SlideShare a Scribd company logo
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1
จัดทาโดย
นางสาว สุชัญญา โสภา
ชั้นม.6/11 เลขที่28
เสนอ
คุณครู ประกาศิต ศรีสะอาด
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา คอมพิวเตอร์ รหัส ง30206
ภาคเรียนที่ 2/2560
โรงเรียนมัธยมตระการพืชผล สพม.29
คำนำ
นับตั้งแต่สมัยโบราณที่อารยธรรมเริ่มเกิดขึ้น มนุษย์ได้พยายามคิดค้น
เครื่องมือที่ใช้ทางาน และผ่อนแรง ตลอดจนให้ความสะดวกแก่ตนเองและผู้อื่น เช่นใน
การนับจานวนเลข มนุษย์ในสมัยโบราณรู้จัก ใช้นิ้วมือ ในการนับ และใช้วิธีต่าง ๆ เช่น
ใช้รอยขีด ก้อนหิน หรือแท่งไม้ เพื่อนับจานวนสมาชิกในครอบครัวหรือนับจานวน
สัตว์ที่ล่ามาได้ ต่อมามนุษย์ได้พัฒนาด้านการคานวณได้แก่ การบวก การลบ การคูณ
และการหาร เครื่องมือชนิดแรกที่สามารถถือได้ว่าเป็นต้นกาเนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์
คือ ลูกคิด (Abacus) และยังคงเป็นสิ่งที่ใช้กันมาตราบเท่าทุกวันนี้ อย่างไรก็ตาม
มนุษย์ก็ได้พยายามพัฒนาประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ช่วยในการคานวณให้ง่ายยิ่งขึ้น จนมาเป็น
เครื่องคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันนี้
รูปที่ 1.1 แสดงลูกคิด ซึ่งถือว่าเป็นต้นกาเนิดของเครื่องมือคานวณ
กลุ่มของข้าพเจ้าหวังว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ไม่มากก็น้อย หากมี
ข้อบกพร่องประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
ผู้จัดทา
นางสาวสุชัญญา โสภา
ก
สำรบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ ก
วิวัฒนาการและการแบ่งยุคสมัยของคอมพิวเตอร์ 1
ลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่ง 2
ตาราง แสดงลักษณะฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ใน ยุคแรก ค. ศ. 1951-1958
ใช้วงจรหลอดสูญญากาศ (Vacuum Tubes) 7
คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่ง 8
ลักษณะเฉพาะของคอมพิวเตอร์ยุคที่ 8
เอกสารอ้างอิง 9
วิวัฒนาการและการแบ่งยุคสมัยของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน อาจแบ่งออกได้เป็น 4 ยุค ดังนี้
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 คือ คอมพิวเตอร์ที่ได้รับการพัฒนาขึ้น ในระหว่าง พ.ศ. 2486 ถึง พ.ศ.
2502 เริ่มจากปี พ.ศ. 2486 คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลกได้ถูกประดิษฐ์ขึ้นโดย
ศาสตราจารย์เอคเคิร์ท (J.P. Eckert) และศาสตราจารย์จอห์น มอชลี (John Mauchly) ซึ่งเป็น
อาจารย์ของมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนียประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อใช้ในงานกองทัพสหรัฐอเมริกา
และได้ตั้งชื่อว่าเครื่อง ENIAC (Electronic Numerical Integrator And Calculator) หน่วยความจา
ของเครื่องนี้ทาด้วยหลอดสุญญากาศ การคานวณและการควบคุมการทางานเครื่องนั้น ทาได้โดย
ใช้สวิตช์ปิดเปิดจากภายนอกและปลั๊กบอร์ดเครื่อง ENIAC นี้ สามารถทาการคานวณ บวกหรือลบ
เลขสองจานวนภายในเวลา 1 ในพันวินาที ส่วนการคูณและหารใช้เวลาประมาณ 14 และ 30 เท่า
ของการบวกตามลาดับ
ต่อมาในปี พ.ศ. 2493 ดร. จอห์น ฟอน นอยมานน์ (John Von Neumann) ได้รับการกย่องว่า
เป็นบิดาของคอมพิวเตอร์ยุคใหม่ ร้อยโทเฮอร์มาน โกลด์สไตน์ (Herman Goldstein) และ ดร. อาร์
เธอร์ เบิกส์ (Arthur Burks) ได้ร่วมกันสร้างคอมพิวเตอร์ขึ้นมาใหม่อีกเครื่องหนึ่ง คือ เครื่อง
EDVAC (Electronic Discrete Variable Automatic Computer) เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ที่
สามารถเก็บโปรแกรมคาสั่งไว้ในเครื่องได้ การเขียนโปรแกรมคาสั่ง ทาได้โดยการใช้เลขฐานสอง
เก็บไว้ภายในเครื่อง โดยไม่ต้องสับปลั๊กบอร์ดจากภายนอก ในปีเดียวกันนี้ สานักงานมาตรฐาน
แห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เก็บโปรแกรมคาสั่งไว้ภายใน
เช่นกัน ชื่อเครื่อง SEAC (Standard Eastern Automatic Computer) ในช่วงใกล้เคียงกันนี้
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ประเทศอังกฤษ ได้สร้างเครื่อง EDSAC (Electronic Delay Storage
Automatic Computer) ความสามารถของเครื่อง EDSAC คล้ายคลึงกับเครื่อง EDVAC คือ สามารถ
เก็บโปรแกรมไว้ในหน่วยความจา แต่ลักษณะพิเศษที่แตกต่างออกไป คือ ใช้เทปแม่เหล็กในการ
บันทึกข้อมูล ต่อมาในปี พ.ศ. 2494 ศาสตราจารย์เอคเคิร์ท และศาสตราจารย์มอชลี ได้ร่วมมือกัน
อีกครั้ง สร้างเครื่อง UNIVAC(UNIVersal Automatic Calculator) ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่
และดีที่สุดในยุคนั้น และเป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลายต่อมาอีกหลายปี
1
ลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งยุคที่หนึ่ง
ลักษณะเครื่อง คอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ ใช้ไฟฟ้าแรงสูงจึงต้อง
ติดตั้งในห้องปรับอากาศตลอดเวลา
วัสดุที่ใช้สร้าง ใช้วงจรอิเล็คโทรนิคส์ และหลอดสูญญากาศ
ความเร็วในการทางาน เป็นวินาที
สื่อข้อมูล บัตรเจาะ
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ภาษาเครื่องจักร (Machine Language)
ตัวอย่างเครื่อง UNIVAC, IBM 650, IBM 701, NCR 102 ,MARK
2
UUNNIIVVAACC
3
IIBBMM 650650
4
IIBBMM 701701
5
MMaarrkk II
6
ตาราง แสดงลักษณะฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ใน ยุคแรก ค. ศ. 1951-1958
ใช้วงจรหลอดสูญญากาศ (Vacuum Tubes)
ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ตัวอย่างเครื่อง
- ใช้วงจรหลอดสูญญากาศ (Vacuum
tubes)
- เป็น Electronic Digital Computer
- คอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่มาก
- ความเร็วการทางานเป็นวินาที
- ใช้สื่อบันทึกข้อมูลประเภทดรัม
แม่เหล็ก (Magnetic drum)
- ใช้ภาษาเครื่องจักร (Machine Language)
- ภาษาแอสเซมบลี (Assembly)
- ภาษาที่ใช้ยากต่อการจดจาสาหรับการ
สร้างโปรแกรม ใกล้เคียงภาษาเครื่อง
- UNIVAC I
- IBM 600
- IBM 701
- NCR 102
7
คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่ง
เริ่มจากปี ค.ศ. 1951 - 1958 ใช้หลอดสูญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นวงจรสาคัญในการทางาน
นับเป็นยุคเริ่มต้นที่ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พึ่งก่อเกิด คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่
UNIVAC, ENIACคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ มักจะใช้กับงานธุรกิจ เช่น งานเงินเดือน บัญชี หรือ
ควบคุมสินค้าคงคลัง
ลักษณะเฉพาะของคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1
1.ใช้หลอดสูญญากาศ เป็นส่วนประกอบหลัก
2.ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่ ใช้กาลังไฟฟ้ าสูง เกิดความร้อนสูง
3.ทางานด้วยภาษาเครื่อง (Machine Language)
4.มีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์ เช่น Symbolic Language และ Assembly
Vacuum Tube หรือ หลอดสูญญากาศ
8
เอกสารอ้างอิง
http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2544/jeeb/class_net2/mark1.htm
http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/educate/edu48/les12.htm
http://www.owchallie.com/systems/evolution.php
http://history.sandiego.edu/GEN/recording/computer1.html
http://library.thinkquest.org/C0115420/Cyber
club%20800x600/History/1st%20Generation%20Computers%20(194
0s-1956).htm
9

More Related Content

Similar to รายงานคอมพิวเตอร์

โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3Pop Nattakarn
 
https://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comhttps://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.com
athiwatpc
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
phonon701
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
chulalak yeekheng
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
phataimas boonkong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Mathawat
 
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
Apiradee Deekul
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
Chompunoot Noomuang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Kawinna2538
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ASUS
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ASUSโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ASUS
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ASUS
แทน จิบิ
 
E:\works\turing machine2
E:\works\turing machine2E:\works\turing machine2
E:\works\turing machine2bewhands
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2bewhands
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Nathdar Destiny
 

Similar to รายงานคอมพิวเตอร์ (20)

โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
https://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comhttps://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.com
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Ppp.
Ppp.Ppp.
Ppp.
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ASUS
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ASUSโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ASUS
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ASUS
 
E:\works\turing machine2
E:\works\turing machine2E:\works\turing machine2
E:\works\turing machine2
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
K9
K9K9
K9
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

รายงานคอมพิวเตอร์

  • 1. วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 จัดทาโดย นางสาว สุชัญญา โสภา ชั้นม.6/11 เลขที่28 เสนอ คุณครู ประกาศิต ศรีสะอาด รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา คอมพิวเตอร์ รหัส ง30206 ภาคเรียนที่ 2/2560 โรงเรียนมัธยมตระการพืชผล สพม.29
  • 2. คำนำ นับตั้งแต่สมัยโบราณที่อารยธรรมเริ่มเกิดขึ้น มนุษย์ได้พยายามคิดค้น เครื่องมือที่ใช้ทางาน และผ่อนแรง ตลอดจนให้ความสะดวกแก่ตนเองและผู้อื่น เช่นใน การนับจานวนเลข มนุษย์ในสมัยโบราณรู้จัก ใช้นิ้วมือ ในการนับ และใช้วิธีต่าง ๆ เช่น ใช้รอยขีด ก้อนหิน หรือแท่งไม้ เพื่อนับจานวนสมาชิกในครอบครัวหรือนับจานวน สัตว์ที่ล่ามาได้ ต่อมามนุษย์ได้พัฒนาด้านการคานวณได้แก่ การบวก การลบ การคูณ และการหาร เครื่องมือชนิดแรกที่สามารถถือได้ว่าเป็นต้นกาเนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ คือ ลูกคิด (Abacus) และยังคงเป็นสิ่งที่ใช้กันมาตราบเท่าทุกวันนี้ อย่างไรก็ตาม มนุษย์ก็ได้พยายามพัฒนาประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ช่วยในการคานวณให้ง่ายยิ่งขึ้น จนมาเป็น เครื่องคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันนี้ รูปที่ 1.1 แสดงลูกคิด ซึ่งถือว่าเป็นต้นกาเนิดของเครื่องมือคานวณ กลุ่มของข้าพเจ้าหวังว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ไม่มากก็น้อย หากมี ข้อบกพร่องประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ผู้จัดทา นางสาวสุชัญญา โสภา ก
  • 3. สำรบัญ เรื่อง หน้า คำนำ ก วิวัฒนาการและการแบ่งยุคสมัยของคอมพิวเตอร์ 1 ลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่ง 2 ตาราง แสดงลักษณะฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ใน ยุคแรก ค. ศ. 1951-1958 ใช้วงจรหลอดสูญญากาศ (Vacuum Tubes) 7 คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่ง 8 ลักษณะเฉพาะของคอมพิวเตอร์ยุคที่ 8 เอกสารอ้างอิง 9
  • 4. วิวัฒนาการและการแบ่งยุคสมัยของคอมพิวเตอร์ วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน อาจแบ่งออกได้เป็น 4 ยุค ดังนี้ คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 คือ คอมพิวเตอร์ที่ได้รับการพัฒนาขึ้น ในระหว่าง พ.ศ. 2486 ถึง พ.ศ. 2502 เริ่มจากปี พ.ศ. 2486 คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลกได้ถูกประดิษฐ์ขึ้นโดย ศาสตราจารย์เอคเคิร์ท (J.P. Eckert) และศาสตราจารย์จอห์น มอชลี (John Mauchly) ซึ่งเป็น อาจารย์ของมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนียประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อใช้ในงานกองทัพสหรัฐอเมริกา และได้ตั้งชื่อว่าเครื่อง ENIAC (Electronic Numerical Integrator And Calculator) หน่วยความจา ของเครื่องนี้ทาด้วยหลอดสุญญากาศ การคานวณและการควบคุมการทางานเครื่องนั้น ทาได้โดย ใช้สวิตช์ปิดเปิดจากภายนอกและปลั๊กบอร์ดเครื่อง ENIAC นี้ สามารถทาการคานวณ บวกหรือลบ เลขสองจานวนภายในเวลา 1 ในพันวินาที ส่วนการคูณและหารใช้เวลาประมาณ 14 และ 30 เท่า ของการบวกตามลาดับ ต่อมาในปี พ.ศ. 2493 ดร. จอห์น ฟอน นอยมานน์ (John Von Neumann) ได้รับการกย่องว่า เป็นบิดาของคอมพิวเตอร์ยุคใหม่ ร้อยโทเฮอร์มาน โกลด์สไตน์ (Herman Goldstein) และ ดร. อาร์ เธอร์ เบิกส์ (Arthur Burks) ได้ร่วมกันสร้างคอมพิวเตอร์ขึ้นมาใหม่อีกเครื่องหนึ่ง คือ เครื่อง EDVAC (Electronic Discrete Variable Automatic Computer) เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ที่ สามารถเก็บโปรแกรมคาสั่งไว้ในเครื่องได้ การเขียนโปรแกรมคาสั่ง ทาได้โดยการใช้เลขฐานสอง เก็บไว้ภายในเครื่อง โดยไม่ต้องสับปลั๊กบอร์ดจากภายนอก ในปีเดียวกันนี้ สานักงานมาตรฐาน แห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เก็บโปรแกรมคาสั่งไว้ภายใน เช่นกัน ชื่อเครื่อง SEAC (Standard Eastern Automatic Computer) ในช่วงใกล้เคียงกันนี้ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ประเทศอังกฤษ ได้สร้างเครื่อง EDSAC (Electronic Delay Storage Automatic Computer) ความสามารถของเครื่อง EDSAC คล้ายคลึงกับเครื่อง EDVAC คือ สามารถ เก็บโปรแกรมไว้ในหน่วยความจา แต่ลักษณะพิเศษที่แตกต่างออกไป คือ ใช้เทปแม่เหล็กในการ บันทึกข้อมูล ต่อมาในปี พ.ศ. 2494 ศาสตราจารย์เอคเคิร์ท และศาสตราจารย์มอชลี ได้ร่วมมือกัน อีกครั้ง สร้างเครื่อง UNIVAC(UNIVersal Automatic Calculator) ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ และดีที่สุดในยุคนั้น และเป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลายต่อมาอีกหลายปี 1
  • 5. ลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งยุคที่หนึ่ง ลักษณะเครื่อง คอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ ใช้ไฟฟ้าแรงสูงจึงต้อง ติดตั้งในห้องปรับอากาศตลอดเวลา วัสดุที่ใช้สร้าง ใช้วงจรอิเล็คโทรนิคส์ และหลอดสูญญากาศ ความเร็วในการทางาน เป็นวินาที สื่อข้อมูล บัตรเจาะ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ภาษาเครื่องจักร (Machine Language) ตัวอย่างเครื่อง UNIVAC, IBM 650, IBM 701, NCR 102 ,MARK 2
  • 10. ตาราง แสดงลักษณะฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ใน ยุคแรก ค. ศ. 1951-1958 ใช้วงจรหลอดสูญญากาศ (Vacuum Tubes) ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ตัวอย่างเครื่อง - ใช้วงจรหลอดสูญญากาศ (Vacuum tubes) - เป็น Electronic Digital Computer - คอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่มาก - ความเร็วการทางานเป็นวินาที - ใช้สื่อบันทึกข้อมูลประเภทดรัม แม่เหล็ก (Magnetic drum) - ใช้ภาษาเครื่องจักร (Machine Language) - ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) - ภาษาที่ใช้ยากต่อการจดจาสาหรับการ สร้างโปรแกรม ใกล้เคียงภาษาเครื่อง - UNIVAC I - IBM 600 - IBM 701 - NCR 102 7
  • 11. คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่ง เริ่มจากปี ค.ศ. 1951 - 1958 ใช้หลอดสูญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นวงจรสาคัญในการทางาน นับเป็นยุคเริ่มต้นที่ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พึ่งก่อเกิด คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ UNIVAC, ENIACคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ มักจะใช้กับงานธุรกิจ เช่น งานเงินเดือน บัญชี หรือ ควบคุมสินค้าคงคลัง ลักษณะเฉพาะของคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 1.ใช้หลอดสูญญากาศ เป็นส่วนประกอบหลัก 2.ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่ ใช้กาลังไฟฟ้ าสูง เกิดความร้อนสูง 3.ทางานด้วยภาษาเครื่อง (Machine Language) 4.มีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์ เช่น Symbolic Language และ Assembly Vacuum Tube หรือ หลอดสูญญากาศ 8