตรา 50 ค�ำสั่งใดที่อาจฟ้องต่อศาลปกครองได้ ให้ผู้ออกค�ำสั่งระบุวิธีการยื่นค�ำฟ้องและระยะเวลาส�ำหรับยื่นค�ำฟ้อง
ไว้ในค�ำสั่งดังกล่าวด้วย
		 ในกรณีที่ปรากฏต่อผู้ออกค�ำสั่งใดในภายหลังว่า ตนมิได้ปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้นั้นด�ำเนินการแจ้งข้อความซึ่งพึง
ระบุตามวรรคหนึ่งให้ผู้รับค�ำสั่งทราบโดยไม่ชักช้า ในกรณีนี้ให้ระยะเวลาส�ำหรับยื่นค�ำฟ้องเริ่มนับใหม่นับแต่วันที่ผู้รับค�ำสั่งได้
รับแจ้งข้อความดังกล่าว
		 ถ้าไม่มีการแจ้งใหม่ตามวรรคสองและระยะเวลาส�ำหรับยื่นค�ำฟ้องมีก�ำหนดน้อยกว่าหนึ่งปี ให้ขยายระยะเวลาส�ำหรับ
ยื่นค�ำฟ้องเป็นหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับค�ำสั่ง
8 นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร

		 อนึ่ง กฎหมายฉบับนี้ให้โอกาสโฆษณาโครงการจัดสรรที่ดินก่อนได้ (ซึ่งแตกต่าง
จากประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 286 โดยห้ามโฆษณาก่อนได้รับอนุญาตจัดสรรที่ดิน) แต่
ข้อความในโฆษณาจะต้องตรงกับหลักฐานและรายละเอียดที่ก�ำหนดไว้ในค�ำขออนุญาตจัดสรร
ที่ดินด้วย (มาตรา 29)
		 หากฝ่าฝืนมาตรา 29 คือ โฆษณาไม่ตรงกับที่ยื่นค�ำขอต้องระวางโทษปรับตั้งแต่
ห้าหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท (มาตรา 61)
		 ด้วยเหตุนี้ในทางปฏิบัติ กรมที่ดินจึงอนุญาตให้มีการออกโฉนดแปลงย่อย (แบ่งในนาม
เดิม) ก่อนได้ เมือคณะกรรมการจัดสรรทีดนเห็นชอบแผนผังโครงการแล้ว แต่หามน�ำไปจดทะเบียนสิทธิ
                 ่                  ่ิ                             ้
และนิติกรรมใด ๆ ก่อนได้รับใบอนุญาตให้ท�ำการจัดสรรที่ดิน
		 5.2	 การขออนุญาตและออกใบอนุญาต ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไข
ที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง โดยยื่นค�ำขอต่อเจ้าพนักงานที่ดินท้องที่ พร้อมหลักฐานและรายละเอียด
ตามมาตรา 23 แล้วส่งให้คณะกรรมการจัดสรรที่ดินพิจารณาต่อไป ดูรายละเอียดในแผนภูมิการขอ
อนุญาตจัดสรรที่ดินหน้าถัดไป
แผนภูมิการขออนุญาตจัดสรรที่ดิน

    ผู้ขอใบอนุญาตจัดสรรที่ดิน                                       เจ้าพนักงานที่ดิน                                     คณะกรรมการจัดสรรที่ดิน
 	 1.	จัดท�ำแผนผัง โครงการและวิธีการ                  จังหวัดหรือสาขา ท้องที่ที่ดินตั้งอยู่ (ถ้าคาบเกี่ยว          	 1.	 ระยะเวลาพิจารณา ต้องให้แล้วเสร็จ
 จัดสรรทีดน ตามหลักเกณฑ์ในข้อก�ำหนดเกียวกับ
             ่ิ                             ่         หลายจังหวัดให้ยื่นทุกจังหวัด)                                ภายใน 45 วันนับแต่วันเจ้าพนักงานที่ดินสั่ง
 การจัดสรรที่ดิน (มาตรา 16) ของจังหวัดนั้น            	 1.	ตรวจสอบก่อนรับคำ�ขอ                                     รับค�ำขอ ถ้าไม่เสร็จตามก�ำหนดโดยไม่มเหตุผล       ี
 	 2.	ยื่นค�ำขอ จ.ส.1 (ไม่น้อยกว่า 13 ชุด) ต่อ        		 ก.	 ถ้าหลักฐานไม่ครบถ้วน                                  อันสมควรให้ถือว่าคณะกรรมการจัดสรรที่ดิน
 พร้อมด้วยหลักฐานและรายละเอียดตามมาตรา                        	 -	 ให้ผู้ขอแก้ไขเพิ่มเติมภายใน 15 วันนับ           ให้ความเห็นชอบแล้ว (มาตรา 25) ถ้ามีเหตุผล
 23 (1)–(10) ได้แก่                                   แต่วันรับแจ้ง                                                อันสมควร ให้เจ้าพนักงานที่ดินแจ้งเหตุผลให้
 	 -	 โฉนด หรือ น.ส. 3 ที่มีชื่อผู้ขอเป็นผู้มีสิทธิ   			 -	 ถ้ า ไม่ แ ก้ ไขภายในกำ�หนดหรื อ แก้ ไข               ผู้ขอทราบภายใน 7 วันนับแต่วันครบก�ำหนด
 ในที่ดิน โดยปลอดบุริมสิทธิตาม มาตรา 23 (1)           ไม่ครบถ้วน ให้เจ้าพนักงานทีดนสังไม่รบคำ�ขอ แต่
                                                                                         ่ิ ่ ั                    	 2.	 กรอบการพิจารณา ต้องเป็นไปตาม
 ระบุภาระผูกพันต่าง ๆ ที่บุคคลอื่นมีส่วนได้เสีย       อาจขออุทธรณ์ได้ภายใน 15 วัน ตามมาตรา 444                     กฎหมาย กฎกระทรวง ประกาศหรือนโยบาย
 เกี่ยวกับที่ดินจัดสรร มาตรา 23 (7) และที่ตั้ง        พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539                   การจัดสรรที่ดินของคณะกรรมการจัดสรรที่ดิน
 ส�ำนักงานของผู้ขอ มาตรา 23 (9) พร้อมแผนผัง           		 ข.	 ถ้าหลักฐานครบถ้วน                                     กลาง (คสก.) และข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการ
 สังเขปและผังบริเวณรวมตามข้อก�ำหนด                    			 -	 เจ้าพนักงานที่ดิน สั่งรับคำ�ขอ และลง                  จัดสรรที่ดิน ตามขั้นตอนหลักเกณฑ์และวิธี
 	 -	 กรณีมีบุริมสิทธิในมูลซื้อขายหรือติด             บัญชีคุมเรื่อง (จ.ส.ก. 4) พร้อมแจ้งให้ผู้ขอทราบ              การที่คณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางก�ำหนด
 จ�ำนอง ต้องมีบันทึกข้อความยินยอมให้จัดสรร            		 กรณีสาขาเป็นผู้รับคำ�ขอต้องส่งเรื่องให้                   	 3.	 การค�ำประกัน ถ้าต้องค�ำประกันการจัด
                                                                                                                                    ้                   ้
 จากผูทรงบุรมสิทธิหรือผูรบจ�ำนอง และกระจาย
         ้      ิ          ้ั                         เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดภายใน 2 วันทำ�การนับ                 ให้มีตามมาตรา 24 จะต้องประมาณการค่า
 หนี้สู่ที่ดินแปลงย่อยตามมาตรา 23 (2) และ             แต่วันสั่งรับคำ�ขอ                                           ก่อสร้าง +15% ของราคาก่อสร้างกลาง
 มาตรา 30                                             	 2.	ตรวจสอบก่อนเสนอ                                         (ประกาศฯ ข้อ 3) และค�้ำประกันการบ�ำรุง
 	 -	 แผนผังการแบ่งแปลงที่ดิน แสดงจ�ำนวน              		 เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด ส่งเรื่องให้พนักงาน              รักษาสาธารณูปโภค ตามมาตรา 43 วรรคสอง
 แปลงย่อยและเนื้อที่โดยประมาณ มาตรา 23 (3)            เจ้าหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้อง และรายงาน                      ในอัตราร้อยละ 7 (ประกาศฯ ข้อ 4) และก่อน
 ทั้งนี้ตามเกณฑ์ในข้อก�ำหนดของคณะกรรมการ              ตามแบบบันทึกรายงานผลการพิจารณาตรวจ                           ออกใบอนุญาตจะต้องท�ำสัญญาค�้ำประกันการ
 จัดสรรที่ดิน                                         สอบการขออนุญาตทำ�การจัดสรรที่ดิน ตามที่                      บ� ำ รุ ง รั ก ษาดั ง กล่ า วและหนั ง สื อ รั บ รองตาม
 	 -	 โครงการปรับปรุงที่ดินที่ขอจัดสรร การ            อธิบดีกำ�หนด ก่อนส่งให้คณะกรรมการจัดสรร                      มาตรา 43 ให้แล้วเสร็จ
 จัดให้มีสาธารณูปโภค และบริการสาธารณะรวม              ที่ดินพิจารณา                                                	 4.	 การออกใบอนุญาต เมื่อคณะกรรมการ
 ทั้งการปรับปรุงอื่นตามควรแก่สภาพท้องถิ่น             	 3.	การเสนอคำ�ขอต่อคณะกรรมการจัดสรร                         จัดสรรที่ดินเห็นชอบ ให้เจ้าพนักงานที่ดินเสนอ
 โดยแสดงแผนผัง (ระบบสาธารณูปโภคและ                    ที่ดิน                                                       ใบอนุญาต (จ.ส. 2) ให้ประธานกรรมการลงนาม
 บริการสาธารณะ) รายละเอียดรายการก่อสร้าง              		 ให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดรีบเสนอคำ�ขอให้                ภายใน 7 วันนับแต่วันออกใบอนุญาต
 ประมาณการค่าก่อสร้างและก�ำหนดเวลาที่จะจัด            คณะกรรมการจัดสรรที่ดินพิจารณาโดยเร็ว                         (ประกาศฯ ข้อ 11)
 ท�ำให้แล้วเสร็จ มาตรา 23 (4) ส่วนขนาดและ             		 อนึ่ง การพิจารณาตรวจสอบแผนผัง                             	 5.	 การแจ้งสิทธิอุทธรณ์ กรณี
 มาตรฐาน (สเปก) ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดของ              โครงการและวิธีการจัดสรรที่ดิน และประมาณ                      คณะกรรมการจัดสรรที่ดินไม่เห็นชอบ หรือมี
 คณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัดนั้น ๆ                  การค่าก่อสร้าง พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือ                       ค�ำสั่งไม่อนุญาตให้เจ้าพนักงานที่ดิน แจ้งผล
 	 -	 แผนงานโครงการและระยะเวลาการ                     คณะกรรมการจัดสรรที่ดินหรือบุคคลใดที่                         การพิจารณาให้ผู้ขอทราบภายใน 7 วันนับ
 บ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภค มาตรา 23 (5) ควร              คณะกรรมการแต่งตั้ง จะออกไปตรวจสอบสภาพ                        แต่วันมีมติ พร้อมทั้งแจ้งว่า มีสิทธิอุทธรณ์ต่อ
 ระบุแผนการจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร และ         ที่ดินด้วยก็ได้ [ข้อ 5 ประกาศคณะกรรมการ                      คณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง ภายใน
 การบ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภคต่อไปหลังครบ                จัดสรรที่ดินกลาง (คสก.) เรื่องกำ�หนดขั้นตอน                  30 วันนับแต่วันทราบค�ำสั่ง (ประกาศฯ ข้อ 9)
 ก�ำหนดบ�ำรุงรักษา (ไม่น้อยกว่า 1 ปี หลังท�ำ          หลักเกณฑ์ และวิธีการพิจารณา แผนผังโครงการ
 เสร็จ) จนกว่าจะพ้นหน้าที่ด้วย                        และวิธีการในการจัดสรรที่ดินและการขอแก้ไข                     	 อนึ่ง ในขณะนี้จะแยกขออนุญาตจัดสรร
 	 -	 วิธีการจ�ำหน่ายและการช�ำระราคา หรือ             เปลี่ยนแปลงแผนผังโครงการ]                                    ที่ดินเป็นบางส่วน (เฟส) ไม่ได้ เพราะยังไม่มี
 ค่าตอบแทน มาตรา 23 (6) แบบสัญญาจะซื้อจะ              หมายเหตุ : กรณีมีข้อสงสัยว่าจะเป็นการจัดสรร                  ก�ำหนดในกฎกระทรวง ตามมาตรา 21
 ขายที่ดินจัดสรร มาตรา 23 (8)                         ที่ดินหรือไม่ จะให้โอกาสผู้ขอพิสูจน์ก่อน ถ้าไม่              วรรคสอง
 	 -	 ชื่อธนาคารหรือสถาบันการเงิน ซึ่งจะ              น่าเชื่อจะให้ย่ืนคำ�ขอจัดสรรและรอการแบ่งแยก
 เป็นผู้ค�้ำประกัน ตามมาตรา 24 และมาตรา 43            ไว้ ก่อ นหากผู้ ข อไม่ เ ห็ น ด้ ว ยให้ อุ ท ธรณ์ ต่ อ คณะ
 วรรคสอง มาตรา 23 (10)                                กรรมการจัดสรรทีดนภายใน 30 วันตามมาตรา 22
                                                                          ่ิ
 	 อนึ่ง ถ้าเนื้อที่เกิน 100 ไร่ หรือมีแปลง
 จ�ำหน่ายตั้งแต่ 500 แปลง ต้องจัดท�ำรายงาน
 การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ก่อน



	 4	 มาตรา 44 ภายใต้บงคับมาตรา 48 ในกรณีทคำสังทางปกครองใดไม่ได้ออกโดยรัฐมนตรีและไม่มกฎหมายก�ำหนดขันตอนอุทธรณ์
                              ั                ี่ � ่                                             ี             ้
ภายในฝ่ายปกครองไว้เป็นการเฉพาะ ให้คู่กรณีอุทธรณ์ค�ำสั่งทางปกครองนั้นโดยยื่นต่อเจ้าหน้าที่ผู้ท�ำค�ำสั่งทางปกครองภายในสิบห้าวัน
นับแต่วันที่ตนได้รับแจ้งค�ำสั่งดังกล่าว
		 ค�ำอุทธรณ์ต้องท�ำเป็นหนังสือโดยระบุข้อโต้แย้งและข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่อ้างอิงประกอบด้วยการอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้
ทุเลาการบังคับตามค�ำสั่งทางปกครอง เว้นแต่จะมีการสั่งให้ทุเลาการบังคับตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ง
9789740329893

More Related Content

More from CUPress

9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 
9789740336419
97897403364199789740336419
9789740336419CUPress
 
9789740336402
97897403364029789740336402
9789740336402CUPress
 
9789740336334
97897403363349789740336334
9789740336334CUPress
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327CUPress
 
9789740336181
97897403361819789740336181
9789740336181CUPress
 
9789740336167
97897403361679789740336167
9789740336167CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 
9789740336419
97897403364199789740336419
9789740336419
 
9789740336402
97897403364029789740336402
9789740336402
 
9789740336334
97897403363349789740336334
9789740336334
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327
 
9789740336181
97897403361819789740336181
9789740336181
 
9789740336167
97897403361679789740336167
9789740336167
 

9789740329893

  • 1. บทน�ำ พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543 (ใช้บังคับตั้งแต่ 22 กรกฎาคม 2543) 1. เจตนารมณ์ ข องกฎหมายฉบั บ นี้ อาจสรุ ป จากเหตุ ผ ล1 ในการประกาศใช้ พระราชบัญญัติ ได้ดังนี้ 1.1 เพื่อปรับปรุงมาตรการทางกฎหมาย เนื่องจากประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 286 มีข้อบกพร่องบางประการ จึงจ�ำเป็นต้องแก้ไขปรับปรุงให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ ที่เปลี่ยนแปลง (ยุคโลกาภิวัตน์) เช่น ที่ดินมีหนังสือรับรองการท�ำประโยชน์ (น.ส. 3 หรือ น.ส. 3ก.) ก็ ขอจัดสรรได้ตามมาตรา 23 (1) การให้จัดท�ำหนังสือรับรองจากผู้จัดสรรที่ดินว่าจะจ่ายเงินตามจ�ำนวน ที่ขาด จนครบ กรณีเงินค�้ำประกันไม่เพียงพอตามมาตรา 24 วรรคสาม ให้โอกาสโฆษณาโครงการ จัดสรรที่ดินได้ก่อนรับอนุญาตจัดสรรที่ดินตามมาตรา 29 สัญญาจะซื้อจะขายต้องท�ำตามแบบที่ คณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางก�ำหนด (มาตรา 34) ให้ผู้จัดสรรที่ดินท�ำสัญญาค�้ำประกันการบ�ำรุง รักษาสาธารณูปโภคตามมาตรา 43 วรรคสอง การบ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภคโดยนิติบุคคลหมู่บ้าน จัดสรร (มาตรา 44, 45) การให้อ�ำนาจคณะกรรมการจัดสรรที่ดิน (ได้แก่ คณะกรรมการจัดสรร ทีดนกรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการจัดสรรทีดนจังหวัด) สังผูจดสรรทีดนกรณีฝาฝืนหรือไม่ปฏิบติ ่ิ ่ิ ่ ้ั ่ิ ่ ั ตามมาตรา 52 เป็นต้น ่อคุ้มครองผู้ซื้อ ใน 2 เรื่องหลัก คือ 1.2 เพื ก. การได้สิทธิในที่ดินจัดสรร มีหลักประกันอย่างน้อย 3 ประการ คือ ประการแรก ผู้ขอจัดสรรที่ดินจะต้องมีชื่อเป็นเจ้าของในเอกสารสิทธิที่ดินที่ขอ จัดสรรในขณะยื่นค�ำขอตามมาตรา 23 (1) ซึ่งอาจเป็นโฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองการท�ำประโยชน์ ก็ได้ เพื่อป้องกันมิให้ผู้ประกอบการจับเสือมือเปล่า 1 เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543 เนื่องจากประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 286 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 ซึ่งเป็นกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการ จัดสรรที่ดิน ได้ประกาศใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว มีหลักการและรายละเอียดไม่เหมาะสมหลายประการ สมควรแก้ไขปรับปรุงเพื่อ ก�ำหนดมาตรการในการคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรร โดยเฉพาะการได้สิทธิในที่ดินจัดสรรและการก�ำหนดให้มีผู้รับผิดชอบบ�ำรุงรักษา สาธารณูปโภคและบริการสาธารณะ นอกจากนั้น เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการด�ำเนินธุรกิจการจัดสรรที่ดินจึงได้กระจายอ�ำนาจการ อนุญาตและการควบคุมดูแลการจัดสรรที่ดินไปสู่ระดับจังหวัด และก�ำหนดเวลาในการพิจารณาอนุญาตให้แน่นอนจึงจ�ำเป็นต้องตรา พระราชบัญญัตินี้
  • 2. 2 นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร ประการทสอง ถามหนจำนองหรอบรมสทธิ ใหถอวาทดนแปลงยอยเปนประกน ี่ ้ ี ี้ � ื ุิ ิ ้ ื ่ ี่ ิ ่ ็ ั หนี้ดังกล่าวเฉพาะตามจ�ำนวนเงินที่ระบุไว้ตามมาตรา 30 ซึ่งไม่ต้องรับภาระหนี้ทั้งหมดตามมูลหนี้ เดิม และผู้ซื้อมีสิทธิช�ำระหนี้โดยตรงต่อเจ้าหนี้ได้ โดยให้ถือว่าเป็นการช�ำระราคาที่ดินส่วนหนึ่งด้วย (มาตรา 36) ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ซื้อที่ดินจัดสรรขอโอนแปลงย่อยได้โดยปลอดจ�ำนองหรือบุริมสิทธิ ประการที่สาม เมื่อผู้ซื้อได้ช�ำระราคาครบตามสัญญาแล้ว ให้ถือว่าที่ดินนั้น พนจากการยดหรออายดทงปวง และใหผซอมสทธไปขอจดทะเบยนโอนฝายเดยวไดตามมาตรา 37 เปนตน ้ ึ ื ั ั้ ้ ู้ ื้ ี ิ ิ ี ่ ี ้ ็ ้ ข. การก�ำหนดให้มผรบผิดชอบบ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภคและการบริการสาธารณะ ี ู้ ั (มาตรา 43) โดยมีหลักการดังนี้ ประการแรก สาธารณูปโภคที่จัดให้มีขึ้น ตกเป็นภาระจ�ำยอมของที่ดินแปลง ย่อยโดยผลของกฎหมาย และจะกระท�ำการใดอันเป็นเหตุให้ประโยชน์แห่งภาระจ�ำยอมลดไปหรือ เสื่อมความสะดวกมิได้ ประการทสอง ใหเ้ ปนหนาทของผจดสรรทดน ทจะตองบำรงรกษาสาธารณปโภค ี่ ็ ้ ี่ ู้ ั ี่ ิ ี่ ้ � ุ ั ู ดังกล่าว ให้คงสภาพดังเช่นที่ได้จัดท�ำขึ้นนั้นต่อไป (อย่างน้อย 1 ปี) จนกว่าจะพ้นหน้าที่ตามที่ กฎหมายก�ำหนด ประการที่สาม ให้ผู้จัดสรรที่ดินจัดหาธนาคาร หรือสถาบันการเงินมาท�ำ สัญญาค�้ำประกันการบ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภค และยังอยู่ในความรับผิดชอบในการบ�ำรุงรักษาของ ผู้จัดสรรที่ดินต่อไปจนกว่าจะพ้นหน้าที่ ประการที่สี่ ถ้าผู้จัดสรรที่ดินต้องการจะพ้นจากหน้าที่ดังกล่าว อาจโอนให้นิติ บุคคลหมู่บ้านจัดสรรท�ำหน้าที่แทนได้ตามมาตรา 44 และ 45 ่อส่งเสริมธุรกิจการจัดสรรที่ดิน นอกจากจะคุ้มครองผู้ซื้อแล้ว ในขณะเดียวกัน 1.3 เพื ก็ต้องส่งเสริมธุรกิจการจัดสรรที่ดินของผู้ประกอบการด้วย เพื่อให้เกิดความคล่องตัว และสะดวก รวดเร็วในการด�ำเนินการ โดย ก. กระจายอ�ำนาจการอนุญาต และการควบคุมดูแลการจัดสรรที่ดินไปสู่ระดับ จังหวัด โดยให้มีคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัดทุกจังหวัด (มาตรา 13) และให้มีอ�ำนาจหน้าที่ พิจารณาและออกใบอนุญาตจัดสรรที่ดินได้ตามมาตรา 14 ข. ก�ำหนดเวลาในการพิจารณาอนุญาตให้แน่นอน เช่น
  • 3. 3 พจน์ สุขมหา ให้คณะกรรมการจัดสรรที่ดินพิจารณาแผนผังโครงการ และวิธีการในการ ● จัดสรรที่ดินให้แล้วเสร็จภายใน 45 วันนับแต่วันที่เจ้าพนักงานที่ดินรับค�ำขอ ถ้าไม่พิจารณาให้แล้ว เสร็จภายในก�ำหนดโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้ถือว่าได้ให้ความเห็นชอบแล้วตามมาตรา 25 กรณีคณะกรรมการจัดสรรที่ดินไม่เห็นชอบ หรือมีค�ำสั่งไม่อนุญาต ผู้ขอ ● จัดสรรที่ดินมีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางได้ ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ทราบ ค�ำสั่ง และคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางต้องพิจารณาอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายใน 60 วันนับแต่ วันได้รับอุทธรณ์ ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ดังกล่าวให้เป็นที่สุด (มาตรา 26) เพื่อให้เห็นภาพรวมโปรดศึกษาโครงสร้างของกฎหมายฉบับนี้ ในหน้าถัดไป
  • 4. 4 นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร พ.ร.บ.การจัดสรรที่ดิน โครงสร้าง (ใช้บังคับ 22 ก.ค. 2543) พ.ศ. 2543 เจตนารมณ์ มาตรการขับเคลื่อน เป้าหมายสุดท้าย ➊ คุ้มครองผู้ซื้อ นวัตกรรมทางกฎหมาย ผู้ซื้อได้สิ่งที่ต้องการ ● การได้สิทธิในที่ดินจัดสรร หลักพร้อมโอนโดยปลอดหนี้ ผจดสรรตองมชอในเอกสารสทธขณะยนคำ�ขอ ● ู้ ั ้ ี ่ื ิ ิ ่ื ● ได้รับโอนที่ดินหรือที่ดินพร้อมสิ่ง ถ้ามีหนี้ต้องเฉลี่ยหนี้ตามเนื้อที่แปลงย่อยตาม ม. 23 (1) และ (2) และต้องโอน ปลูกสร้าง โดยปลอดหนี้และภาระ โดยปลอดหนี้และภาระผูกพัน (ม. 30, 33) ผูกพัน ● การคุ้มครองสาธารณูปโภคและ ● สร้างภูมิคุ้มกันด้วยเกราะ 3 ชั้น ตามหลักทรัพยสิทธิ (ม. 43) โดย (1) ● มีสิทธิใช้ประโยชน์ในที่ดิน บริการสาธารณะ (ให้สมประโยชน์ ให้ตกเป็นภาระจำ�ยอม (2) ผู้จัดสรรมีหน้าที่บำ�รุงรักษาคนแรก (3) ห้ามทำ�ให้ สาธารณูปโภคและบริการสาธารณะ ตามที่จัดให้มี) ภาระจำ�ยอมลด หรือเสือมความสะดวกพร้อมมาตรการบังคับ คือ ถ้าฝ่าฝืนหรือ ่ ตลอดไป ทำ�ผิดผังให้บังคับตาม ม. 52 และ 65 ● การบำ�รุงรักษาสาธารณูปโภค ● จัดหาตัวช่วยได้ตามบันได 3 ขั้น โดยผู้จัดสรรที่ดินรับหน้าที่คนแรกพร้อม ● มีผู้บำ�รุงรักษาให้คงสภาพดังเช่น และบริการสาธารณะ (ให้ใช้ได้อย่าง ค�้ำบ�ำรุง (ม. 43) จนกว่าจะพ้นหน้าที่เมื่อด�ำเนินการโดยล�ำดับตาม ม. 44 คือ ที่ได้จัดทำ�ขึ้น โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ยั่งยืน) (1) ตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร (2) บ�ำรุงรักษาตามวิธีที่คณะกรรมการจัดสรร เว้นแต่ค่าใช้บริการสาธารณะ อัตราที่ อนุมัติ (3) จดทะเบียนโอนให้เป็นสาธารณประโยชน์ คณะกรรมการเห็นชอบ(ม. 53) ➋ ส่งเสริมธุรกิจ หลักกระจายอำ�นาจ ผู้จัดสรรได้รับบริการที่ดี การจัดสรรที่ดิน ● เกณฑ์การพิจารณาอนุญาตต้อง ● คณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัด มีอำ�นาจหน้าที่ออกข้อกำ�หนด ตาม ● สะดวก รวดเร็ว ภายใต้ข้อกำ�หนด เหมาะสมกับสภาพท้องที่ และคล่อง ม. 14 (1) ให้เหมาะสมกับสภาพท้องที่ (ม. 16) และออกใบอนุญาตได้เองตาม ที่ ส อดคล้ อ งกั บ สภาพท้ อ งที่ แ ต่ ล ะ ตัว ม. 14 (2) จังหวัด ● ขั้นตอนดำ�เนินการและการ ● กำ�กับด้วยกรอบเวลาตั้งแต่ยื่นคำ�ขอจนออกใบอนุญาตอย่างชัดเจนพร้อม ● โปร่งใส เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ พิจารณาต้องชัดเจนและเสมอภาค สิทธิอุทธรณ์ ถ้าไม่พิจารณาให้เสร็จตามที่กฎหมายกำ�หนด (45 วัน) ให้ถือว่า ไม่ว่าจะเป็นที่ดินมีโฉนดหรือหนังสือ ให้ความเห็นชอบ (ม. 25–28) รับรองการทำ�ประโยชน์ก็ตาม ➌ ปรับปรุงมาตรการทาง หลักโลกาภิวัตน์ เพิ่มประสิทธิภาพ กฎหมาย สู่เป้าหมาย ● การยื่นคำ�ขออนุญาตจัดสรรและ ● ผู้ขอต้องมีชื่อเป็นเจ้าของที่ดินโดยปลอดบุริมสิทธิตาม ม. 23 (1) และ ● เพื่อค้มครองผ้ซ้อและอำ�นวยความ ุ ูื การอุทธรณ์ ให้คณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัดพิจารณาอนุญาต ถ้าไม่อนุญาตมีสิทธิ สะดวกรวดเร็วแก่ผู้ประกอบธุรกิจการ อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางได้ (ม. 26) จัดสรรที่ดิน ให้มีความคล่องตัว เพื่อ ● การแบ่งแยกเป็นแปลงย่อย ● แปลงสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะต้องปลอดหนี้และภาระผูกพัน พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจควบคู่กัน ถ้ามีหนี้ให้ระบุยอดหนี้ตามเนื้อที่แปลงย่อย (ม. 30) และขอแบ่งได้ก่อนออก ไปในลักษณะยั่งยืน ใบอนุญาตเมื่อได้รับอนุมัติแผนผังโครงการจากคณะกรรมการแล้ว หมายเหตุ : ● การโฆษณาและจำ�หน่าย ● ขายและโฆษณาโครงการก่อนออกใบอนุญาตได้ แต่ต้องตรงกับคำ�ขอ 1. ถนนในโครงการที่จัดสรรยังไม่ (ม. 29, 61) สัญญาจะซื้อจะขายต้องทำ�ตามแบบที่คณะกรรมการจัดสรร แล้วเสร็จก่อน ปว. 286 อาจตกเป็น ที่ดินกลางกำ�หนด (ม. 34, 63) แต่จะโอนก่อนออกใบอนุญาตไม่ได้ (ม. 21, ภาระจำ�ยอมได้ ถ้าได้ยื่นรายการตาม 59) ข้อ 32 ภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ ● การชำ�ระราคาและการโอน ● ต้องออกใบเสร็จ เมื่อมีการชำ�ระเงินตาม ม. 35, 64 ถ้ามีหนี้รายอื่น ผู้ซื้อ ปว. 286 ใช้บังคับ (28 ม.ค. 2516) มีสิทธิชำ�ระหนี้โดยตรงต่อเจ้าหนี้และให้ถือว่าเป็นการชำ�ระราคาส่วนหนึ่ง เทียบคำ�พิพากษาศาลปกครองสูงสุด ด้วย (ม. 36) เมื่อชำ�ระครบให้ถือว่าพ้นจากการยึดอายัดและขอโอนฝ่ายเดียว ที่ อ. 206-209/2549 ได้ตาม ม. 37 2. สาธารณูปโภคในโครงการ ● การบำ�รุงรักษาสาธารณูปโภค ● ระบุตัวผู้มีหน้าที่พร้อมระบบการค�้ำประกันการบ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภค จัดสรรที่ไม่ได้ขออนุญาตอาจตก และบริการสาธารณะ และให้คงหน้าที่ไว้จนกว่าจะพ้นหน้าที่ (ม. 43) แต่อาจถ่ายโอนหน้าที่ได้ตาม เป็นภาระจำ�ยอมได้ ถ้าดำ�เนินการ บันได 3 ขั้น (ม. 44) ครบองค์ประกอบของกฎหมาย ● มาตรการบังคับเกี่ยวกับ ● ถ้ามีผู้จัดสรรก่อผลกระทบต่อสาธารณูปโภคใน 2 กรณี ตาม ม. 52 ให้ จัดสรร ตามนัยคำ�พิพากษาฎีกาที่ สาธารณูปโภค ฝ่ายบริหารใช้อำ�นาจทางปกครองและทางอาญากับผู้จัดสรรได้ทั้งรายใหม่ 5553/2537, 1112/2542 (ม. 52, 65) และรายเก่า (ม. 70 วรรคหนึ่ง) ● มาตรการเยียวยาเกี่ยวกับการ ● ให้นำ�ระบบนิตบคคลหมูบานจัดสรร มาใช้กบการจัดสรร ตามประกาศของ ิ ุ ่ ้ ั บำ�รุง รักษาสาธารณูปโภคตาม คณะปฏิวัติ ฉบับที่ 286 ได้ใน 2 กรณี คือ เมื่อผู้จัดสรรต้องการพ้นหน้าที่ กฎหมายเก่า (ม. 70 วรรคสาม) และกรณีผู้จัดสรรไม่ปฏิบัติหน้าที่บำ�รุงรักษาตาม ม. 70 วรรคสี่
  • 5. 5 พจน์ สุขมหา 2. ความหมายของการจัดสรรที่ดิน กฎหมายฉบับนี้ได้ให้ค�ำนิยามไว้ว่า “การจัดสรรที่ดิน” หมายความว่า การจ�ำหน่าย ที่ดินที่ได้แบ่งเป็นแปลงย่อยรวมกันตั้งแต่สิบแปลงขึ้นไป ไม่ว่าจะเป็นการแบ่งจากที่ดินแปลงเดียว หรือแบ่งจากที่ดินหลายแปลงที่มีพื้นที่ติดต่อกัน โดยได้รับทรัพย์สินหรือประโยชน์เป็นค่าตอบแทน และให้หมายรวมถึงการด�ำเนินการดังกล่าวที่ได้มีการแบ่งที่ดินเป็นแปลงย่อยไว้ไม่ถึงสิบแปลง และ ต่อมาได้แบ่งที่ดินแปลงเดิมเพิ่มเติมภายในสามปีเมื่อรวมกันแล้วมีจ�ำนวนตั้งแต่สิบแปลงขึ้นไปด้วย จากนิยามดังกล่าวจึงต้องมีองค์ประกอบหลัก 3 ประการ คือ 2.1 มีการแบ่งเป็นแปลงย่อยตั้งแต่ 10 แปลงขึ้นไป ไม่ว่าจะแบ่งจากที่ดินแปลงเดียว หรือหลายแปลงที่มีพื้นที่ตดต่อกัน (อาจเป็นที่ดนมีโฉนดหรือหนังสือรับรองการท�ำประโยชน์ ก็ได้) และ ิ ิ ไม่ค�ำนึงถึงวัตถุประสงค์ในการใช้ประโยชน์ที่ดิน จากหลักการนี้ การจัดสรรที่ดินในลักษณะสวนเกษตร ซึ่งแต่เดิมไม่อยู่ในความควบคุม ของกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน ก็จะต้องขออนุญาตจัดสรรที่ดินตามกฎหมายฉบับนี้ด้วย วงเวลาการแบ่งแยก ต้องเป็นการแบ่งแยกภายใน 3 ปี จะแบ่งกี่ครั้งก็ตาม เมื่อ 2.2 ช่ รวมกันแล้ว มีจ�ำนวนตั้งแต่ 10 แปลงขึ้นไป (ก�ำหนดเวลา 3 ปี ก็เพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขการค้า ที่ดินตามมาตรา 102 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ที่จะต้องจ�ำหน่ายให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี) ปัจจุบัน การค้าที่ดินตามมาตรา 101 และ 102 ยกเลิกโดยมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม ประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2551 การจ�ำหน่ายโดยได้รับทรัพย์สินหรือประโยชน์เป็นค่าตอบแทน กล่าวคือ 2.3 มี ต้องเป็นการจ�ำหน่ายในเชิงธุรกิจการค้าที่มุ่งรับเงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดเป็นค่าตอบแทน และการจ�ำหน่ายมิได้หมายเฉพาะการขายเท่านั้นอาจเป็นการโอนโดยวิธีใดก็ได้ ถ้ามีผลเป็นการโอน ความเป็นเจ้าของโดยมีค่าตอบแทน อย่างไรก็ตาม ถ้ามีการแบ่งตั้งแต่ 10 แปลงขึ้นไป กฎหมายให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็น การจัดสรรที่ดิน เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่ามิใช่แบ่งเพื่อการจัดสรรที่ดิน ตามมาตรา 22 เช่น แบ่งให้ทายาท แบ่งให้ระหว่างญาติพี่น้อง หรือแบ่งเพื่อให้เช่า หรือเป็นกรณียกเว้นตามมาตรา 5 ดังนั้น สาระส�ำคัญของการจัดสรรที่ดินตามกฎหมายฉบับนี้จึงขึ้นอยู่กับจ�ำนวนแปลง ย่อย ช่วงเวลาแบ่งแยก และวัตถุประสงค์ของการจ�ำหน่ายที่มุ่งเพื่อประโยชน์ในทางการค้าหาก�ำไร เป็นส�ำคัญ มิได้เน้นการปรับปรุงหรือพัฒนาที่ดินด้านสาธารณูปโภค หรือบริการสาธารณะเหมือนการ จัดสรรที่ดินตามนัยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 286 แต่โดยพฤตินัย ผู้ประกอบการจ�ำเป็น
  • 6. 6 นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร ต้องพัฒนาและจัดให้มีสาธารณูปโภค และบริการสาธารณะอยู่ดี ทั้งนี้เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้ ประโยชน์ที่ดินจัดสรร และด้านการตลาดเพื่อจูงใจผู้ซื้อ ซึ่งจะต้องระบุรายละเอียดและรายการ ต่าง ๆ ตามมาตรา 23 (4) และต้องเป็นไปตามมาตรฐานในข้อก�ำหนดของคณะกรรมการจัดสรร ที่ดินจังหวัดนั้น ๆ 3. ข้อยกเว้นที่ไม่ต้องขออนุญาตจัดสรรที่ดิน ตามมาตรา 5 มี 2 กรณี คือ 3.1 กรณีด�ำเนินการโดยหน่วยงานของรัฐที่ท�ำการจัดสรรที่ดินตามกฎหมายเฉพาะ ซึ่งอาจเป็นหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่นของ รัฐก็ได้ ถ้าหน่วยงานนั้นมีอ�ำนาจหน้าที่ท�ำการจัดสรรที่ดินตามกฎหมายที่ก�ำหนดไว้โดยเฉพาะ เช่น การเคหะแห่งชาติ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ การจัดสรรที่ดินเพื่อสวัสดิการข้าราชการไม่ว่าจะด�ำเนินการโดยหน่วยงาน นั้นเองหรือโดยเอกชนในนามของส่วนราชการใดก็ตาม ย่อมอยู่ในบังคับกฎหมายจัดสรรทั้งสิ้น (เทียบฎีกาที่ 85/2540) 3.2 กรณีเป็นการจัดสรรที่ดินที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายอื่น เหตุผลที่ยกเว้นก็เพราะ กรณีดังกล่าว ย่อมจะต้องมีการควบคุม ก�ำกับดูแลตามกฎหมายเฉพาะนั้น ๆ อยู่แล้ว จึงไม่มีความ จ�ำเป็นที่จะต้องควบคุมซ�้ำซ้อนโดยกฎหมายนี้อีก ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นกรณีที่ด�ำเนินการโดยเอกชน เช่น พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 แต่ถ้าการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (กนอ.) เป็นเพียงผู้ถือหุ้นในบริษัทเอกชน ก็ต้องขออนุญาตจัดสรรตามกฎหมาย (ความเห็นของส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ 11/2546) 4. มาตรการป้องกันการจัดสรรที่ดินนอกระบบ (มาตรา 22) 4.1 กรณีการแบ่งแยกที่ดินมีจ�ำนวนตั้งแต่ 10 แปลงขึ้นไป กฎหมายให้สันนิษฐาน ไว้ก่อนว่าเป็นการจัดสรรที่ดินทุกกรณี แต่เป็นข้อสันนิษฐานในลักษณะเปิด คือไม่เด็ดขาด โดย เปิดโอกาสให้ผู้ขอแบ่งแยกพิสูจน์ให้ได้ว่ามิใช่แบ่งเพื่อการจัดสรรที่ดิน ถ้ามีเหตุผลหรือหลักฐาน น่าเชื่อ จึงจะด�ำเนินการรังวัดแบ่งแยกให้ต่อไป หากไม่อาจแสดงให้เป็นที่เชื่อถือได้ว่ามิใช่เป็นการ แบ่งเพื่อการจัดสรรที่ดิน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งให้ผู้ขอด�ำเนินการยื่นขออนุญาตจัดสรรที่ดินก่อน และให้รอเรื่องรังวัดแบ่งแยกไว้ 4.2 หากผู้ขอแบ่งแยกไม่เห็นด้วย ให้อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัด หรือคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกรุงเทพมหานครแล้วแต่กรณี ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
  • 7. 7 พจน์ สุขมหา และคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจะต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ภายใน 45 วันนับแต่วันที่คณะกรรมการ จัดสรรที่ดินได้รับอุทธรณ์ ถ้าคณะกรรมการจัดสรรที่ดิน มิได้มีค�ำวินิจฉัยภายในก�ำหนดเวลา 45 วันดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ด�ำเนินการเรื่องแบ่งแยกที่ดินนั้นต่อไป เมื่อคณะกรรมการ มีค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์เป็นประการใด ให้แจ้งค�ำวินิจฉัยเป็นหนังสือให้ผู้อุทธรณ์ทราบภายใน 7 วัน นับแต่วันที่คณะกรรมการมีค�ำวินิจฉัย ค�ำวินิจฉัยของคณะกรรมการดังกล่าวให้เป็นที่สุด แต่สิ้นสุด ทางฝ่ายบริหารระดับต้นเท่านั้น มิได้ตัดสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางตาม มาตรา 8 (5) หรือสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครองแต่อย่างใด เพราะการไม่อนุญาตให้ท�ำการรังวัดแบ่ง แยกที่ดิน เนื่องจากผลของการวินิจฉัยอุทธรณ์ ย่อมเป็นการใช้อ�ำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิทธิของบุคคล จึงเป็นการออกค�ำสั่งทางปกครองตาม พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ผู้ขอย่อม มีสิทธิอุทธรณ์ได้ จึงต้องแจ้งสิทธิอุทธรณ์ตามมาตรา 402 หรือสิทธิการฟ้องคดีปกครองตามมาตรา 503 พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ในหนังสือแจ้งด้วย 5. การขออนุญาตจัดสรรที่ดิน (มาตรา 21–30) 5.1 ห้ามมิให้ผู้ใดท�ำการจัดสรรที่ดิน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ จัดสรรที่ดิน หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษสองสถานตามมาตรา 59 คือ จ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับตั้งแต่ สี่หมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท (ทั้งจ�ำทั้งปรับ) 2 มาตรา 40 ค�ำสั่งทางปกครองที่อาจอุทธรณ์หรือโต้แย้งต่อไปได้ ให้ระบุกรณีที่อาจอุทธรณ์หรือโต้แย้ง การยื่นค�ำ อุทธรณ์หรือค�ำโต้แย้ง และระยะเวลาส�ำหรับการอุทธรณ์หรือการโต้แย้งดังกล่าวไว้ด้วย ในกรณีที่มีการฝ่าฝืนบทบัญญัติตามวรรคหนึ่ง ให้ระยะเวลาส�ำหรับการอุทธรณ์ หรือการโต้แย้งเริ่มนับใหม่ ตั้งแต่วันที่ได้รับ แจ้งหลักเกณฑ์ตามวรรคหนึ่ง แต่ถ้าไม่มีการแจ้งใหม่และระยะเวลาดังกล่าวมีระยะเวลาสั้นกว่าหนึ่งปี ให้ขยายเป็นหนึ่งปีนับแต่ วันที่ได้รับค�ำสั่งทางปกครอง 3 มาตรา 50 ค�ำสั่งใดที่อาจฟ้องต่อศาลปกครองได้ ให้ผู้ออกค�ำสั่งระบุวิธีการยื่นค�ำฟ้องและระยะเวลาส�ำหรับยื่นค�ำฟ้อง ไว้ในค�ำสั่งดังกล่าวด้วย ในกรณีที่ปรากฏต่อผู้ออกค�ำสั่งใดในภายหลังว่า ตนมิได้ปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้นั้นด�ำเนินการแจ้งข้อความซึ่งพึง ระบุตามวรรคหนึ่งให้ผู้รับค�ำสั่งทราบโดยไม่ชักช้า ในกรณีนี้ให้ระยะเวลาส�ำหรับยื่นค�ำฟ้องเริ่มนับใหม่นับแต่วันที่ผู้รับค�ำสั่งได้ รับแจ้งข้อความดังกล่าว ถ้าไม่มีการแจ้งใหม่ตามวรรคสองและระยะเวลาส�ำหรับยื่นค�ำฟ้องมีก�ำหนดน้อยกว่าหนึ่งปี ให้ขยายระยะเวลาส�ำหรับ ยื่นค�ำฟ้องเป็นหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับค�ำสั่ง
  • 8. 8 นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร อนึ่ง กฎหมายฉบับนี้ให้โอกาสโฆษณาโครงการจัดสรรที่ดินก่อนได้ (ซึ่งแตกต่าง จากประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 286 โดยห้ามโฆษณาก่อนได้รับอนุญาตจัดสรรที่ดิน) แต่ ข้อความในโฆษณาจะต้องตรงกับหลักฐานและรายละเอียดที่ก�ำหนดไว้ในค�ำขออนุญาตจัดสรร ที่ดินด้วย (มาตรา 29) หากฝ่าฝืนมาตรา 29 คือ โฆษณาไม่ตรงกับที่ยื่นค�ำขอต้องระวางโทษปรับตั้งแต่ ห้าหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท (มาตรา 61) ด้วยเหตุนี้ในทางปฏิบัติ กรมที่ดินจึงอนุญาตให้มีการออกโฉนดแปลงย่อย (แบ่งในนาม เดิม) ก่อนได้ เมือคณะกรรมการจัดสรรทีดนเห็นชอบแผนผังโครงการแล้ว แต่หามน�ำไปจดทะเบียนสิทธิ ่ ่ิ ้ และนิติกรรมใด ๆ ก่อนได้รับใบอนุญาตให้ท�ำการจัดสรรที่ดิน 5.2 การขออนุญาตและออกใบอนุญาต ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไข ที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง โดยยื่นค�ำขอต่อเจ้าพนักงานที่ดินท้องที่ พร้อมหลักฐานและรายละเอียด ตามมาตรา 23 แล้วส่งให้คณะกรรมการจัดสรรที่ดินพิจารณาต่อไป ดูรายละเอียดในแผนภูมิการขอ อนุญาตจัดสรรที่ดินหน้าถัดไป
  • 9. แผนภูมิการขออนุญาตจัดสรรที่ดิน ผู้ขอใบอนุญาตจัดสรรที่ดิน เจ้าพนักงานที่ดิน คณะกรรมการจัดสรรที่ดิน 1. จัดท�ำแผนผัง โครงการและวิธีการ จังหวัดหรือสาขา ท้องที่ที่ดินตั้งอยู่ (ถ้าคาบเกี่ยว 1. ระยะเวลาพิจารณา ต้องให้แล้วเสร็จ จัดสรรทีดน ตามหลักเกณฑ์ในข้อก�ำหนดเกียวกับ ่ิ ่ หลายจังหวัดให้ยื่นทุกจังหวัด) ภายใน 45 วันนับแต่วันเจ้าพนักงานที่ดินสั่ง การจัดสรรที่ดิน (มาตรา 16) ของจังหวัดนั้น 1. ตรวจสอบก่อนรับคำ�ขอ รับค�ำขอ ถ้าไม่เสร็จตามก�ำหนดโดยไม่มเหตุผล ี 2. ยื่นค�ำขอ จ.ส.1 (ไม่น้อยกว่า 13 ชุด) ต่อ ก. ถ้าหลักฐานไม่ครบถ้วน อันสมควรให้ถือว่าคณะกรรมการจัดสรรที่ดิน พร้อมด้วยหลักฐานและรายละเอียดตามมาตรา - ให้ผู้ขอแก้ไขเพิ่มเติมภายใน 15 วันนับ ให้ความเห็นชอบแล้ว (มาตรา 25) ถ้ามีเหตุผล 23 (1)–(10) ได้แก่ แต่วันรับแจ้ง อันสมควร ให้เจ้าพนักงานที่ดินแจ้งเหตุผลให้ - โฉนด หรือ น.ส. 3 ที่มีชื่อผู้ขอเป็นผู้มีสิทธิ - ถ้ า ไม่ แ ก้ ไขภายในกำ�หนดหรื อ แก้ ไข ผู้ขอทราบภายใน 7 วันนับแต่วันครบก�ำหนด ในที่ดิน โดยปลอดบุริมสิทธิตาม มาตรา 23 (1) ไม่ครบถ้วน ให้เจ้าพนักงานทีดนสังไม่รบคำ�ขอ แต่ ่ิ ่ ั 2. กรอบการพิจารณา ต้องเป็นไปตาม ระบุภาระผูกพันต่าง ๆ ที่บุคคลอื่นมีส่วนได้เสีย อาจขออุทธรณ์ได้ภายใน 15 วัน ตามมาตรา 444 กฎหมาย กฎกระทรวง ประกาศหรือนโยบาย เกี่ยวกับที่ดินจัดสรร มาตรา 23 (7) และที่ตั้ง พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 การจัดสรรที่ดินของคณะกรรมการจัดสรรที่ดิน ส�ำนักงานของผู้ขอ มาตรา 23 (9) พร้อมแผนผัง ข. ถ้าหลักฐานครบถ้วน กลาง (คสก.) และข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการ สังเขปและผังบริเวณรวมตามข้อก�ำหนด - เจ้าพนักงานที่ดิน สั่งรับคำ�ขอ และลง จัดสรรที่ดิน ตามขั้นตอนหลักเกณฑ์และวิธี - กรณีมีบุริมสิทธิในมูลซื้อขายหรือติด บัญชีคุมเรื่อง (จ.ส.ก. 4) พร้อมแจ้งให้ผู้ขอทราบ การที่คณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางก�ำหนด จ�ำนอง ต้องมีบันทึกข้อความยินยอมให้จัดสรร กรณีสาขาเป็นผู้รับคำ�ขอต้องส่งเรื่องให้ 3. การค�ำประกัน ถ้าต้องค�ำประกันการจัด ้ ้ จากผูทรงบุรมสิทธิหรือผูรบจ�ำนอง และกระจาย ้ ิ ้ั เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดภายใน 2 วันทำ�การนับ ให้มีตามมาตรา 24 จะต้องประมาณการค่า หนี้สู่ที่ดินแปลงย่อยตามมาตรา 23 (2) และ แต่วันสั่งรับคำ�ขอ ก่อสร้าง +15% ของราคาก่อสร้างกลาง มาตรา 30 2. ตรวจสอบก่อนเสนอ (ประกาศฯ ข้อ 3) และค�้ำประกันการบ�ำรุง - แผนผังการแบ่งแปลงที่ดิน แสดงจ�ำนวน เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด ส่งเรื่องให้พนักงาน รักษาสาธารณูปโภค ตามมาตรา 43 วรรคสอง แปลงย่อยและเนื้อที่โดยประมาณ มาตรา 23 (3) เจ้าหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้อง และรายงาน ในอัตราร้อยละ 7 (ประกาศฯ ข้อ 4) และก่อน ทั้งนี้ตามเกณฑ์ในข้อก�ำหนดของคณะกรรมการ ตามแบบบันทึกรายงานผลการพิจารณาตรวจ ออกใบอนุญาตจะต้องท�ำสัญญาค�้ำประกันการ จัดสรรที่ดิน สอบการขออนุญาตทำ�การจัดสรรที่ดิน ตามที่ บ� ำ รุ ง รั ก ษาดั ง กล่ า วและหนั ง สื อ รั บ รองตาม - โครงการปรับปรุงที่ดินที่ขอจัดสรร การ อธิบดีกำ�หนด ก่อนส่งให้คณะกรรมการจัดสรร มาตรา 43 ให้แล้วเสร็จ จัดให้มีสาธารณูปโภค และบริการสาธารณะรวม ที่ดินพิจารณา 4. การออกใบอนุญาต เมื่อคณะกรรมการ ทั้งการปรับปรุงอื่นตามควรแก่สภาพท้องถิ่น 3. การเสนอคำ�ขอต่อคณะกรรมการจัดสรร จัดสรรที่ดินเห็นชอบ ให้เจ้าพนักงานที่ดินเสนอ โดยแสดงแผนผัง (ระบบสาธารณูปโภคและ ที่ดิน ใบอนุญาต (จ.ส. 2) ให้ประธานกรรมการลงนาม บริการสาธารณะ) รายละเอียดรายการก่อสร้าง ให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดรีบเสนอคำ�ขอให้ ภายใน 7 วันนับแต่วันออกใบอนุญาต ประมาณการค่าก่อสร้างและก�ำหนดเวลาที่จะจัด คณะกรรมการจัดสรรที่ดินพิจารณาโดยเร็ว (ประกาศฯ ข้อ 11) ท�ำให้แล้วเสร็จ มาตรา 23 (4) ส่วนขนาดและ อนึ่ง การพิจารณาตรวจสอบแผนผัง 5. การแจ้งสิทธิอุทธรณ์ กรณี มาตรฐาน (สเปก) ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดของ โครงการและวิธีการจัดสรรที่ดิน และประมาณ คณะกรรมการจัดสรรที่ดินไม่เห็นชอบ หรือมี คณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัดนั้น ๆ การค่าก่อสร้าง พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือ ค�ำสั่งไม่อนุญาตให้เจ้าพนักงานที่ดิน แจ้งผล - แผนงานโครงการและระยะเวลาการ คณะกรรมการจัดสรรที่ดินหรือบุคคลใดที่ การพิจารณาให้ผู้ขอทราบภายใน 7 วันนับ บ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภค มาตรา 23 (5) ควร คณะกรรมการแต่งตั้ง จะออกไปตรวจสอบสภาพ แต่วันมีมติ พร้อมทั้งแจ้งว่า มีสิทธิอุทธรณ์ต่อ ระบุแผนการจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร และ ที่ดินด้วยก็ได้ [ข้อ 5 ประกาศคณะกรรมการ คณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง ภายใน การบ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภคต่อไปหลังครบ จัดสรรที่ดินกลาง (คสก.) เรื่องกำ�หนดขั้นตอน 30 วันนับแต่วันทราบค�ำสั่ง (ประกาศฯ ข้อ 9) ก�ำหนดบ�ำรุงรักษา (ไม่น้อยกว่า 1 ปี หลังท�ำ หลักเกณฑ์ และวิธีการพิจารณา แผนผังโครงการ เสร็จ) จนกว่าจะพ้นหน้าที่ด้วย และวิธีการในการจัดสรรที่ดินและการขอแก้ไข อนึ่ง ในขณะนี้จะแยกขออนุญาตจัดสรร - วิธีการจ�ำหน่ายและการช�ำระราคา หรือ เปลี่ยนแปลงแผนผังโครงการ] ที่ดินเป็นบางส่วน (เฟส) ไม่ได้ เพราะยังไม่มี ค่าตอบแทน มาตรา 23 (6) แบบสัญญาจะซื้อจะ หมายเหตุ : กรณีมีข้อสงสัยว่าจะเป็นการจัดสรร ก�ำหนดในกฎกระทรวง ตามมาตรา 21 ขายที่ดินจัดสรร มาตรา 23 (8) ที่ดินหรือไม่ จะให้โอกาสผู้ขอพิสูจน์ก่อน ถ้าไม่ วรรคสอง - ชื่อธนาคารหรือสถาบันการเงิน ซึ่งจะ น่าเชื่อจะให้ย่ืนคำ�ขอจัดสรรและรอการแบ่งแยก เป็นผู้ค�้ำประกัน ตามมาตรา 24 และมาตรา 43 ไว้ ก่อ นหากผู้ ข อไม่ เ ห็ น ด้ ว ยให้ อุ ท ธรณ์ ต่ อ คณะ วรรคสอง มาตรา 23 (10) กรรมการจัดสรรทีดนภายใน 30 วันตามมาตรา 22 ่ิ อนึ่ง ถ้าเนื้อที่เกิน 100 ไร่ หรือมีแปลง จ�ำหน่ายตั้งแต่ 500 แปลง ต้องจัดท�ำรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ก่อน 4 มาตรา 44 ภายใต้บงคับมาตรา 48 ในกรณีทคำสังทางปกครองใดไม่ได้ออกโดยรัฐมนตรีและไม่มกฎหมายก�ำหนดขันตอนอุทธรณ์ ั ี่ � ่ ี ้ ภายในฝ่ายปกครองไว้เป็นการเฉพาะ ให้คู่กรณีอุทธรณ์ค�ำสั่งทางปกครองนั้นโดยยื่นต่อเจ้าหน้าที่ผู้ท�ำค�ำสั่งทางปกครองภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่ตนได้รับแจ้งค�ำสั่งดังกล่าว ค�ำอุทธรณ์ต้องท�ำเป็นหนังสือโดยระบุข้อโต้แย้งและข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่อ้างอิงประกอบด้วยการอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้ ทุเลาการบังคับตามค�ำสั่งทางปกครอง เว้นแต่จะมีการสั่งให้ทุเลาการบังคับตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ง