SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
หน่วยที่ 1
่
ความรูเ้ บื้องต้นเกียวกับคอมพิวเตอร์
เสนอสมาชิก


1.นางสาวสมบัติ
2.นางสาวจันทร์ศรี
3.นางสาวเนติมา
4.นางสาวดวงฤทัย
5.นางสาวสุภา
6.นางสาวสโรชินี

ป้ องชาลี
ปิ่ นคา
มัชเรส
ฝาชัยภูมิ
ขาห้วยแย้
ศิรชาติ
ิ

รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010072
รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010071
รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010068
รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010070
รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010056
รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010051
คอมพิวเตอร์ คือ


่
คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึงหมายถึง การนับ หรือ การ
คานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้วา
่
่
่
"เครืองอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าทีเ่ หมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทีง่าย
และซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์"
คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อะไรก็ได้ทสามารถรับข้อมูลเข้าไปประมวลผลแล้วได้ผลผลัพธ์
ี่
่
ออกมาตามความต้องการ โดยส่วนต่างๆ ทีประกอบกันขึ้นมาเป็ นคอมพิวเตอร์จะต้องประกอบไป
ด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ หน่วยรับข้อมูล หน่วยความจา หน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยแสดงผล
ข้อมูล
ลักษณะที่สาคัญของคอมพิวเตอร์


1. ทางานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์และอัตโนมัติ
2. มีความเร็วสูงในการประมวลผล
3. มีหน่วยความจาภายในขนาดใหญ่
่ี
่
4. ได้ผลลัพธ์ทถูกต้องและน่าเชือถือ
วิวฒนาการคอมพิวเตอร์(Computer Development)
ั


่
่
มนุษย์ได้คดค้นเครืองมือสาหรับช่วยในการคานวณมาตังแต่สมัยโบราณ โดยเริมจากการใช้น้ ิว
ิ
้
มือและนิ้วเท้าช่วยนับ ต่อมาก็ใช้สงทีอยูรอบๆตัว เช่น ก้อนหิน ก้อนกรวด แท่งไม้ หรือการทา
ิ่ ่ ่
่
่
่
่
เครืองหมายบนพื้นดิน หิน เป็ นต้น เครืองช่วยในการนับทีให้ประโยชน์ตอการนับทีใช้ประโยชน์ตอการ
่
่
นับเป็ นอย่างมากได้แก่ลูกคิด(Abacus)
ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ



ในปี พ.ศ. 2160 จอห์น เนเปี ยร์ (John Napier) นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อต ได้คดอุปกรณ์ทใช้ชวย
ิ
ี่ ่
่
การคูณ การหาร และการถอดกรณ์ให้ง่ายขึ้น ซึงเรียกว่า Napier’sbones

จอห์น เนเปี ยร์ นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อต
ในปี พ.ศ. 2173 วิลเลี่ยม ออกเทรด (William Oughtred) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์
่
ไม้บรรทัดคานวณ (Slide Rule) ซึงต่อมากลายเป็ นพื้นฐานของการสร้างคอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก
่
่
ในปี พ.ศ. 2185 เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรังเศส ได้ประดิษฐ์เครือง
บวกลบขึ้นโดยใช้หลักการหมุนของฟั นเฟื องและการทดเลขเมื่อฟั นเฟื องหมุนครบรอบ โดยแสดงตัวเลข
่
่
่
่ี ่
จาก 0-9 ออกทีหน้าปั ดซึงมีเลขอยู่ 8 หลัก สิงประดิษฐ์ทวานี้เรียกว่า Pascaline Calculator
ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)


่
เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรังเศส
ในปี พ.ศ. 2214 กอตต์ ฟอน ลิบนิซ (Gottfried Von Leibniz) นักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ ชาว
่
เยอรมัน ออกแบบเครืองคิดเลขแบบใช้เฟื องทดเพื่อทาการคูณด้วยวิธีการบวกซา ๆ กัน ไลบนิซเป็ นผู ้
้
่
ค้นพบจานวนเลขฐานสอง (Binary Number) ซึงประกอบด้วยเลข 0 และ 1 เป็ นระบบเลขทีเ่ หมาะใน
่
่
การคานวณ เครืองคิดเลขทีไลบนิซสร้างขึ้น เรียกว่า Leibniz Wheel สามารถ บวก ลบ คูณ หาร ได้
ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)


กอตต์ ฟอน ลิบนิซ (Gottfried Von Leibniz) นักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ ชาวเยอรมัน
่
ในปี พ.ศ. 1804 : โจเซฟ มารี แจคการ์ด (Joseph Marie Jacquard) ชาวฝรังเศส เป็ นผูคดประดิษฐ์
้ิ
่
่
Jacquard’s Loom เป็ นเครืองทอผ้าทีควบคุมการทอผ้าลายสีตาง ๆ ด้วยบัตรเจาะรู (Punched – card) จึง
่
่
่
เป็ นแนวคิดในการประดิษฐ์เครืองเจาะบัตร (Punched – card machine) สาหรับเจาะบัตรทีควบคุมการทอ
่
่
่
่
่
ผ้าขึ้น และถือว่าเป็ นเครืองจักรทีใช้โปรแกรมสังให้เครืองทางานเป็ นเครืองแรก
ในปี พ.ศ. 1822 : ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ศาสตราจารย์ทางคณิตศาสตร์แห่ง
่
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ของอังกฤษ มีแนวความคิดสร้างเครืองหาผลต่าง เรียกว่า Difference Engine โดย
ได้รบความช่วยเหลือจากราชสมาคม (Royal Astronomical Society) ของรัฐบาลอังกฤษ สร้างสาเร็จในปี
ั
ค.ศ. 1832
ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)


ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ
่
่
ในปี พ.ศ. 2373 แบบเบจได้พยายามสร้างเครืองคานวณอีกชนิดหนึ่งเรียกว่าเครืองวิเคราะห์ โดยแบ่งการ
่
่
ทางานของเครืองออกเป็ น 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนควบคุม และส่วนคานวณ เครืองมือนี้ได้รบการ
ั
่
ออกแบบให้ใช้ระบบพลังงานเครืองยนต์ไอนาเป็ นตัวหมุนฟั นเฟื อง
้
ในปี พ.ศ. 2393 ยอร์จ บูล ( George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้คดระบบพีชคณิตระบบใหม่
ิ
่
เรียกว่า Boolean Algebra ซึงใช้อธิบายหลักเหตุผลทางตรรกวิทยา
ในปี พ.ศ. 2423 ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริธ (Dr Herman Hollerith) นั กสถิตชาวอเมริกน ได้ประดิษฐ์
ิ
ั
่
่่
่
เครืองมือทีชวยในการทางานด้านสถิตเิ ครืองแรกขึ้น โดยใช้กบบัตรเจาะรูทบนทึกได้ทงตัวเลข ตัวอักษรและ
ั
ี่ ั
ั้
่
่
สัญญลักษณ์พิเศษเครืองนี้ได้รบการปรังปรุงเรือยมา และใช้ประโยชน์ครังแรกในปี 1890 โดยใช้ใน งาน
ั
้
่
ประมวลผลด้านสามะโนประชากรของสหรัฐเครืองนี้สามารถอ่านบัตรได้ 250 บัตรต่อนาที
ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)


ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริธ (Dr Herman Hollerith) นั กสถิตชาวอเมริกน
ิ
ั
ในปี พ.ศ. ศจ.โฮเวิรด อายเคน (Progessor Howard Aiken) แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ร่วมกับวิศวกร
์
่
่
ของบริษท IBM ได้สร้างเครืองคานวณจากความคิดของแบบเบจสาเร็จ ชือว่า Autometic Sequence
ั
่
Controlled Calcalator (ASCC) หรือ MARX I เครือง ดังกล่าวนี้ทางานโดยอัตโนมัติ ตลอดทังเครือง
้ ่
่
่ี
สามารถอ่านข้อมูลจากบัตร หรืออาจะป้ อนข้อมูลเข้า เครืองโดยตังสวิทธ์ทหน้าปั ดควบคุมด้วยมือ และพิมพ์
้
่
่
่
ผลลัพธ์ออกทางเครืองพิมพ์ไฟฟ้ า หรือเจาะลงบัตร ส่วนการสังและควบคุมให้ทางานนันทาจากภายนอกเครือง
้
โดยใช้บตรเจาะรูหรือเทปกระดาษ ถึงแม้วาเครืองมือจะมีขนาดใหญ่โต มีสวนประกอบมากมายปฏิบตงานช้า
ั
่ ่
่
ัิ
่
่
่
กว่าปั จจุบนมาก แต่ก็นบว่าเครือง MARX I เป็ นเครืองคานวณอัตโนมัตเิ ครืองแรกของโลก
ั
ั
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย



่
่
คอมพิวเตอร์ในประเทศไทย เริมใช้ในปี พ.ศ. 2506 โดยเริมใช้ในการศึกษา วิจย เครืองทีใช้ ครังแรกคือ
ั ่ ่
้
่
่
เครือง IBM 1620 ซึงติดตังทีคณะ
้ ่
่
พาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และใช้ในการทาสามะโนประชากร โดยใช้เครือง
่
IBM 1401 ซึงติดตังทีสานักงานสถิตแห่งชาติ
้ ่
ิ
่
ผูทรเิ ริมนาเครืองคอมพิวเตอร์มาใช้ในประเทศไทยคนแรก คือ ศาสตราจารย์บณฑิต กันตะบุตร หัวหน้า
้ ่ี ่
ั
่
ภาควิชาสถิตและเลขาธิการสถิตแห่งชาติจากนันมา เครืองคอมพิวเตอร์ก็มีใช้ในประเทศไทย ตามลาดับดังนี้
ิ
ิ
้
พ.ศ. 2507 : ได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานธุรกิจขนาดใหญ่ คือ บ.ปูนซีเมนต์ไทยกับ ธนาคารกรุงเทพ
่
พ.ศ. 2517 : ได้นาคอมพิวเตอร์ไปใช้งานทีตลาดหลักทรัพย์ ในด้านการซื้อขาย โดยใช้ มินิคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2522 : ได้นา ไมโครคอมพิวเตอร์ ไปใช้ในธุรกิจขนาดเล็กมากขัน
้
พ.ศ. 2525 : ได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในด้านการเรียนการสอน ได้แก่ มหาวิทยาลัยโรงเรียนต่างๆ และมีการ
เปิ ดสอนวิชาคอมพิวเตอร์กนอย่างแพร่หลาย
ั
ยุคของคอมพิวเตอร์


่
ตังแต่ปี พ.ศ. 2493 เป็ นต้นไป ได้มีการใช้คอมพิวเตอร์ในงานต่างๆ อย่างแพร่หลายจึงได้เริมมี
้
การจัดยุคหรือช่วงเวลาของคอมพิวเตอร์โดยถือเอาความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีเป็ นหลักในการ
แบ่งยุค ได้มีการแบ่งยุคคอมพิวเตอร์ออกเป็ น 5 ยุค คือ
ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)



่
ยุคทีหนึ่งของคอมพิวเตอร์ (FIRST GENERATION)
(พ.ศ. 2494-2501)
่
- ลักษณะของเครือง มีขนาดใหญ่โตมาก เกิดความร้อนสูง จึงต้องติดตังในห้องปรับอากาศตลอดเวลา
้
- วัสดุทใช้สร้าง ใช้หลอดสุญญากาศเป็ นหน่วยความจาภายใน
ี่
- ความเร็วในการทางาน เป็ นวินาที
่
่
- สือข้อมูลทีใช้ บัตรเจาะรู เทปกระดาษ และเทปแม่เหล็ก
่
- ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ ภาษาเครือง (Machine Language) และภาษาแอสเซมบลี (Assembly)
ี่
่
- ตัวอย่างเครือง UNIVAC I, IBM701, NCR102

รูปที่ 1.7 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1
ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
่
ยุคทีสองของคอมพิวเตอร์ (SECOND GENERATION)
(พ.ศ. 2502-2513)
่
- ลักษะณะของเครือง มีขนาดเล็กลง ใช้ความร้อนน้อยลง ทางานได้เร็วขึ้น
- วัสดุทใช้สร้าง ใช้ทรานซิสเตอร์แทนหลอดสุญญากาศ และมีวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core) เป็ น
ี่
หน่วยความจาภายใน
่
- ความเร็วในการทางาน มิลลิเซคคัน
่
่
- สือข้อมูลทีใช้ ใช้บตรเจาะรูและเทปแม่เหล็กเป็ นส่วนใหญ่
ั
- ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ ภาษาฟอร์แทรน (Fortran) และภาษาโคบอล (Cobol)
ี่
่
- ตัวอย่างเครือง IBM1620, IBM1401, CDC1604, NCR315



รูปที่ 1.8 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในยุคที่สอง
ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)



่
ยุคทีสามของคอมพิวเตอร์ (THIRD GENERATION)
(พ.ศ. 2508-2513)
่
่
- ลักษณะของเครือง มีขนาดเล็กลงกว่าเดิม ใช้ความร้อนน้อยลงไปอีก มีความเร็วเพิ่มยิงขึ้นอีก และมี
มินิคอมพิวเตอร์เกิดขึ้น
่ี
่
- วัสดุทใช้สร้าง ใช้ไอซีแทนทรานซิสเตอร์เป็ นหน่วยความจาภายใน ซึงสามารถทางานได้เท่ากับทรานซิสเตอร์
หลายร้อยตัว
่
- ความเร็วในการทางาน ไมโครเซคคัน
่
่
- สือข้อมูลทีใช้ บัตรเจาะรู เทปแม่เหล็ก และจานแม่เหล็ก
่ี
- ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ ภาษาพีแอลวัน (PL/1) และภาษาอาร์พีจี (RPG)
1.9
่
- ตัวอย่างเครือง IBM360, DC3300, NCR395, UNIVAC9400
ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
่ ี่
ยุคทีสของคอมพิวเตอร์ (FOURTH GENERATION)
(พ.ศ. 2514-2523)
่
่
- ลักษณะของเครือง มีไมโครคอมพิวเตอร์เกิดขึ้น ซึงไม่จาเป็ นต้องอยูในห้องปรับอากาศ คอมพิวเตอร์ทางาน
่
เร็วขึ้นและมีประสิทธฺภาพมากขึ้น
่
- วัสดุทใช้สร้าง ใช้แอลเอสไอเป็ นหน่วยความจาภายใน ซึงสามารถทางานได้เท่ากับทรานซิสเตอร์พนตัว
ี่
ั
่
่
- ความเร็วในการทางาน นาโนเซคคันและพิโคเซคคัน
่
- สือข้อมูล เทปแม่เหล็กและจานแม่เหล็ก ส่วนบัตรเจาะรูใช้นอยลงมากกว่ายุคก่อน
้
- ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ เริมมีภาษาใหม่ๆ เช่น ภาษาเบสิก (Basic) ภาษาปาสคาล (Pascal) และภาษาซี (C)
ี่ ่
่
- ตัวอย่างเครือง IBM370, IBM3033,UNIVAC9700, CDC7600, IBMPC (XT และ AT)



1.10
ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)



ยุคที่หาของคอมพิวเตอร์ (FIFTH GENERATION)
้
(พ.ศ. 2524-ปั จุบน)
ั
่
หลายคนคิดว่าในปั จจุบน “คอมพิวเตอร์” ได้กาวสูยุคทีหาแล้ว กล่าวคือ นับตังแต่เริม ค.ศ. 1983 เป็ นต้นมา
ั
้ ่ ่ ้
้
มีการคิดประดิษฐ์ให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจภาษามนุษย์ได้เลย มีการคิดทาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer
่
่
่
Network) ซึงหมายถึงการต่อเครืองหลายเครืองให้ทางานร่วมกัน มีการทาคอมพิวเตอร์ให้สามารถเก็บข้อมูลได้ทุก
่
ชนิด พูดง่ายๆ ให้เหมือนมนุษย์เข้าใจภาษามนุษย์ รับส่งข้อมูลทุกอย่างทีมนุษย์รบส่งได้ ฯลฯ ชิพจะมีขนาดเล็กลง
ั
ขณะเดียวกันมีวงจรผนึกแน่นขึ้นมากด้วย ในปั จจุบนสามารถเพิ่มได้ถึง 250,000 วงจรในชิพเล็กๆ ขนาด ¼ นิ้ว
ั
่
ในอนาคตชิพขนาดนี้มีวงจรผนึกถึงหนึ่งล้านตัว ซึงจะทาให้ประสิทธิภาพในการทางานสูงขึ้นด้วย
ในยุคนี้ได้มุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถในการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และความสะดวกสบายในการใช้
่
่
งานเครืองคอมพิวเตอร์อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครืองคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็ก (Portable
Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนี้
โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมีความสามารถสูงขึ้น รวมทังโครงการวิจยและพัฒนา
้
ั
เกี่ยวกับ ปั ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็ นหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ โดย
หวังให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู ้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล
ประเภทของคอมพิวเตอร์



จากประวัตความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์ จะเห็นได้วาเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลง
ิ
่
่
ไปอย่างรวดเร็วมาก ทาให้ปัจจุบนมีเครืองคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้มากมาย หลายรูปแบบตามความต้องการของ
ั
ผูใ้ ช้
การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์นน สามารถจาแนกอกได้เป็ น 3 กลุ่มหลัก ดังนี้
ั้
1.แบ่งตามหลักการประมวลผล จาแนกได้เป็ น 3 ประเภท คือ
่
1.1คอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก (Analog Computer) หมายถึง เครืองมือประมวล
่
่
ข้อมูลทีอาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ใช้ขอมูลทีมีการเปลี่ยนแปลงแบบต่อเนื่อง (Continuous Data)
้
แสดงในลักษณะสัญญาณ ทีเ่ รียกว่า Analog Signal มักแสดงผลด้วยสเกลหน้าปั ด และเข็มชี้ เช่น การวัดค่า
ความยาว โดยเปรียบเทียบสเกลบนไม้บรรทัด การวัดค่าความร้อนจากการขยายตัวของปรอทเปรียบเทียบกับ
สเกลข้างหลอดแก้ว
ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)


่ ื
่ี
่
1.2 คอมพิวเตอร์แบบดิจตอล (Digital Computer) ซึงก็คอคอมพิวเตอร์ทใช้ในการทางานทัวๆ ไป
ิ
่
่
่
่ ั
นันเอง เป็ นเครืองมือประมวลผลข้อมูลทีอาศัยหลักการนับ ทางานกับข้อมูลทีมีลกษณะการ
เปลี่ยนแปลงแบบไม่ตอเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะสัญญาณไฟฟ้ า หรือ Digital Signal อาศัย
่
การนับสัญญาณข้อมูลทีเ่ ป็ นจังหวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใต้ระบบฐานเวลา (Clock Time)
่ ่
มาตรฐาน ทาให้ผลลัพธ์เป็ นทีน่าเชือถือ ทังสามารถนับข้อมูลให้คาความละเอียดสูง เช่น แสดงผลลัพธ์
้
่
เป็ นทศนิยมได้หลายตาแหน่ง เป็ นต้น
ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)


่
่
1.3 คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer) คือเครืองประมวลผลข้อมูลทีอาศัยเทคนิคการ
่
ทางานแบบผสมผสานระหว่าง Analog Computer และ Digital Computer โดยทัวไปมักใช้ในงาน
่
่
เฉพาะกิจ โดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ เช่น เครืองคอมพิวเตอร์ในยานอวกาศทีใช้ Analog Computer
ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช้ Digital Computer ในการคานวณ ระยะทาง เป็ นต้น

คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer)
การทางานแบบผสมผสานของคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ยงต้องอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter) เช่นเดิม
ั
ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)



2.แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน จาแนกได้เป็ น 2 ประเภท คือ
่
2.1เครืองคอมพิวเตอร์เพื่องานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer) หมายถึง
่
่
่
เครืองประมวลผลข้อมูลทีถูกออกแบบตัวเครืองและโปรแกรมควบคุมให้ทางานอย่างใดอย่างหนึ่งเป็ นการเฉพาะ
่
่
(Inflexible) โดยทัวไปมักใช้งานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมทีเ่ น้นการประมวลผลแบบรวดเร็ว เช่น เครือง
คอมพิวเตอร์ควบคุมไฟจราจร ควบคุมลิฟต์ หรือควบคุมระบบอัตโนมัตในรถยนต์
ิ
่
่
2.2 เครืองคอมพิวเตอร์เพื่องานอเนกประสงค์ (General Purpose Computer) หมายถึง เครืองประมวลผล
่
ข้อมูลทีมีความยืดหยุนในการทางาน (Flexible) โดยได้รบการออกแบบให้สามารถประยุกต์ใช้งานประเภทต่างๆ
่
ั
่
่
ได้โดยสะดวก เราสามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรมในเครืองเดียวกันได้ เช่น ในขณะหนึ่งเราอาจใช้เครือง
นี้ในงานประมวลผลเกี่ยวกับระบบบัญชี และสามารถใช้ในการออกเช็คเงินเดือนได้ เป็ นต้น
ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)

 โดยพิจารณาจากความสามารถในการเก็บข้อมูล
3. แบ่งตามความสามารถของระบบ จาแนกได้เป็ น 4 ประเภท
และความเร็วในการประมวลผลเป็ นหลัก ดังนี้
่
่
3.1 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) หมายถึง เครืองประมวลผลข้อมูลทีมีความสามารถในการ
่
ประมวลผลสูงทีสุด สร้างขึ้นเป็ นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์และต้องการความเร็วสูง เช่น งานวิจย
ั
่
ขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสือดาวเทียม หรืองานพยากรณ์อากาศ เป็ นต้น
่
่ ่
3.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หมายถึง เครืองประมวลผลข้อมูลทีมีสวนความจาและ
่
่ ่ ่
ความเร็วน้อยลง สามารถใช้ขอมูลและคาสังของเครืองรุนอืนในตระกูลเดียวกันได้
้
ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)


่
3.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Mini computer ) ธุรกิจหน่วยงานทีมีขนาดเล็กไม่จาเป็ นต้องใช้คอมพิวเตอร์
่
ขนาดเมนเฟรมซึงมีราคาแพง
่
3.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) หมายถึง เครืองประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก มีสวนของ
่
่
หน่วยความจาและความเร็วในการประมวลผลน้อยทีสุด
่
เครืองไมโครคอมพิวเตอร์ จาแนกออกได้เป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1.แบบติดตังใช้งานอยูกบทีบนโต๊ะทางาน (Desktop Computer)
้
่ ั ่
2.แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable Computer) สามารถพกติดตัวได้ อาศัยพลังงานไฟฟ้ า
่
จากแบตเตอรีจากภายนอก เรียกว่า Laptop Computer หรือ Notebook Computer
่
องค์ประกอบของเครืองคอมพิวเตอร์


่ ่
1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิงทีมองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทงหมดทีเ่ กี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่วา
ั้
่
่
จะเป็ นตัวเครืองคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ตอพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่
่
่
เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้ นพิมพ์ เมาส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครืองพิมพ์ และอุปกรณ์อน ๆ
ื่
่ ่
่
2.ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคาสังทีควบคุมให้เครืองคอมพิวเตอร์ทางาน
่ ้
่
่ี
ให้ได้ผลลัพธ์ตามทีตองการ ซึงคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานได้
่ ่ ั่
ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซงเป็ นโปรแกรมหรือชุดคาสังทีสงให้ฮาร์ดแวร์ทางานตามต้องการได้
ึ่
่
องค์ประกอบของเครืองคอมพิวเตอร์ (ต่อ)



ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
่ั
1.)ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็ นซอฟต์แวร์ททาหน้าทีจดการและควบคุม ทรัพยากรต่าง
ี่
่
ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอานวยความสะดวกด้านเครืองมือสาหรับการทางานพื้นฐานต่าง ๆ
2.)ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ทสร้างหรือพัฒนาขึ้น เพื่อใช้
ี่
่ ้
งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามทีผูใ้ ช้ตองการ เช่น งานด้านการจัดทาเอกสาร การทาบัญชี การ
่
จัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอืน ๆ ตามแต่ผูใ้ ช้ตองการ ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจาแนก
้
ได้เป็ น 2 ประเภท คือ
่
2.1ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน คือโปรแกรมซึงเขียนเพื่อการทางานเฉพาะอย่างทีเ่ ราต้องการ
่
2.2ซอฟต์แวร์สาหรับงานทัวไป เป็ นโปรแกรมประยุกต์ทมีผูจดทาไว้เพื่อใช้ในการทางานประเภท
ี่ ้ ั
่
ต่างๆ ทัวไป
่
องค์ประกอบของเครืองคอมพิวเตอร์ (ต่อ)

นคอมพิวเตอร์ซง่ึ มีความรูเ้ กี่ยวกับ
3.)บุคคลากร (Peopleware) คือ บุคลากรในงานด้า
่
่ ้
คอมพิวเตอร์สามารถใช้งาน สังงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานตามทีตองการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ
ดังนี้
-ผูจดการระบบ (System Manager)
้ั
-นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
-โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
-ผูใ้ ช้ (User)
่
่ ่ ้
4.)ข้อมูล เป็ นองค์ประกอบทีสาคัญอย่างหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นสิงทีตองป้ อนเข้าไปใน
่ ั
คอมพิวเตอร์ พร้อมกับโปรแกรมทีนกคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นเพื่อผลิตผลลัพธ์ทตองการออกมา
ี่ ้

More Related Content

What's hot

คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
Tonic Junk
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
Tonic Junk
 

What's hot (8)

work3-18
work3-18work3-18
work3-18
 
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  4แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  4
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
 
https://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comhttps://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.com
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1
ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1
ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอม
 
คอม ยุค 1
คอม ยุค 1คอม ยุค 1
คอม ยุค 1
 

Viewers also liked (8)

เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มเสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
 
Film companies case study
Film companies  case studyFilm companies  case study
Film companies case study
 
Mioma dan cyst
Mioma dan cystMioma dan cyst
Mioma dan cyst
 
My career choice penaloza
My career choice penalozaMy career choice penaloza
My career choice penaloza
 
Analysis
AnalysisAnalysis
Analysis
 
Vietnam tour-promotion-2014
Vietnam tour-promotion-2014Vietnam tour-promotion-2014
Vietnam tour-promotion-2014
 
Initial ideas
Initial ideasInitial ideas
Initial ideas
 
Final ppt
Final pptFinal ppt
Final ppt
 

Similar to เสนอผลงานว ชา งานกล _ม

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Junya Punngam
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Junya Punngam
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
warawee
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
paween
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
krupan
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 

Similar to เสนอผลงานว ชา งานกล _ม (20)

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2 evaluation
2 evaluation2 evaluation
2 evaluation
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 

เสนอผลงานว ชา งานกล _ม

  • 2. เสนอสมาชิก  1.นางสาวสมบัติ 2.นางสาวจันทร์ศรี 3.นางสาวเนติมา 4.นางสาวดวงฤทัย 5.นางสาวสุภา 6.นางสาวสโรชินี ป้ องชาลี ปิ่ นคา มัชเรส ฝาชัยภูมิ ขาห้วยแย้ ศิรชาติ ิ รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010072 รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010071 รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010068 รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010070 รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010056 รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010051
  • 3. คอมพิวเตอร์ คือ  ่ คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึงหมายถึง การนับ หรือ การ คานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้วา ่ ่ ่ "เครืองอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าทีเ่ หมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทีง่าย และซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์" คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อะไรก็ได้ทสามารถรับข้อมูลเข้าไปประมวลผลแล้วได้ผลผลัพธ์ ี่ ่ ออกมาตามความต้องการ โดยส่วนต่างๆ ทีประกอบกันขึ้นมาเป็ นคอมพิวเตอร์จะต้องประกอบไป ด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ หน่วยรับข้อมูล หน่วยความจา หน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยแสดงผล ข้อมูล
  • 5. วิวฒนาการคอมพิวเตอร์(Computer Development) ั  ่ ่ มนุษย์ได้คดค้นเครืองมือสาหรับช่วยในการคานวณมาตังแต่สมัยโบราณ โดยเริมจากการใช้น้ ิว ิ ้ มือและนิ้วเท้าช่วยนับ ต่อมาก็ใช้สงทีอยูรอบๆตัว เช่น ก้อนหิน ก้อนกรวด แท่งไม้ หรือการทา ิ่ ่ ่ ่ ่ ่ ่ เครืองหมายบนพื้นดิน หิน เป็ นต้น เครืองช่วยในการนับทีให้ประโยชน์ตอการนับทีใช้ประโยชน์ตอการ ่ ่ นับเป็ นอย่างมากได้แก่ลูกคิด(Abacus)
  • 6. ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ  ในปี พ.ศ. 2160 จอห์น เนเปี ยร์ (John Napier) นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อต ได้คดอุปกรณ์ทใช้ชวย ิ ี่ ่ ่ การคูณ การหาร และการถอดกรณ์ให้ง่ายขึ้น ซึงเรียกว่า Napier’sbones จอห์น เนเปี ยร์ นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อต ในปี พ.ศ. 2173 วิลเลี่ยม ออกเทรด (William Oughtred) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์ ่ ไม้บรรทัดคานวณ (Slide Rule) ซึงต่อมากลายเป็ นพื้นฐานของการสร้างคอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก ่ ่ ในปี พ.ศ. 2185 เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรังเศส ได้ประดิษฐ์เครือง บวกลบขึ้นโดยใช้หลักการหมุนของฟั นเฟื องและการทดเลขเมื่อฟั นเฟื องหมุนครบรอบ โดยแสดงตัวเลข ่ ่ ่ ่ี ่ จาก 0-9 ออกทีหน้าปั ดซึงมีเลขอยู่ 8 หลัก สิงประดิษฐ์ทวานี้เรียกว่า Pascaline Calculator
  • 7. ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)  ่ เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรังเศส ในปี พ.ศ. 2214 กอตต์ ฟอน ลิบนิซ (Gottfried Von Leibniz) นักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ ชาว ่ เยอรมัน ออกแบบเครืองคิดเลขแบบใช้เฟื องทดเพื่อทาการคูณด้วยวิธีการบวกซา ๆ กัน ไลบนิซเป็ นผู ้ ้ ่ ค้นพบจานวนเลขฐานสอง (Binary Number) ซึงประกอบด้วยเลข 0 และ 1 เป็ นระบบเลขทีเ่ หมาะใน ่ ่ การคานวณ เครืองคิดเลขทีไลบนิซสร้างขึ้น เรียกว่า Leibniz Wheel สามารถ บวก ลบ คูณ หาร ได้
  • 8. ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)  กอตต์ ฟอน ลิบนิซ (Gottfried Von Leibniz) นักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ ชาวเยอรมัน ่ ในปี พ.ศ. 1804 : โจเซฟ มารี แจคการ์ด (Joseph Marie Jacquard) ชาวฝรังเศส เป็ นผูคดประดิษฐ์ ้ิ ่ ่ Jacquard’s Loom เป็ นเครืองทอผ้าทีควบคุมการทอผ้าลายสีตาง ๆ ด้วยบัตรเจาะรู (Punched – card) จึง ่ ่ ่ เป็ นแนวคิดในการประดิษฐ์เครืองเจาะบัตร (Punched – card machine) สาหรับเจาะบัตรทีควบคุมการทอ ่ ่ ่ ่ ่ ผ้าขึ้น และถือว่าเป็ นเครืองจักรทีใช้โปรแกรมสังให้เครืองทางานเป็ นเครืองแรก ในปี พ.ศ. 1822 : ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ศาสตราจารย์ทางคณิตศาสตร์แห่ง ่ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ของอังกฤษ มีแนวความคิดสร้างเครืองหาผลต่าง เรียกว่า Difference Engine โดย ได้รบความช่วยเหลือจากราชสมาคม (Royal Astronomical Society) ของรัฐบาลอังกฤษ สร้างสาเร็จในปี ั ค.ศ. 1832
  • 9. ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)  ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ่ ่ ในปี พ.ศ. 2373 แบบเบจได้พยายามสร้างเครืองคานวณอีกชนิดหนึ่งเรียกว่าเครืองวิเคราะห์ โดยแบ่งการ ่ ่ ทางานของเครืองออกเป็ น 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนควบคุม และส่วนคานวณ เครืองมือนี้ได้รบการ ั ่ ออกแบบให้ใช้ระบบพลังงานเครืองยนต์ไอนาเป็ นตัวหมุนฟั นเฟื อง ้ ในปี พ.ศ. 2393 ยอร์จ บูล ( George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้คดระบบพีชคณิตระบบใหม่ ิ ่ เรียกว่า Boolean Algebra ซึงใช้อธิบายหลักเหตุผลทางตรรกวิทยา ในปี พ.ศ. 2423 ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริธ (Dr Herman Hollerith) นั กสถิตชาวอเมริกน ได้ประดิษฐ์ ิ ั ่ ่่ ่ เครืองมือทีชวยในการทางานด้านสถิตเิ ครืองแรกขึ้น โดยใช้กบบัตรเจาะรูทบนทึกได้ทงตัวเลข ตัวอักษรและ ั ี่ ั ั้ ่ ่ สัญญลักษณ์พิเศษเครืองนี้ได้รบการปรังปรุงเรือยมา และใช้ประโยชน์ครังแรกในปี 1890 โดยใช้ใน งาน ั ้ ่ ประมวลผลด้านสามะโนประชากรของสหรัฐเครืองนี้สามารถอ่านบัตรได้ 250 บัตรต่อนาที
  • 10. ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)  ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริธ (Dr Herman Hollerith) นั กสถิตชาวอเมริกน ิ ั ในปี พ.ศ. ศจ.โฮเวิรด อายเคน (Progessor Howard Aiken) แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ร่วมกับวิศวกร ์ ่ ่ ของบริษท IBM ได้สร้างเครืองคานวณจากความคิดของแบบเบจสาเร็จ ชือว่า Autometic Sequence ั ่ Controlled Calcalator (ASCC) หรือ MARX I เครือง ดังกล่าวนี้ทางานโดยอัตโนมัติ ตลอดทังเครือง ้ ่ ่ ่ี สามารถอ่านข้อมูลจากบัตร หรืออาจะป้ อนข้อมูลเข้า เครืองโดยตังสวิทธ์ทหน้าปั ดควบคุมด้วยมือ และพิมพ์ ้ ่ ่ ่ ผลลัพธ์ออกทางเครืองพิมพ์ไฟฟ้ า หรือเจาะลงบัตร ส่วนการสังและควบคุมให้ทางานนันทาจากภายนอกเครือง ้ โดยใช้บตรเจาะรูหรือเทปกระดาษ ถึงแม้วาเครืองมือจะมีขนาดใหญ่โต มีสวนประกอบมากมายปฏิบตงานช้า ั ่ ่ ่ ัิ ่ ่ ่ กว่าปั จจุบนมาก แต่ก็นบว่าเครือง MARX I เป็ นเครืองคานวณอัตโนมัตเิ ครืองแรกของโลก ั ั
  • 11. ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย  ่ ่ คอมพิวเตอร์ในประเทศไทย เริมใช้ในปี พ.ศ. 2506 โดยเริมใช้ในการศึกษา วิจย เครืองทีใช้ ครังแรกคือ ั ่ ่ ้ ่ ่ เครือง IBM 1620 ซึงติดตังทีคณะ ้ ่ ่ พาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และใช้ในการทาสามะโนประชากร โดยใช้เครือง ่ IBM 1401 ซึงติดตังทีสานักงานสถิตแห่งชาติ ้ ่ ิ ่ ผูทรเิ ริมนาเครืองคอมพิวเตอร์มาใช้ในประเทศไทยคนแรก คือ ศาสตราจารย์บณฑิต กันตะบุตร หัวหน้า ้ ่ี ่ ั ่ ภาควิชาสถิตและเลขาธิการสถิตแห่งชาติจากนันมา เครืองคอมพิวเตอร์ก็มีใช้ในประเทศไทย ตามลาดับดังนี้ ิ ิ ้ พ.ศ. 2507 : ได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานธุรกิจขนาดใหญ่ คือ บ.ปูนซีเมนต์ไทยกับ ธนาคารกรุงเทพ ่ พ.ศ. 2517 : ได้นาคอมพิวเตอร์ไปใช้งานทีตลาดหลักทรัพย์ ในด้านการซื้อขาย โดยใช้ มินิคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2522 : ได้นา ไมโครคอมพิวเตอร์ ไปใช้ในธุรกิจขนาดเล็กมากขัน ้ พ.ศ. 2525 : ได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในด้านการเรียนการสอน ได้แก่ มหาวิทยาลัยโรงเรียนต่างๆ และมีการ เปิ ดสอนวิชาคอมพิวเตอร์กนอย่างแพร่หลาย ั
  • 12. ยุคของคอมพิวเตอร์  ่ ตังแต่ปี พ.ศ. 2493 เป็ นต้นไป ได้มีการใช้คอมพิวเตอร์ในงานต่างๆ อย่างแพร่หลายจึงได้เริมมี ้ การจัดยุคหรือช่วงเวลาของคอมพิวเตอร์โดยถือเอาความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีเป็ นหลักในการ แบ่งยุค ได้มีการแบ่งยุคคอมพิวเตอร์ออกเป็ น 5 ยุค คือ
  • 13. ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  ่ ยุคทีหนึ่งของคอมพิวเตอร์ (FIRST GENERATION) (พ.ศ. 2494-2501) ่ - ลักษณะของเครือง มีขนาดใหญ่โตมาก เกิดความร้อนสูง จึงต้องติดตังในห้องปรับอากาศตลอดเวลา ้ - วัสดุทใช้สร้าง ใช้หลอดสุญญากาศเป็ นหน่วยความจาภายใน ี่ - ความเร็วในการทางาน เป็ นวินาที ่ ่ - สือข้อมูลทีใช้ บัตรเจาะรู เทปกระดาษ และเทปแม่เหล็ก ่ - ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ ภาษาเครือง (Machine Language) และภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ี่ ่ - ตัวอย่างเครือง UNIVAC I, IBM701, NCR102 รูปที่ 1.7 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1
  • 14. ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ่ ยุคทีสองของคอมพิวเตอร์ (SECOND GENERATION) (พ.ศ. 2502-2513) ่ - ลักษะณะของเครือง มีขนาดเล็กลง ใช้ความร้อนน้อยลง ทางานได้เร็วขึ้น - วัสดุทใช้สร้าง ใช้ทรานซิสเตอร์แทนหลอดสุญญากาศ และมีวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core) เป็ น ี่ หน่วยความจาภายใน ่ - ความเร็วในการทางาน มิลลิเซคคัน ่ ่ - สือข้อมูลทีใช้ ใช้บตรเจาะรูและเทปแม่เหล็กเป็ นส่วนใหญ่ ั - ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ ภาษาฟอร์แทรน (Fortran) และภาษาโคบอล (Cobol) ี่ ่ - ตัวอย่างเครือง IBM1620, IBM1401, CDC1604, NCR315  รูปที่ 1.8 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในยุคที่สอง
  • 15. ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  ่ ยุคทีสามของคอมพิวเตอร์ (THIRD GENERATION) (พ.ศ. 2508-2513) ่ ่ - ลักษณะของเครือง มีขนาดเล็กลงกว่าเดิม ใช้ความร้อนน้อยลงไปอีก มีความเร็วเพิ่มยิงขึ้นอีก และมี มินิคอมพิวเตอร์เกิดขึ้น ่ี ่ - วัสดุทใช้สร้าง ใช้ไอซีแทนทรานซิสเตอร์เป็ นหน่วยความจาภายใน ซึงสามารถทางานได้เท่ากับทรานซิสเตอร์ หลายร้อยตัว ่ - ความเร็วในการทางาน ไมโครเซคคัน ่ ่ - สือข้อมูลทีใช้ บัตรเจาะรู เทปแม่เหล็ก และจานแม่เหล็ก ่ี - ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ ภาษาพีแอลวัน (PL/1) และภาษาอาร์พีจี (RPG) 1.9 ่ - ตัวอย่างเครือง IBM360, DC3300, NCR395, UNIVAC9400
  • 16. ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ่ ี่ ยุคทีสของคอมพิวเตอร์ (FOURTH GENERATION) (พ.ศ. 2514-2523) ่ ่ - ลักษณะของเครือง มีไมโครคอมพิวเตอร์เกิดขึ้น ซึงไม่จาเป็ นต้องอยูในห้องปรับอากาศ คอมพิวเตอร์ทางาน ่ เร็วขึ้นและมีประสิทธฺภาพมากขึ้น ่ - วัสดุทใช้สร้าง ใช้แอลเอสไอเป็ นหน่วยความจาภายใน ซึงสามารถทางานได้เท่ากับทรานซิสเตอร์พนตัว ี่ ั ่ ่ - ความเร็วในการทางาน นาโนเซคคันและพิโคเซคคัน ่ - สือข้อมูล เทปแม่เหล็กและจานแม่เหล็ก ส่วนบัตรเจาะรูใช้นอยลงมากกว่ายุคก่อน ้ - ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ เริมมีภาษาใหม่ๆ เช่น ภาษาเบสิก (Basic) ภาษาปาสคาล (Pascal) และภาษาซี (C) ี่ ่ ่ - ตัวอย่างเครือง IBM370, IBM3033,UNIVAC9700, CDC7600, IBMPC (XT และ AT)  1.10
  • 17. ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  ยุคที่หาของคอมพิวเตอร์ (FIFTH GENERATION) ้ (พ.ศ. 2524-ปั จุบน) ั ่ หลายคนคิดว่าในปั จจุบน “คอมพิวเตอร์” ได้กาวสูยุคทีหาแล้ว กล่าวคือ นับตังแต่เริม ค.ศ. 1983 เป็ นต้นมา ั ้ ่ ่ ้ ้ มีการคิดประดิษฐ์ให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจภาษามนุษย์ได้เลย มีการคิดทาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer ่ ่ ่ Network) ซึงหมายถึงการต่อเครืองหลายเครืองให้ทางานร่วมกัน มีการทาคอมพิวเตอร์ให้สามารถเก็บข้อมูลได้ทุก ่ ชนิด พูดง่ายๆ ให้เหมือนมนุษย์เข้าใจภาษามนุษย์ รับส่งข้อมูลทุกอย่างทีมนุษย์รบส่งได้ ฯลฯ ชิพจะมีขนาดเล็กลง ั ขณะเดียวกันมีวงจรผนึกแน่นขึ้นมากด้วย ในปั จจุบนสามารถเพิ่มได้ถึง 250,000 วงจรในชิพเล็กๆ ขนาด ¼ นิ้ว ั ่ ในอนาคตชิพขนาดนี้มีวงจรผนึกถึงหนึ่งล้านตัว ซึงจะทาให้ประสิทธิภาพในการทางานสูงขึ้นด้วย ในยุคนี้ได้มุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถในการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และความสะดวกสบายในการใช้ ่ ่ งานเครืองคอมพิวเตอร์อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครืองคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนี้ โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมีความสามารถสูงขึ้น รวมทังโครงการวิจยและพัฒนา ้ ั เกี่ยวกับ ปั ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็ นหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ โดย หวังให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู ้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล
  • 18. ประเภทของคอมพิวเตอร์  จากประวัตความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์ จะเห็นได้วาเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลง ิ ่ ่ ไปอย่างรวดเร็วมาก ทาให้ปัจจุบนมีเครืองคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้มากมาย หลายรูปแบบตามความต้องการของ ั ผูใ้ ช้ การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์นน สามารถจาแนกอกได้เป็ น 3 กลุ่มหลัก ดังนี้ ั้ 1.แบ่งตามหลักการประมวลผล จาแนกได้เป็ น 3 ประเภท คือ ่ 1.1คอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก (Analog Computer) หมายถึง เครืองมือประมวล ่ ่ ข้อมูลทีอาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ใช้ขอมูลทีมีการเปลี่ยนแปลงแบบต่อเนื่อง (Continuous Data) ้ แสดงในลักษณะสัญญาณ ทีเ่ รียกว่า Analog Signal มักแสดงผลด้วยสเกลหน้าปั ด และเข็มชี้ เช่น การวัดค่า ความยาว โดยเปรียบเทียบสเกลบนไม้บรรทัด การวัดค่าความร้อนจากการขยายตัวของปรอทเปรียบเทียบกับ สเกลข้างหลอดแก้ว
  • 19. ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  ่ ื ่ี ่ 1.2 คอมพิวเตอร์แบบดิจตอล (Digital Computer) ซึงก็คอคอมพิวเตอร์ทใช้ในการทางานทัวๆ ไป ิ ่ ่ ่ ่ ั นันเอง เป็ นเครืองมือประมวลผลข้อมูลทีอาศัยหลักการนับ ทางานกับข้อมูลทีมีลกษณะการ เปลี่ยนแปลงแบบไม่ตอเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะสัญญาณไฟฟ้ า หรือ Digital Signal อาศัย ่ การนับสัญญาณข้อมูลทีเ่ ป็ นจังหวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใต้ระบบฐานเวลา (Clock Time) ่ ่ มาตรฐาน ทาให้ผลลัพธ์เป็ นทีน่าเชือถือ ทังสามารถนับข้อมูลให้คาความละเอียดสูง เช่น แสดงผลลัพธ์ ้ ่ เป็ นทศนิยมได้หลายตาแหน่ง เป็ นต้น
  • 20. ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  ่ ่ 1.3 คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer) คือเครืองประมวลผลข้อมูลทีอาศัยเทคนิคการ ่ ทางานแบบผสมผสานระหว่าง Analog Computer และ Digital Computer โดยทัวไปมักใช้ในงาน ่ ่ เฉพาะกิจ โดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ เช่น เครืองคอมพิวเตอร์ในยานอวกาศทีใช้ Analog Computer ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช้ Digital Computer ในการคานวณ ระยะทาง เป็ นต้น คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer) การทางานแบบผสมผสานของคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ยงต้องอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter) เช่นเดิม ั
  • 21. ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  2.แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน จาแนกได้เป็ น 2 ประเภท คือ ่ 2.1เครืองคอมพิวเตอร์เพื่องานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer) หมายถึง ่ ่ ่ เครืองประมวลผลข้อมูลทีถูกออกแบบตัวเครืองและโปรแกรมควบคุมให้ทางานอย่างใดอย่างหนึ่งเป็ นการเฉพาะ ่ ่ (Inflexible) โดยทัวไปมักใช้งานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมทีเ่ น้นการประมวลผลแบบรวดเร็ว เช่น เครือง คอมพิวเตอร์ควบคุมไฟจราจร ควบคุมลิฟต์ หรือควบคุมระบบอัตโนมัตในรถยนต์ ิ ่ ่ 2.2 เครืองคอมพิวเตอร์เพื่องานอเนกประสงค์ (General Purpose Computer) หมายถึง เครืองประมวลผล ่ ข้อมูลทีมีความยืดหยุนในการทางาน (Flexible) โดยได้รบการออกแบบให้สามารถประยุกต์ใช้งานประเภทต่างๆ ่ ั ่ ่ ได้โดยสะดวก เราสามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรมในเครืองเดียวกันได้ เช่น ในขณะหนึ่งเราอาจใช้เครือง นี้ในงานประมวลผลเกี่ยวกับระบบบัญชี และสามารถใช้ในการออกเช็คเงินเดือนได้ เป็ นต้น
  • 22. ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  โดยพิจารณาจากความสามารถในการเก็บข้อมูล 3. แบ่งตามความสามารถของระบบ จาแนกได้เป็ น 4 ประเภท และความเร็วในการประมวลผลเป็ นหลัก ดังนี้ ่ ่ 3.1 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) หมายถึง เครืองประมวลผลข้อมูลทีมีความสามารถในการ ่ ประมวลผลสูงทีสุด สร้างขึ้นเป็ นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์และต้องการความเร็วสูง เช่น งานวิจย ั ่ ขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสือดาวเทียม หรืองานพยากรณ์อากาศ เป็ นต้น ่ ่ ่ 3.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หมายถึง เครืองประมวลผลข้อมูลทีมีสวนความจาและ ่ ่ ่ ่ ความเร็วน้อยลง สามารถใช้ขอมูลและคาสังของเครืองรุนอืนในตระกูลเดียวกันได้ ้
  • 23. ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  ่ 3.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Mini computer ) ธุรกิจหน่วยงานทีมีขนาดเล็กไม่จาเป็ นต้องใช้คอมพิวเตอร์ ่ ขนาดเมนเฟรมซึงมีราคาแพง ่ 3.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) หมายถึง เครืองประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก มีสวนของ ่ ่ หน่วยความจาและความเร็วในการประมวลผลน้อยทีสุด ่ เครืองไมโครคอมพิวเตอร์ จาแนกออกได้เป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1.แบบติดตังใช้งานอยูกบทีบนโต๊ะทางาน (Desktop Computer) ้ ่ ั ่ 2.แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable Computer) สามารถพกติดตัวได้ อาศัยพลังงานไฟฟ้ า ่ จากแบตเตอรีจากภายนอก เรียกว่า Laptop Computer หรือ Notebook Computer
  • 24. ่ องค์ประกอบของเครืองคอมพิวเตอร์  ่ ่ 1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิงทีมองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทงหมดทีเ่ กี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่วา ั้ ่ ่ จะเป็ นตัวเครืองคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ตอพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่ ่ ่ เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้ นพิมพ์ เมาส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครืองพิมพ์ และอุปกรณ์อน ๆ ื่ ่ ่ ่ 2.ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคาสังทีควบคุมให้เครืองคอมพิวเตอร์ทางาน ่ ้ ่ ่ี ให้ได้ผลลัพธ์ตามทีตองการ ซึงคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานได้ ่ ่ ั่ ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซงเป็ นโปรแกรมหรือชุดคาสังทีสงให้ฮาร์ดแวร์ทางานตามต้องการได้ ึ่
  • 25. ่ องค์ประกอบของเครืองคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ่ั 1.)ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็ นซอฟต์แวร์ททาหน้าทีจดการและควบคุม ทรัพยากรต่าง ี่ ่ ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอานวยความสะดวกด้านเครืองมือสาหรับการทางานพื้นฐานต่าง ๆ 2.)ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ทสร้างหรือพัฒนาขึ้น เพื่อใช้ ี่ ่ ้ งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามทีผูใ้ ช้ตองการ เช่น งานด้านการจัดทาเอกสาร การทาบัญชี การ ่ จัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอืน ๆ ตามแต่ผูใ้ ช้ตองการ ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจาแนก ้ ได้เป็ น 2 ประเภท คือ ่ 2.1ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน คือโปรแกรมซึงเขียนเพื่อการทางานเฉพาะอย่างทีเ่ ราต้องการ ่ 2.2ซอฟต์แวร์สาหรับงานทัวไป เป็ นโปรแกรมประยุกต์ทมีผูจดทาไว้เพื่อใช้ในการทางานประเภท ี่ ้ ั ่ ต่างๆ ทัวไป
  • 26. ่ องค์ประกอบของเครืองคอมพิวเตอร์ (ต่อ) นคอมพิวเตอร์ซง่ึ มีความรูเ้ กี่ยวกับ 3.)บุคคลากร (Peopleware) คือ บุคลากรในงานด้า ่ ่ ้ คอมพิวเตอร์สามารถใช้งาน สังงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานตามทีตองการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้ -ผูจดการระบบ (System Manager) ้ั -นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) -โปรแกรมเมอร์ (Programmer) -ผูใ้ ช้ (User) ่ ่ ่ ้ 4.)ข้อมูล เป็ นองค์ประกอบทีสาคัญอย่างหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นสิงทีตองป้ อนเข้าไปใน ่ ั คอมพิวเตอร์ พร้อมกับโปรแกรมทีนกคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นเพื่อผลิตผลลัพธ์ทตองการออกมา ี่ ้