SlideShare a Scribd company logo
1 of 96
อ า เ ซี ย น ( ASEAN) เ ป็ น ก า ร ร ว ม ตั ว กั น
ของ 10 ประเทศ ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผู้นาอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฎิญญาว่าด้วย ความร่วมมือ
อาเซียนเห็นชอบ ให้จัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN
Community) คือ เป็นองค์กรระหว่างประเทศ ระดับ
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศ
ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปิ นส์ ได้ร่วมกันจัดตั้ง สมาคม
อาสา (Association of South East Asia)
เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพื่อการร่ วมมือกันทาง
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ดาเนินการไปได้เพียง 2
ปี ก็ต้องหยุดชะงักลงเนื่องจากความผกผันทางการเมือง
ระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย
Association of Southeast Asian Nations
หรือ ASEAN ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ หรือปฏิญญาอาเซียน
เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศสมาชิก 5 ประเทศ
ประกอบด้วย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ และไทย
เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมามีประเทศสมาชิกเพิ่มเติม
ได้แก่ บรูไนดารุส-ซาลาม เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และกัมพูชา
ตามลาดับ จึงทาให้ปัจจุบันอาเซียนมีสมาชิก 10 ประเทศ
ปัจจุบันบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ทาให้อาเซียนต้องเผชิญ
สิ่งท้าทายใหม่ๆ อาทิโรคระบาด การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์
สิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติ อีกทั้งยังมีความจาเป็นต้องรวมตัวกันเพื่อเพิ่มอานาจต่อรอง
และขีดความสามารถทางการแข่งขันกับประเทศในภูมิภาคใกล้เคียง
และในเวทีระหว่างประเทศ ผู้นาอาเซียนจึงเห็นพ้องกันว่า อาเซียนควรจะร่วมมือ
กัน ใ ห้เ ห นี ย วแ น่ น เข้ม แ ข็ง แ ล ะ มั่น ค งยิ่งขึ้ น จึ งไ ด้ป ร ะก าศ
“ ป ฏิ ญ ญ า ว่ า ด้ ว ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ใ น อ า เ ซี ย น ฉ บั บ ที่ 2 ”
Declaration of ASEAN Concord II ซึ่งกาหนดให้มีการสร้างประชาคม
อาเซียนที่ประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
ASEAN Political and Security Community – APSC
มุ่งให้ประเทศกลุ่มสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข แก้ไขปัญหาระหว่าง
กันโดยสันติวิธี มีเสถียรภาพและความมั่นคงรอบด้านเพื่อความมั่นคงปลอดภัยของ
เหล่าประชาชน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ASEAN Economic Community – AEC
มุ่งเน้นให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และความสะดวกในการติดต่อ
ค้าขายระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆได้โดย
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
ASEAN Socio - Cultural Community – ASCC
มุ่งหวังให้ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่นคงทาง
สังคม มีการพัฒนาในทุกๆ ด้าน และมีสังคมแบบเอื้ออารโดยจะมีแผนงานสร้างความ
ร่วมมือ 6 ด้าน คือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม สิทธิ
และความยุติธรรมทางสังคม ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
การลดช่องว่างทางการพัฒนา
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ การรวมตัวของ
กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนให้เป็นชุมชนที่มีความแข็งแกร่ง สามารถสร้างโอกาส
และรับมือส่งท้าท้าย ทั้งด้านการเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ และภัยคุกคาม
รูปแบบใหม่ โดยสมาชิกในชุมชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี สามารถประกอบ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น และสมาชิก ในชุมชนมี
ความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์สาคัญ 7 ประการของการจัดตั้ง
อาเซียน ได้แก่
1. ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทาง
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร
2. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค
3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรม
ในภูมิภาค
4. ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี
5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการฝึกอบรม
และการวิจัย และส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การ
ขยายการค้า ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม
7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก
องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การระหว่าง
ประเทศ
"หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม”
One Vision, One Identity, One Community
อาเซียนจะต้องส่งเสริมอัตลักษณ์ร่วมกันของตนและ
ความรู้สึกเป็นเจ้าของในหมู่ประชาชนของตน เพื่อให้
บรรลุชะตา เป้าหมาย และคุณค่าร่วมกันของอาเซียน
คือ ดวงตราอาเซียนเป็น
รูปมัดรวงข้าว สีเหลืองบนพื้นวงกลม
สีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาว และสีน้าเงิน
รวงข้าวสีเหลือง 10 ต้น หมายถึง ความใฝ่ฝันของบรรดาสมาชิกใน
เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ ให้มีอาเซียนที่ผูกพันกันอย่างมีมิตรภาพ
และเป็นหนึ่งเดียว
วงกลม เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงเอกภาพของอาเซียน
ตัวอักษรคาว่า asean สีน้าเงิน อยู่ใต้ภาพรวงข้าว แสดงถึงความ
มุ่งมั่นที่จะทางานร่วมกันเพื่อความมั่นคง สันติภพ เอกภาพ และความก้าวหน้า
ของประเทศสมาชิกอาเซียน
สีเหลือง : หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
สีแดง : หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวัติ
สีขาว : หมายถึง ความบริสุทธิ์
สีน้าเงิน : หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
ธงอาเซียนเป็นธงพื้นสีน้าเงิน มีดวงตราอาเซียนอยู่ตรงกลาง แสดงถึง
เสถียรภาพ สันติภาพ ความสามัคคี และพลวัตของอาเซี ยน
สีของธงประกอบด้วย สีน้าเงิน สีแดง สีขาว และสีเหลือง ซึ่งเป็นสีหลัก
ในธงชาติของบรรดาประเทศสมาชิกของอาเซียนทั้งหมด
กฎบัตรอาเซียน กาหนดให้อาเซียนและประเทศสมาชิกปฏิบัติตามหลักการ
ดังต่อไปนี้
1. เคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแห่งดินแดน
และอัตลักษณ์แห่งชาติของรัฐสมาชิกอาเซียนทั้งปวง
2. ผูกพันและรับผิดชอบร่วมกันในการเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคง
และความมั่งคั่งของภูมิภาค
3. ไม่รุกรานหรือข่มขู่ว่าจะใช้กาลังหรือการกระทาอื่นใดในลักษณะที่
ขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศ
4. ระงับข้อพิพาทโดยสันติ
5. ไม่แทรกแซงกิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน
6. เคารพสิทธิของรัฐสมาชิกทุกรัฐในการธารงประชาชาติของตน
โดยปราศจากการแทรกแซง การบ่อนทาลาย และการบังคับจากภายนอก
7. ปรึกษาหารือที่เพิ่มพูนขึ้นในเรื่องที่มีผลกระทบอย่างร้ายแรง
ต่อผลประโยชน์ร่วมกันของอาเซียน
8. ยึดมั่นต่อหลักนิติธรรม ธรรมาภิบาล หลักการประชาธิปไตยและ
รัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ
9. เคารพเสรีภาพพื้นฐาน การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
และการส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคม
10. ยึดถือกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ
รวมถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศที่รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับ
11. ละเว้นจากการมีส่วนร่วมในการคุกคามอธิปไตย บูรณภาพ
แห่งดินแดนหรือเสถียรภาพทางการเมืองและเศรษฐกิจของรัฐสมาชิก
อาเซียน
12. เคารพในวัฒนธรรม ภาษา และศาสนาที่แตกต่างของ
ประชาชนอาเซียน
13. มีส่วนร่วมกับอาเซียนในการสร้างความสัมพันธ์กับภายนอก
ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยไม่ปิดกั้นและไม่เลือก
ปฏิบัติ
14. ยึดมั่นในกฎการค้าพหุภาคีและระบอบของอาเซียน
ประการแรก ไทยจะ “มีหน้ามีตาและฐานะ” เด่นขึ้นประชาคม
อาเซียนจะทาให้เศรษฐกิจ “ของเรา” มีมูลค่ารวมกัน 1.8 ล้านล้าน
ดอลลาร์สหรัฐ และมีขนาดใหญ่อันดับ 9 ของโลก ยังประโยชน์แก่คน
ไทยทุกคนที่จะได้ยืนอย่างสง่างาม “ยิ้มสยาม” จะคมชัดขึ้น
ประการที่สอง การค้าระหว่างไทยกับประเทศอาเซียนจะคล่องและ
ขยายตัวมากขึ้น กาแพงภาษีจะลดลงจนเกือบจะหมดไปเพราะ 10 ตลาด
กลายเป็นตลาดเดียว ผู้ผลิตจะส่งสินค้าไปขายในตลาดนี้และขยับขยาย
ธุรกิจของตนง่ายขึ้น ขณะเดียวกันผู้บริโภคก็จะมีทางเลือกมากขึ้นราคา
สินค้าจะถูกลง
ประการที่สาม ตลาดของเราจะใหญ่ขึ้น แทนที่จะเป็นตลาดของคน
67 ล้านคน ก็จะกลายเป็นตลาดของคน 590 ล้านคน ซึ่งจะทาให้ไทย
กลายเป็นแหล่งลงทุนที่น่าสนใจ เพราะสินค้าที่ผลิตในประเทศไทย
สามารถส่งออกไปยังอีกเก้าประเทศได้ราวกับส่งไปขายต่างจังหวัด ซึ่งก็
จะช่วยให้เราสามารถแข่งขันกับจีนและอินเดียในการดึงดูดการลงทุน
ได้มากขึ้น
ประการที่สี่ ความเป็นประชาคมจะทาให้มีการพัฒนาเครือข่ายการ
สื่อสารคมนาคมระหว่างกันเพื่อประโยชน์ด้านการค้าและการลงทุน แต่
ก็ยังผลพลอยได้ในแง่การไปมาหาสู่กัน ซึ่งก็จะช่วยให้คนในอาเซียนมี
ปฏิสัมพันธ์กัน รู้จักกัน และสนิทแน่นแฟ้นกันมากขึ้น เป็นผลดีต่อสันติ
สุข ความเข้าใจอันดีและความร่วมมือกันโดยรวม นับเป็นผลทาง
สร้างสรรค์ในหลายมิติด้วยกัน
ประการที่ห้า โดยที่ ไทยตั้งอยู่ในจุดกึ่งกลางบนภาคพื้น
แผ่นดินใหญ่อาเซียน ประเทศไทยย่อมได้รับประโยชน์จากปริมาณการ
คมนาคมขนส่งที่จะเพิ่มขึ้นในอาเซียนและระหว่างอาเซียนกับจีน (และ
อินเดีย) มากยิ่งกว่าประเทศอื่นๆ
บริษัทด้านขนส่ง คลังสินค้า ปั๊มน้ามัน ฯลฯ จะได้รับประโยชน์อย่าง
ชัดเจน จริงอยู่ ประชาคมอาเซียนจะยังผลทั้งด้านบวกและลบต่อประเทศ
ไทย ขึ้นอยู่กับพวกเราคนไทยจะเตรียมตัวอย่างไร แต่ผลทางบวกนั้นจะ
ชัดเจน เป็นรูปธรรมและจับต้องได้
ผลจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ณ เกาะบาหลี ประเทศ
อินโดนีเซีย ได้กาหนดให้จัดทาข้อตกลงยอมรับร่ วมกัน
(Mutual Recognition Arrangements : MRAs)
ด้าน คุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก เพื่ออานวยความสะดวกในการ
เคลื่อนย้ายนักวิชาชีพ หรือแรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษ
ของอาเซียนได้อย่างเสรี ด้านคุณสมบัติในสาขาอาชีพหลัก เพื่ออานวย
ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย นักวิชาชีพ แรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มี
ความสามารถพิเศษได้อย่างเสรี ข้อตกลงเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงาน
ฝีมือไปทางานในประเทศกลุ่มอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้อย่างเสรี ได้
กาหนดครอบคลุม 7 อาชีพ และก็มีข่าวว่าอาจจะมีการเพิ่มจานวนอาชีพ
ขึ้นมาอีกในลาดับถัดไป สาหรับ 7 อาชีพที่มีข้อตกลงกันแล้วให้สามารถ
เคลื่อนย้ายไปทางานได้อย่างเสรี
และการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีในกลุ่ม 7 อาชีพนั้น มีผลดีต่อ
ไทยไม่น้อย เพราะในภาพรวม สถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษาใน
ไทยมีศักยภาพในด้านการผลิตบุคลากรในสายวิชาชีพทั้ง 7 ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพสูง ซึ่งทา ให้ผู้จบ การศึกษาในสายวิชาชีพทั้ง 7 ตั้งแต่
ระดับปริญญาตรีจนถึงปริญญาเอกมีตลาดงานที่เปิดกว้างมากขึ้น
จากเดิมที่ตลาดมีแค่การให้บริการประชาชน 63 ล้านคน เป็นตลาด
ของประชาชนร่วม 600 ล้านคนใน 10 ประเทศ อาเซียน นอกจากนั้น
ประเทศเหล่านี้รวมทั้งไทยอยู่ในทิศทางที่กาลังเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ
ทั้ง สิ้น เร็วบ้าง ช้าบ้าง และโดย ภาพรวมคุณภาพของผู้จบวิชาชีพทั้ง 7
ในไทยก็สูงอยู่ในระดับแถวหน้าของประเทศอาเซียน ทาให้โอกาสใน
การหางานมีสูง
ในขณะที่คนไทยสามารถไปทางานในประเทศอาเซียนได้อย่างเสรีนั้น
สภาวิชาชีพ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดูแล มาตรฐานของอาชีพทั้ง 8 นั้น
คงต้องมีการดาเนินการอย่างเข้มแข็งรัดกุมเป็นอย่างมาก เพื่อรักษามาตรฐานของ
ผู้จบวิชาชีพ ในสาขาอาชีพนั้นๆ ในไทยให้คงเดิม หรือยกระดับให้สูงขึ้นไปอีก
ป้ องกันมิให้เกิดการอ่อนด้อยในเรื่องมาตรฐานของ องค์กรในการผลิตคน บาง
แห่งที่อาจใช้โอกาสนี้เพิ่มรายได้ในการเร่งผลิตคนในวิชาชีพเหล่านั้น จานวน
มากเพื่อตอบสนอง ตลาดที่ใหญ่ขึ้น มิฉะนั้นอาจส่งผลกระทบทางลบโดยรวมอีก
ปัญหาที่อาจะตามมาอีกอย่างคือ บางวิชาชีพไทยเริ่มจะเข้าสู่วิกฤตการขาดแคลน
อาจารย์เช่น ทันตแพทย์ถ้าแก้ปัญหาไม่ ทันท่วงทีในเวลาอีกสามถึงห้าปีข้างหน้า
ไทยจะมีปัญหาเรื่องการสร้างบุคลากรรุ่นใหม่ในสายวิชาชีพทันตแพทย์อย่าง
แน่นอน
ขณะเดียวกัน ก็ต้องระวังดูแลในเรื่องมาตรฐานของคนจากประเทศ
ต่างๆ ในอาเซียนที่เข้ามาประกอบอาชีพทั้ง 8 อาชีพ ในไทยด้วยเช่นกัน เพราะ
อาจจะมีผู้มาจากประเทศอื่นที่มาประกอบอาชีพในไทยมีปัญหาความอ่อน
ด้อยใน เรื่องมาตรฐาน ซึ่งถ้าดูแลไม่รอบคอบรัดกุม อาจก่อเกิดผลกระทบกับ
สังคมไทยในทางลบ และอาจส่งผลต่อปัญหาการประกอบอาชีพของ คนไทย
เอง
แต่อย่างไรก็ตาม ในภาพรวมสังคมไทยกาลังเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุ
จานวนคนในวัยทางานกาลังลดลงอย่างมีนัยสาคัญ มีข้อมูลว่าอีกประมาณสิบ
ปี ข้างหน้า สัดส่วนคนในวัยทางานจะต่ากว่าประชากรผู้สูงอายุมาก นี่จะทา
ให้เกิดการขาดแคลน แรงงาน โดยเฉพาะแรงงานฝี มือในกลุ่มอาชีพทั้ง 8 นั้น
ผู้ที่จบจากสายวิชาชีพดังกล่าวจะประกันได้ว่าไม่น่าจะมีใครที่ตกงาน เพราะมี
ตลาดใหญ่มากรองรับทั้งในไทย และในประเทศอาเซียน
คุณลักษณะของผู้ประกอบอาชีพแพทย์
1. เป็นผู้ที่สนและเสียสละต่อเพื่อนมนุษย์ มีมารยาทดี และปรับตัวเข้ากับทุกคนได้
2. มีความสนใจวิทยาการต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
นอกจากนี้ยังต้องสนใจทางด้านประวัติศาสตร์ วรรณคดี จิตวิทยา ภาษาอังกฤษ
สังคมศาสตร์ และมนุษย์ศาสตร์
3. มีความมั่นคงทางอารมณ์และจิตใจ ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ อดทน
4. ซื่อสัตย์ในวิชาชีพของตน ไม่ใช้ความรู้ทางวิชาการหลอกลวงผู้อื่น
5. มีจิตใจเป็นนักวิทยาศาสตร์ คิดด้วยเหตุผล
6. ช่างสังเกตและละเอียดถี่ถ้วน แต่ต้องฉับไว เพราะช้าอาจหมายถึงชีวิตของผู้ป่วย
7. ต้องไม่รังเกียจต่อสิ่งปฏิกูล เช่น อุจจาระ ปัสสาวะ นามูก นาเหลือง อาเจียน
เพราะต้องนาสิ่งเหล่านี้ไปตรวจ
ลักษณะอาชีพ
ผู้ให้บริการทางการแพทย์และอนามัยแก่ชุมชน เพื่อบาบัดรักษา
ฟื้นฟูสมรรถภาพและป้องกันโรคทั่วๆไปได้โดยถูกต้องเหมาะสมด้วย
การวินิจฉัยโรคสั่งยา และให้การรักษาทางอายุรกรรม และศัลยกรรมใน
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับร่างกายและจิตใจของมนุษย์
สภาพการจ้างงาน
ผู้ประกอบอาชีพนี้ได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือน ตามวุฒิ
การศึกษา สาเร็จการศึกษาวิชาการแพทย์ซึ่งไม่มีประสบการณ์ในการ
ทางาน
คุณลักษณะของผู้ประกอบอาชีพทันตแพทย์
1. ด้านการศึกษา ควรมีพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี
2. ด้านความถนัด ควรมีความถนัดในการใช้เครื่องมือเกี่ยวกับการปั้นและการ
ประดิษฐ์และตกแต่งฟัน จึงเป็นงานประเภทการฝีมือที่ละเอียดอ่อนประเภทหนึ่ง
3. ด้านสุขภาพและบุคลิกลักษณะ ควรมีสุขภาพดี แข็งแรงสมบูรณ์ มีบุคลิกภาพดี
รู้หลักจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ในการปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดี
4. มีฐานะทางการเงินดี เพราะต้องใช้เวลาเรียนหลายปี และมีค่าใช้จ่ายเพื่อ
การศึกษามาก
5. ต้องมีคุณสมบัติที่จะเข้ารับราชการได้หลังจากจบการศึกษาแล้ว
6. ก่อนเข้าศึกษาสามารถทาสัญญาเข้ารับราชการ
ลักษณะอาชีพ
1. การตรวจสุขภาพในช่องปาก 2. การถอนฟัน
3. การจัดฟัน 4. การอุดฟัน
5. ให้คาปรึกษาด้านการดูแลรักษาสุขภาพในช่องปาก
6. การครอบฟัน 7. อื่น ๆ
สภาพการจ้างงาน
ทันตแพทย์สามารถทางานในภาครัฐ และภาคเอกชนโดยประกอบอาชีพตาม
สถานบริการทันตกรรม โรงพยาบาลของรัฐ และเอกชน หรือประกอบธุรกิจ
ส่วนตัว ทันตแพทย์ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจะได้รับเงินเดือนเทียบเท่า
วุฒิปริญญาตรีทั่วไป อัตราค่าจ้างเป็นรายเดือนแตกต่างกันไปตามความรู้ และความ
ชานาญ สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาใหม่ ไม่มีประสบการณ์จะมีรายได้โดยประมาณ
คุณลักษณะของผู้ประกอบอาชีพนักบัญชี
ควรเป็ นผู้ที่มีความรอบคอบ ซื่อสัตย์ ละเอียด ชอบการติดต่อ
ประชาสัมพันธ์กับคนทั่วไป รักความก้าวหน้า มีความคิดริเริ่ม มีความสามารถ
วิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์งานได้อย่างมีระบบ ตัดสินใจเร็ว มีความสนใจและ
ตื่นตัวในเรื่องทั่วไปและก้าวหน้าทันโลก เพราะงานที่เกี่ยวกับการบัญชี การ
พาณิชย์ในองค์การธุรกิจ เป็นงานที่ท้าทายและต้องแข่งขันกับคู่แข่ง ต้องมีการ
เคลื่อนไหวให้ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันเสมอ มีความคิดสร้างสรรค์อยู่ตลอดเวลา
ถนัดในเรื่องของคณิตศาสตร์ พอสมควร เพื่อช่วยในการตัดสินใจได้เร็วและถูกต้อง
ลักษณะอาชีพ
ผู้ปฏิบัติงานพนักงานบัญชี ทางานเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมรายการ
รายรับ และรายจ่ายของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน จัดทาเป็นรายงาน
ตามระบบ และระเบียบของการทาบัญชี จัดทาบัญชีด้วยตนเองหรือร่วม
ทางานกับผู้อื่น กากับดูแลการทางานบัญชีของเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบความถูก
ต้อง และนาเสนอผู้มีหน้าที่ความรับผิดชอบตามลาดับ อาจทางบดุลประจาปี
อาจทาหน้าที่ในการรับ และการจ่ายเงินตามที่ได้รับมอบหมาย
สภาพการจ้างงาน
ในหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ จะได้รับเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา
ส่วนในภาคเอกชน จะได้รับเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา และประสบการณ์ใน
การทางาน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของบริษัทหรือองค์กรที่จ้างงานพนักงาน
บัญชี ซึ่งไม่มีข้อกาหนดที่แน่นอนตายตัว
คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพวิศวกร
1. สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา
2. เป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ มุ่งมั่น ค้นคว้าอย่างต่อเนื่องเพื่อหาวิธีที่ประหยัด
และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3. มีวิสัยทัศน์และสนใจกับเหตุการณ์ ข่าวสารที่เกิดขึ้นตลอดเวลา รับฟังความ
คิดเห็นของผู้อื่นและมีจรรยาบรรณของวิศวกร
4. มีความอดทนและเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ มีอารมณ์เยือกเย็น มีความคิด
สุขุม
5. มีลักษณะเป็นผู้นา ทั้งนี้งานส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการควบคุมคนเป็นจานวนมาก
6. มีพื้นฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ ภาษาอังกฤษและคณิตศาสตร์เป็นอย่างดี
7. ผู้ประกอบอาชีพวิศวกรในทุกสาขาควรจะมีใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมเพื่อใช้
ในการรับรองสาหรับการประกอบอาชีพ ซึ่งต้องมี คุณสมบัติ และวุฒิการศึกษาตาม
ข้อกาหนด โดยจะขอรับใบอนุญาตได้ที่ กองวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สังกัด
กระทรวงมหาดไทย
ลักษณะอาชีพ
วิศวกร ผู้ที่ประกอบอาชีพทางด้านวิศวกรรม มีหน้าที่ ศึกษาวิเคราะห์ คานวณ
ออกแบบ ตรวจสอบแก้ไขปัญหาและควบคุมการผลิต อาทิ การก่อสร้างสิ่งก่อสร้าง
การออกแบบและผลิตรถยนต์ การควบคุมเครื่องจักรกลโรงงานต่าง ๆ
สภาพการจ้างงาน
ทางานควบคุมงานระบบในอาคารต่างของวงงานราชการ งานเอกชนและงานส่วนตัว
ทางหลวง เขื่อนต่างๆ ทางานในโรงงานอุตสาหกรรม, ครู-อาจารย์ในมหาวิทยาลัย
รับราชการในกรม และองค์กรต่างๆ ทางานรัฐวิสาหกิจ
คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพพยาบาล
1. สาเร็จการศึกษา พยาบาลศาสตร์ต่อเนื่อง หรือพยาบาลศาสตร์
2. มีสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่พิการหรือทุพพลภาพ ปราศจาก
โรค (อันเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน)
3. มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ไม่รังเกียจผู้เจ็บป่วย มีความเมตตา และมีความรักใน
เพื่อนมนุษย์มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
4. มีความอดทน อดกลั้น และมีความกล้าในการตัดสินใจ
5. มีความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน
6. มีความเสียสละที่จะเดินทางไปรักษาพยาบาลผู้คนในชุมชนทั่วประเทศ
ลักษณะอาชีพ
รักษา ดูแล และให้คาแนะนาเกี่ยวกับการพยาบาล เป็นผู้ช่วยแพทย์
โดยการสังเกต และบันทึกความเปลี่ยนแปลงในคนไข้รายงานให้แพทย์
ทราบถึงอาการของคนไข้ตามลักษณะโรคที่เป็นทั้งร่างกาย อารมณ์ และ
จิตใจ ช่วยฟื้ นฟูสุขภาพของคนไข้ ช่วยคนไข้ให้ปรับตัวเข้ากับภาวะ
ขัดข้องใดๆ ที่อาจเกิด จากการเจ็บป่วย จัดให้คนไข้ มีสิ่งแวดล้อมที่ถูก
สุขอนามัย ป้ องกันและควบคุมการเผยแพร่ของโรคติดเชื้อ สอนคนไข้
และประชาชนทั่วไปให้รู้จักการดูแลและส่งเสริมสุขภาพวางแผน
มอบหมาย สั่งการ ดูแล และประเมินผลงานของผู้ช่วยพยาบาล และผู้ทา
หน้าที่ประสานงาน ร่วมงานกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายการแพทย์ และอนามัย
แขนงอื่นๆ ในการบริการคนไข้
สภาพการจ้างงาน
สาหรับหน่วยงานราชการพยาบาลที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญา
ตรี ได้รับเงินเดือนอัตรา 6,360 บาท ส่วนพยาบาลที่สาเร็จการศึกษา
ระดับปริญญาโทได้รับเงินเดือนอัตรา 7,780 บาท และปริญญาเอกได้รับ
เงินเดือนอัตรา 10,600 บาท ในหน่วยงานรัฐวิสาหกิจผู้ที่มีการศึกษา
ระดับปริญญาตรีจะได้รับเงินเดือนประมาณ 7,000 -7,600 บาท
สาหรับหน่วยงานเอกชน พยาบาลที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี
จะได้รับเงินเดือนขั้นต้นประมาณ 13,900 บาท ค่าอยู่เวร เวรละ 250 บาท
ซึ่งจะมีรายได้เฉลี่ยจากค่าอยู่เวรประมาณเดือนละ2,500 - 3,000 บาท ซึ่ง
พยาบาลเอกชนจะมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 16,000 บาทมีสวัสดิการที่พัก
และสิทธิพิเศษ อื่นๆ ตามเงื่อนไขการตกลงกับผู้ว่าจ้าง
คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพสถาปนิก
1) จบการศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์หลักสูตร 5 ปี
2) มีใบอนุญาตเป็นสถาปนิก
3) มีประสบการณ์อย่างน้อย 10 ปีนับแต่จบการศึกษา
4) เมื่อจบแล้วต้องทางานโดยมีใบอนุญาตอย่างน้อย 5 ปี
5) มีการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอย่างต่อเนื่อง
ลักษณะอาชีพ
ออกแบบอาคารประเภทต่างๆให้สวยงาม และสอดคล้องกับสภาพภูมิ
ประเทศ ภูมิอากาศ กฎหมาย ประยุกต์ใช้ความรู้ ความสามารถ ทั้งทางศิลปะ
และเทคนิค โดยคานึงถึงประโยชน์ใช้สอยและประหยัด ทั้งในด้านราคาค่า
ก่อสร้างและพลังงานสนองความต้องการของผู้อาศัย และผู้ใช้อาคาร ทาให้
ชีวิตความเป็นอยู่โดยรวมดีขึ้น และไม่กระทบให้เป็นผลเสียของส่วนรวม
สภาพการจ้างงาน
สถาปนิกที่รับราชการจะได้รับเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา สถาปนิกที่
ทางานกับภาคเอกชนจะได้รับเงินเดือน ขั้นต้นอยู่ระหว่าง 15,000 -20,000
บาท ขึ้นอยู่กับฝีมือและประสบการณ์ในการฝึกงานขณะที่กาลังศึกษาอยู่
ได้รับสวัสดิการตามกฎหมายแรงงานกาหนดไว้และสิทธิประโยชน์อื่น เช่น
โบนัสขึ้นอยู่กับผลประกอบการ
คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพนักสารวจ
1. สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
2. มีร่างกายแข็งแรง สามารถทางานหนักได้
3. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ชอบการคิดคานวณ และงานทดลอง
4. มีความเป็นผู้นา มีมนุษยสัมพันธ์ดี
5. มีความเชื่อมั่น แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
6. มีความละเอียดรอบคอบ ชอบการบันทึก
7. สามารถวิเคราะห์ และตัดสินใจแก้ปัญหาที่เกิดจากการทางานได้
ลักษณะอาชีพ
1. ควบคุม และทาการสารวจพื้นดิน และท้องน้า เพื่อการทาแผนที่หรือแผนภูมิ งาน
ก่อสร้าง งานเหมืองแร่ หรืองานอื่นๆ โดยกาหนดสถานที่ตั้ง
2. วาดภาพแสดงลักษณะภูมิประเทศ ตรวจสอบบันทึก แผนที่ แผนผัง โฉนด และ
เอกสารที่เกี่ยวข้องตลอดจนทาการคานวณเบื้องต้น ซึ่งจาเป็นสาหรับงานสารวจ
3. ตรวจสอบ และปรับกล้องรังวัด หรือกล้องทาแผนที่เข็มทิศ โต๊ะสารวจ และ
เครื่องมือสารวจอื่นๆ
4. สารวจ และสั่งงานผู้ช่วย เพื่อให้การปฏิบัติงานตรงตามสถานที่ที่กาหนด และ
เพื่อความแน่นอนเกี่ยวกับการวัดระหว่างจุดต่างๆ ความสูงชัน เส้นและมุม ความสูง
ต่าของพื้นดิน และข้อมูลที่เกี่ยวกับพื้นผิวดิน พื้นที่ใต้ดิน และพื้นที่ใต้ท้องน้า
5. ทาการคานวณเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของสิ่งที่วัดได้
6. บันทึกการใช้มาตรการต่างๆ และการคานวณ รวมทั้งการเขียนแบบร่างพื้นที่
บริเวณที่ทาการสารวจ
7. จัดทาแบบวาดโดยละเอียด และทารายงาน
เมืองหลวง : บันดาร์ เสรี เบกาวัน
ภาษา : ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษและจีน
ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์66%, จีน11%,อื่นๆ 23%
นับถือศาสนา : อิสลาม 67%, พุทธ 13%, คริสต์ 10%
ระบบการปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
จุดแข็ง
-การเมืองค่อนข้างมั่นคง
-รายได้เฉลี่ยต่อคนเป็นอันดับ 2 ในอาเซียน อันดับ 26 ของโลก
-ผู้ส่งออกและมีปริมาณสารองน้ามันอันดับ 4 ในอาเซียน
ข้อควรรู้
-ประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซียนสามารถทาวีซ่าที่ ตม.ที่ประเทศบรูไนฯ
สามารถอยู่ได้นาน 2 สัปดาห์
-ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลือง เพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตริย์
-การทักทายจะจับมือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ยื่นมือให้บุรุษจับ
- การใช้นิ้วชี้ไปที่คนหรือสิ่งของถือว่าไม่สุภาพ แต่จะใช้หัวแม่
มือชี้แทน
จะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อื่น
- สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผู้ชายและไม่ส่งเสียงหรือ
หัวเราะดัง
- วันหยุดคือวันศุกร์และวันอาทิตย์, วันศุกร์ 12.00-14.00 น.ทุก
ร้านจะปิด
- จัดงานเย็นต้องจัดหลัง 2 ทุ่ม
อาหารประจาชาติ : อัมบูยัต Ambuyat
จัดเป็นอาหารประจาชาติ ที่มีชื่อเสียงที่สุดของประเทศบรูไน ดารุสซาลาม
มีลักษณะคล้ายข้าวต้ม หรือโจ๊ก มีส่วนผสมของแป้งสาคูเป็นหลัก โดยทั่วไป
อัมบูยัต คือ อาหารที่รับประทานแทนข้าว โดยจะมีอาหารจานหลักและเครื่องเคียง
อย่างน้อย 3 อย่าง วางอยู่โดยรอบ
สกุลเงิน : ดอลลาร์บรูไน Brunei Dollar [BND]
อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 1 ดอลลาร์บรูไน เท่ากับประมาณ 25 บาท (ขึ้นอยู่
กับอัตราแลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 1
ดอลลาร์, 5 ดอลลาร์, 10 ดอลลาร์, 20 ดอลลาร์, 25 ดอลลาร์, 50 ดอลลาร์, 100
ดอลลาร์, 500 ดอลลาร์, 1,000 ดอลลาร์ และ 10,000 ดอลลาร์
เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ
ภาษา : ภาษาเขมร เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษ, ฝรั่งเศส, เวียดนามและจีน
ประชากร : ประกอบด้วย ชาวเขมร 94%, จีน 4%,อื่นๆ 2%
นับถือศาสนา : พุทธ(เถรวาท) เป็นหลัก
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตย์เป็นประมุข
ภายใต้รัฐธรรมนูญ
จุดแข็ง
ค่าจ้างแรงงานต่าที่สุดในอาเซียน
มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและสมบูรณ์
ข้อควรรู้
ผู้ที่เดินทางเข้ากัมพูชา และประสงค์จะอยู่ทาธุรกิจเป็นระยะเวลาเกิน 3 เดือน ควร
ฉีดยาป้องกันโรคไทฟอยด์ และไวรัสเอและบี
เพื่อนผู้ชายจับมือกัน ถือเป็นเรื่องปกติ
ผู้หญิงห้ามแต่งตัวเซ็กซี่, ผู้ชายไว้ผมยาวจะมีภาพลักษณ์ นักเลง
ห้ามจับศีรษะ คนกัมพูชาถือว่าเป็นส่วนสาคัญที่สุดของร่างกาย
สบตามากเกินไป ถือว่าไม่ให้เกียรติ
อาหารประจาชาติ : อาม็อก Amok
มีลักษณะคล้ายห่อหมกของไทย ทาจากปลา น้าพริก เครื่องแกงและ
กะทิ อาม็อก เป็นหนึ่งในอาหารยอดนิยมของกัมพูชา
สกุลเงิน : “เรียล” Cambodian Riel [KHR]
อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 127 เรียล เท่ากับประมาณ 1 บาท (ขึ้นอยู่กับอัตรา
แลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 50 เรียล, 100
เรียล, 200 เรียล, 500 เรียล, 1,000 เรียล, 2,000 เรียล, 5,000 เรียล, 10,000 เรียล,
20,000 เรียล, 50,000 เรียล และ 100,000 เรียล
เมืองหลวง : จาการ์ตา
ภาษา : ภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วย ชนพื้นเมืองหลายกลุ่ม มีภาษามากกว่า 583 ภาษา ร้อยละ 61
อาศัยอยู่บนเกาะชวา
นับถือศาสนา : อิสลาม 87%, คริสต์ 10%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข และหัวหน้าฝ่าย
บริหาร
จุดแข็ง
-มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-มีจานวนประชากรมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ข้อควรรู้
-ไม่ควรใช้มือซ้ายในการรับ-ส่งของ คนมุสลิมอินโดนีเซียถือว่ามือซ้ายไม่สุภาพ
-นิยมใช้มือกินข้าว
-ไม่ควรชี้นิ้วด้วยนิ้วชี้ แต่ใช้นิ้วโป้งแทน
-ไม่จับศีรษะคนอินโดนีเซียรวมทั้งการลูบศีรษะเด็ก
-การครอบครองยาเสพติด อาวุธ หนังสือรูปภาพอนาจาร มีบทลงโทษหนัก
-บทลงโทษรุนแรงเกี่ยวกับการค้าและส่งออกพืชและสัตว์กว่า 200 ชนิด จึงควร
ตรวจสอบก่อนซื้อหรือนาพืชและสัตว์ออกนอกประเทศ
-มอเตอร์ไซค์รับจ้างมีมิเตอร์
-งานศพใส่ชุดสีอะไรก็ได้
อาหารประจาชาติ : กาโด กาโด Gado Gado
อาหารยอดนิยมของอินโดนีเซียคล้ายกับสลัดแขก ซึ่งจะประกอบด้วยถั่ว
เขียว มันฝรั่ง ถั่วงอก เต้าหู้ ไข่ต้มสุก กะหล่าปลี ข้าวเกรียบกุ้ง รับประทานกับซอส
ถั่วที่มีลักษณะเหมือนซอสสะเต๊ะ
สกุลเงิน : “รูเปียห์” Indonesian Rupiah [IDR]
อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 1,000 รูเปียห์ เท่ากับประมาณ 3 บาท (ขึ้นอยู่กับ
อัตราแลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 1,000 รู
เปียห์, 2,000 รูเปียห์, 5,000 รูเปียห์, 10,000 รูเปียห์, 20,000 รูเปียห์, 50,000 รูเปียห์
และ 100,000 รูเปียห์
ประเทศ
เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทร์
ภาษา : ภาษาลาว เป็นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วย ชาวลาวลุ่ม 68%, ลาวเทิง 22%, ลาวสูง 9% รวมประมาณ
68 ชนเผ่า
นับถือศาสนา : 75% นับถือพุทธ, นับถือผี 16%
ระบบการปกครอง : สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
จุดแข็ง
-ค่าจ้างแรงงานต่าอันดับ 2 ในอาเซียน
-การเมืองมีเสถียรภาพ
ข้อควรรู้
-ลาว มีตัวอักษรคล้ายของไทย ทาให้คนไทยอ่านหนังสือลาวได้ไม่ยากนัก ส่วนคน
ลาวอ่านหนังสือไทยได้คล่องมาก
-ลาวขับรถทางขวา
-ติดต่อราชการต้องนุ่งซิ่น
-เดินผ่านผู้ใหญ่ ต้องก้มหัว
-ถ้าเพื่อนคนลาวเชิญไปพักที่บ้านห้ามให้เงิน
-อย่าซื้อน้าหอมให้กัน
-ที่ถูกต้องคนลาวที่ให้พัก ต้องแจ้งผู้ใหญ่บ้าน
-เข้าบ้านต้องถอดรองเท้า และถ้าเขาเสิร์ฟน้าต้องดื่ม
อาหารประจาชาติ: ซุบไก่ Chicken Soup
เป็นอาหารพื้นเมืองของประเทศลาว มีส่วนผสมในการประกอบอาหาร คือ
ตะไคร้ ใบสะระแหน่ กระเทียม และหอมแดง ทั้งนี้ อาหารลาวโดยส่วนใหญ่มักจะ
มีผักและสมุนไพรเป็นส่วนผสมในการปรุง
สกุลเงิน : “กีบ” Lao Kip [LAK]
อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 1,000 กีบ เท่ากับประมาณ 4 บาท (ขึ้นอยู่กับอัตรา
แลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 500 กีบ,
1,000 กีบ, 2,000 กีบ, 5,000 กีบ, 10,000 กีบ, 20,000 กีบ และ 50,000 กีบ
เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร์
ภาษา : ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษและจีน
ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาบอร์เนียว
10%
นับถือศาสนา : อิสลาม 60%, พุทธ 19%, คริสต์ 11%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
จุดแข็ง
-มีปริมาณสารองน้ามันมากเป็นอันดับ 3 ในเอเชียแปซิฟิก
-มีปริมาณก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแปซิฟิก
ข้อควรรู้
-ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะได้รับสิทธิพิเศษ คือ เงินอุดหนุนทางด้านการศึกษา
สาธารณสุข การคลอดบุตรงานแต่งงานและงานศพ
-มาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ในมาเลเซียประกอบด้วย
ชาวมาเลย์กว่าร้อยละ 40 ที่เหลืออีกกว่าร้อยละ 33 เป็นชาวจีนร้อยละ10 เป็นชาว
อินเดีย และ อีกร้อยละ 10 เป็นชนพื้นเมืองบนเกาะบอร์เนียว
-ใช้มือขวาเพียงข้างเดียวในการรับประทานอาหาร และรับส่งของ
-เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นเรื่องต้องห้าม
อาหารประจาชาติ : นาซิ เลอมัก Nasi Lemak
อาหารยอดนิยมของประเทศมาเลเซีย เป็นข้าวผัดกับกะทิและสมุนไพร
นาซิ เลอมัก เสิร์ฟพร้อมกับปลากะตักทอด แตงกวาหั่น ไข่ต้มสุกและถั่วอบ
นาซิ เลอมัก แบบดั้งเดิม จะห่อในใบตองและรับประทานเป็นอาหารเช้า
สกุลเงิน : “ริงกิต” Malaysian Ringgit [MYR]
อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 1 ริงกิต เท่ากับประมาณ 10 บาท (ขึ้นอยู่กับอัตรา
แลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 1 ริงกิต,
5 ริงกิต, 10 ริงกิต, 20 ริงกิต, 50 ริงกิต และ 100 ริงกิต
เมืองหลวง : เนปีดอ (Naypyidaw)
ภาษา : ภาษาพม่า เป็นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วยเผ่าพันธุ์ 135 มี 8 เชื้อชาติหลักๆ 8 กลุ่ม คือ พม่า 68%,
ไทยใหญ่ 8%, กระเหรี่ยง 7%, ยะไข่ 4% จีน 3% มอญ 2% อินเดีย 2%
นับถือศาสนา : นับถือพุทธ 90%, คริสต์ 5% อิสลาม 3.8%
ระบบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาลทหาร
จุดแข็ง
-มีพรมแดนเชื่อมต่อกับจีน และอินเดีย
-ค่าจ้างแรงงานต่าเป็นอันดับ 3 ในอาเซียน
-มีปริมาณก๊าซธรรมชาติเป็นจานวนมาก
ข้อควรรู้
-ไม่ควรพูดเรื่องการเมือง กับคนไม่คุ้นเคย
-เข้าวัดต้องถอดรองเท้า ถุงเท้า
-ห้ามเหยียบเงาพระสงฆ์
-ให้นามบัตรต้องยื่นให้สองมือ
-ไม่ควรใส่กระโปรงสั้น กางเกงขาสั้น ในสถานที่สาธารณะและศาสนสถาน
-ผู้หญิงชอบทาทะนาคา (ผู้ชายก็ทาด้วย) ผู้ชายชอบเคี้ยวหมาก
อาหารประจาชาติ : หล่าเพ็ด Lahpet
อาหารประจาชาติของพม่าที่มีลักษณะคล้ายกับยาเมี่ยงของไทย โดย
รับประทานกับเครื่องเคียง เช่น ใบชาหมัก กระเทียมเจียว ถั่วชนิดต่างๆ งาคั่ว กุ้ง
แห้ง ขิง มะพร้าวคั่ว เป็นต้น
สกุลเงิน : “จ๊าด” Myanmar Kyat [MMK]
อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 26 จ๊าด เท่ากับประมาณ 1 บาท (ขึ้นอยู่กับอัตรา
แลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 50 ปยา,
1 จ๊าด, 5 จ๊าด, 20 จ๊าด, 50 จ๊าด, 100 จ๊าด, 200 จ๊าด, 500 จ๊าด, 1,000 จ๊าด , 5,000 จ๊าด
และ 10,000 จ๊าด
เมืองหลวง : กรุงมะนิลา
ภาษา : ภาษาฟิลิปิโน และภาษาอังกฤษ เป็นภาษาราชการ
นับถือศาสนา : คริสต์โรมันคาทอลิก 83% คริสต์นิกายโปรเตสแตนต์, อิสลาม 5%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิปดีเป็นประมุขและหัวหน้าฝ่าย
บริหาร
จุดแข็ง
-แรงงานทั่วไป ก็มีความรู้สื่อสารภาษาอังกฤษได้
ข้อควรรู้
-การเข้าไปประกอบธุรกิจในฟิลิปปินส์ในลักษณะต่างๆ เช่น การลงทุนร่วมกับฝ่าย
ฟิลิปปินส์จาเป็นต้องมีการศึกษาข้อมูลให้ละเอียด โดยเฉพาะในด้านกฎหมาย การจด
ทะเบียนภาษี และปัญหาทางด้านแรงงาน เป็นต้น
-เท้าสะเอว หมายถึง ท้าทาย, เลิกคิ้ว หมายถึง ทักทาย
-ใช้ปากชี้ของ
-กินข้าวบ้านเพื่อนสามารถห่อกลับได้ แต่ควรมีของฝากให้เขาด้วย
-ตกแต่งบ้าน 2 เดือน ต้อนรับคริสต์มาส
อาหารประจาชาติ : อโดโบ้ Adobo
อาหารยอดนิยมของประเทศฟิลิปปินส์ เป็นอาหารที่มีต้นกาเนิดมาจาก
ภาคเหนือของฟิลิปปินส์และเป็นที่นิยมของนัก เดินทางหรือนักเดินเขา อโดโบ้ทา
จากหมูหรือไก่ที่ผ่านกรรมวิธีหมักและปรุงรสโดยจะใส่ซีอิ๊วขาว น้าส้มสายชู
กระเทียมสับ ใบกระวาน พริกไทยดา นาไป ทาให้สุกโดยใส่ในเตาอบหรือทอด
และรับประทานกับข้าว
สกุลเงิน : “เปโซ” Philippine Peso [PHP]
อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 1.40 เปโซ เท่ากับประมาณ 1 บาท (ขึ้นอยู่กับอัตรา
แลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 20 เปโซ, 50
เปโซ, 100 เปโซ, 200 เปโซ, 500 เปโซ และ 1,000 เปโซ
เมืองหลวง : สิงคโปร์
ภาษา : ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการรองลงมาคือจีนกลาง ส่งเสริมให้พูดได้ 2 ภาษ
คือ จีนกลาง และให้ใช้อังกฤษ เพื่อติดต่องานและชีวิตประจาวัน
ประชากร : ประกอบด้วยชาวจีน 76.5%, มาเลย์13.8%, อินเดีย 8.1%
นับถือศาสนา : พุทธ 42.5%, อิสลาม 14.9%, คริสต์ 14.5%, ฮินดู 4%,
ไม่นับถือศาสนา 25%
ระบบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภามีสภาเดียว)
โดยมีประธานาธิปดีเป็นประมุขและนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร
จุดแข็ง
-รายได้เฉลี่ยต่อคน เป็นอันดับ 1 ในอาเซียน และอันดับ 15 ของโลก
-แรงงานมีทักษะสูง
ข้อควรรู้
-หน่วยราชการเปิดทาการวันจันทร์ – ศุกร์ ระหว่างเวลา 08.30 น.-13.00 น. และ
14.00 น. – 16.30 น. และวันเสาร์ เปิดทาการระหว่างเวลา 08.00 น. – 13.00 น.
-การหลบหนีเข้าสิงคโปร์และประกอบอาชีพเร่ขายบริการผิดกฎหมาย จะถูก
ลงโทษอย่างรุนแรง
-การลักลอบนายาเสพติด อาวุธปืนและสิ่งผิดกฎหมายอื่นๆ จะได้รับโทษอย่าง
รุนแรงถึงขั้นประหารชีวิต
-ขึ้นบันไดเลื่อนให้ชิดซ้าย
-ห้ามทิ้งขยะเรี่ยราด, ห้ามเก็บผลไม้ในที่สาธารณะ
-ผู้สูงอายุทางาน ถือเป็นเรื่องปกติ
อาหารประจาชาติ : ลักสา Laksa เป็นก๋วยเตี๋ยวต้มยาใส่กะทิ
มีลักษณะคล้ายข้าวซอยของไทย โดยเส้นก๋วยเตี๋ยวจะมีลักษณะคล้าย
vermicelli ซึ่งเป็นหนึ่งในเส้นสปาเกตตีของอิตาลี
สกุลเงิน : “ดอลลาร์สิงคโปร์” Singapore Dollar [SGD]
อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ เท่ากับประมาณ 25 บาท
(ขึ้นอยู่กับอัตราแลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับ
ละ 2 ดอลลาร์, 5 ดอลลาร์, 10 ดอลลาร์, 50 ดอลลาร์, 100 ดอลลาร์, 1,000 ดอลลาร์
และ 10,000 ดอลลาร์
เมืองหลวง : กรุงฮานอย
ภาษา : ภาษาเวียดนาม เป็นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วยชาวเวียด 80%, เขมร 10%
นับถือศาสนา : พุทธนิกายมหายาน 70%, คริสต์ 15%
ระบบการปกครอง : ระบบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็นพรรคการเมือง
เดียว
จุดแข็ง
-มีปริมาณสารองน้ามันดิบมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแปซิฟิค
ข้อควรรู้
-หน่วยงานราชการ สานักงาน และองค์กรให้บริการสาธารณสุข เปิดทาการ
ระหว่างเวลา 08.00 น. – 16.30 น. ตั้งแต่วันจันทร์ – ศุกร์
-เวียดนามไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพอาคารที่ทาการต่างๆ ของรัฐ
-คดียาเสพติดการฉ้อโกงหน่วยงานของรัฐมีโทษประหารชีวิต
-ตีกลองแทนออดเข้าเรียน
-ชุดนักเรียนหญิงเป็นชุดอ่าวหญ่าย
-คนภาคเหนือไม่ทานน้าแข็ง
-ไม่ถ่ายรูป 3 คนอย่างเด็ดขาด เพราะถือว่าจะทาให้เบื่อกัน หรือแยกกันหรือใคร
คนใดเสียชีวิต
-ต้องเชิญผู้ใหญ่ก่อนทานข้าว
อาหารประจาชาติ : Nem หรือ เปาะเปี๊ยะเวียดนาม
เป็นอาหารพื้นเมืองที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในเวียดนาม แผ่นเปาะเปี๊ยะทาจาก
แผ่นแป้งที่ทาจากข้าวเจ้า โดยไส้เปาะเปี๊ยะอาจเป็นไก่ หมู กุ้ง ห่อรวมกับผักต่าง ๆ
นับเป็นอาหารยอดนิยมที่สามารถรับประทานได้ทั่วไปในเวียดนาม
สกุลเงิน : “ด่ง” หรือ “ดอง” Vietnamese Dong [VND]
อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 652 ด่ง เท่ากับประมาณ 1 บาท (ขึ้นอยู่กับอัตรา
แลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 1,000 ด่ง
2,000 ด่ง 5,000 ด่ง 10,000 20,000 ด่ง 50,000 ด่ง 100,000 ด่ง 200,000 ด่ง และ
500,000 ด่ง
เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร
ภาษา : ภาษาไทย เป็นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วยชาวไทยเป็นส่วนใหญ่
นับถือศาสนา : พุทธนิกายเถรวาท 95%, อิสลาม 4%
ระบบการปกครอง : ระบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข
จุดแข็ง
-เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน
-มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่มีชื่อเสียง
ข้อควรรู้
-ไปศาสนสถานควรแต่งกายเรียบร้อย, ก่อนเข้าอุโบสถต้องถอดรองเท้า
-ห้ามพระสงฆ์สัมผัสสตรี
-สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นที่เคารพสักการะ การละเมิดใดๆ ถือเป็นความผิดตาม
รัฐธรรมนูญ
-ทักทายกันด้วยการไหว้
-ถือว่าเท้าเป็นของต่า ไม่ควรพาดบนโต๊ะ หรือเก้าอี้ หรือหันทิศทางไปที่ใคร
-ธงชาติถือเป็นของสูง ไม่ควรนามากระทาการใดๆที่เป็นการเหยียดหยาม
-การแสดงออกทางเพศในที่สาธารณะ ยังไม่ได้รับการยอมรับในวัฒนธรรมไทย
อาหารประจาชาติ : ต้มยากุ้ง Tom Yam Goong
เป็นอาหารที่โด่งดังมากที่สุดของประเทศไทย ชาวต่างชาติจะรู้จักต้มยากุ้ง
มากกว่าต้มยาชนิดอื่น ๆ การปรุงต้มยากุ้งจะเน้นรสชาติเปรี้ยวและเผ็ดเป็นหลัก จะ
ออกเค็มและหวานเล็กน้อย มีเครื่องเทศที่ใส่ในน้าแกงที่สาคัญคือ ใบมะกรูด
ตะไคร้ ส่วนผักที่นิยมใส่ในต้มยา ได้แก่ มะเขือเทศ เห็ดฟาง เห็ดนางฟ้ า ใบผักชี
ส่วนเครื่องปรุงที่จาเป็นต้องใส่ คือ มะนาว น้าปลา น้าตาล และน้าพริกเผา
สกุลเงิน : “บาท” Thai Baht [THB]
โดยเหรียญกษาปณ์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีทั้งหมด 9 ชนิด คือ เหรียญ 1, 5, 10,
25 และ 50 สตางค์, 1, 2, 5 และ 10 บาท โดยเหรียญ 25 และ 50 สตางค์, 1, 2, 5 และ
10 บาท เป็นเหรียญที่ออกใช้หมุนเวียนทั่วไป ส่วนเหรียญ 1, 5 และ 10 สตางค์
ไม่ได้ออกใช้หมุนเวียนทั่วไป แต่ใช้ภายในธนาคารเท่านั้น ส่วนธนบัตรที่ใช้ใน
ปัจจุบันและมีการผลิตอย่างต่อเนื่อง มี 5 ชนิด คือ ธนบัตร 20, 50, 100, 500 และ
1,000 บาท
http://www.thaigoodview.com/node/163602
www.thai-aec.com/ประเทศอาเซียน-10-ประเทศ
th.wikipedia.org/wiki/สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_asean.htm
www.mfa.go.th/asean/
ผู้จัดทำโดย
นางสาว นันธิกา กิจปาโล เลขที่ 32
นางสาว ชนิภรณ์ บริสุทธิ์ เลขที่ 36
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/13
Turning point-to-asean

More Related Content

What's hot (6)

ประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียนประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียน
 
58210401207 งานที่2 ss
58210401207 งานที่2 ss58210401207 งานที่2 ss
58210401207 งานที่2 ss
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
58210401209 งาน 2 SS
58210401209 งาน 2  SS58210401209 งาน 2  SS
58210401209 งาน 2 SS
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 

Viewers also liked

Shambhvi A Bestseller Marathi Novel Dr. Shriniwas Kashalikar
Shambhvi  A Bestseller Marathi Novel Dr. Shriniwas KashalikarShambhvi  A Bestseller Marathi Novel Dr. Shriniwas Kashalikar
Shambhvi A Bestseller Marathi Novel Dr. Shriniwas Kashalikardrsolapurkar
 
Le religioni del mondo
Le religioni del mondoLe religioni del mondo
Le religioni del mondoirene_giordano
 
M E A N I N G O F E Q U A L I T Y D R
M E A N I N G  O F  E Q U A L I T Y  D RM E A N I N G  O F  E Q U A L I T Y  D R
M E A N I N G O F E Q U A L I T Y D Rdrsolapurkar
 
Mind map visuals
Mind map visualsMind map visuals
Mind map visualsakn4fotos
 
пыхалов реванш сталина. вернуть русские земли!
пыхалов   реванш сталина. вернуть русские земли!пыхалов   реванш сталина. вернуть русские земли!
пыхалов реванш сталина. вернуть русские земли!Grigory Ushkuynik
 
The second thoughts of an idle fellow jerome k jerome
The second thoughts of an idle fellow   jerome k jeromeThe second thoughts of an idle fellow   jerome k jerome
The second thoughts of an idle fellow jerome k jeromestaefenia sun
 
ข้อสอบ O net 51 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 51 ภาษาไทยข้อสอบ O net 51 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 51 ภาษาไทยmeanerimz97
 
S T U D Y O F G I T A 1st F L O W E R D R
S T U D Y  O F  G I T A 1st  F L O W E R  D RS T U D Y  O F  G I T A 1st  F L O W E R  D R
S T U D Y O F G I T A 1st F L O W E R D Rdrsolapurkar
 
Giselle Herrera Coyote Poster 9.23.2016 edit
Giselle Herrera Coyote Poster 9.23.2016 editGiselle Herrera Coyote Poster 9.23.2016 edit
Giselle Herrera Coyote Poster 9.23.2016 editGiselle A. Herrera
 

Viewers also liked (12)

Shambhvi A Bestseller Marathi Novel Dr. Shriniwas Kashalikar
Shambhvi  A Bestseller Marathi Novel Dr. Shriniwas KashalikarShambhvi  A Bestseller Marathi Novel Dr. Shriniwas Kashalikar
Shambhvi A Bestseller Marathi Novel Dr. Shriniwas Kashalikar
 
Zachowania psychotyczne
Zachowania psychotyczneZachowania psychotyczne
Zachowania psychotyczne
 
Le religioni del mondo
Le religioni del mondoLe religioni del mondo
Le religioni del mondo
 
CASR_Software_for_CAAs
CASR_Software_for_CAAsCASR_Software_for_CAAs
CASR_Software_for_CAAs
 
Reference CPI
Reference CPIReference CPI
Reference CPI
 
M E A N I N G O F E Q U A L I T Y D R
M E A N I N G  O F  E Q U A L I T Y  D RM E A N I N G  O F  E Q U A L I T Y  D R
M E A N I N G O F E Q U A L I T Y D R
 
Mind map visuals
Mind map visualsMind map visuals
Mind map visuals
 
пыхалов реванш сталина. вернуть русские земли!
пыхалов   реванш сталина. вернуть русские земли!пыхалов   реванш сталина. вернуть русские земли!
пыхалов реванш сталина. вернуть русские земли!
 
The second thoughts of an idle fellow jerome k jerome
The second thoughts of an idle fellow   jerome k jeromeThe second thoughts of an idle fellow   jerome k jerome
The second thoughts of an idle fellow jerome k jerome
 
ข้อสอบ O net 51 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 51 ภาษาไทยข้อสอบ O net 51 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 51 ภาษาไทย
 
S T U D Y O F G I T A 1st F L O W E R D R
S T U D Y  O F  G I T A 1st  F L O W E R  D RS T U D Y  O F  G I T A 1st  F L O W E R  D R
S T U D Y O F G I T A 1st F L O W E R D R
 
Giselle Herrera Coyote Poster 9.23.2016 edit
Giselle Herrera Coyote Poster 9.23.2016 editGiselle Herrera Coyote Poster 9.23.2016 edit
Giselle Herrera Coyote Poster 9.23.2016 edit
 

Similar to Turning point-to-asean

Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Kruthai Kidsdee
 
Asean
Asean Asean
Asean Kaizaa
 
Asean 141
Asean 141Asean 141
Asean 141Kaizaa
 
Asean 1
Asean 1Asean 1
Asean 1Kaizaa
 
Asean111
Asean111Asean111
Asean111Kaizaa
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
Asean 62-no14
Asean 62-no14Asean 62-no14
Asean 62-no14Kaizaa
 
58210401212 ส่งงาน 2 ss
58210401212  ส่งงาน 2 ss58210401212  ส่งงาน 2 ss
58210401212 ส่งงาน 2 ssRattiga Polyotha
 
58210401212 ส่งงาน 2 ss
58210401212  ส่งงาน 2 ss58210401212  ส่งงาน 2 ss
58210401212 ส่งงาน 2 ssRattiga Polyotha
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนPattama Poyangyuen
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนnook555
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียนpatmalya
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนkhanittawan
 

Similar to Turning point-to-asean (20)

อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
 
ประวัติอาเซียน
ประวัติอาเซียนประวัติอาเซียน
ประวัติอาเซียน
 
Asean
Asean Asean
Asean
 
Asean 141
Asean 141Asean 141
Asean 141
 
Asean 1
Asean 1Asean 1
Asean 1
 
Asean111
Asean111Asean111
Asean111
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
Asean m3
Asean m3Asean m3
Asean m3
 
Asean 62-no14
Asean 62-no14Asean 62-no14
Asean 62-no14
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
58210401212 ส่งงาน 2 ss
58210401212  ส่งงาน 2 ss58210401212  ส่งงาน 2 ss
58210401212 ส่งงาน 2 ss
 
58210401212 ส่งงาน 2 ss
58210401212  ส่งงาน 2 ss58210401212  ส่งงาน 2 ss
58210401212 ส่งงาน 2 ss
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียนฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
 
We Are ASEAN
We Are ASEANWe Are ASEAN
We Are ASEAN
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 

Turning point-to-asean

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4. อ า เ ซี ย น ( ASEAN) เ ป็ น ก า ร ร ว ม ตั ว กั น ของ 10 ประเทศ ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผู้นาอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฎิญญาว่าด้วย ความร่วมมือ อาเซียนเห็นชอบ ให้จัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ เป็นองค์กรระหว่างประเทศ ระดับ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศ ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปิ นส์ ได้ร่วมกันจัดตั้ง สมาคม อาสา (Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพื่อการร่ วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ดาเนินการไปได้เพียง 2 ปี ก็ต้องหยุดชะงักลงเนื่องจากความผกผันทางการเมือง ระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย
  • 5. Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ หรือปฏิญญาอาเซียน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศสมาชิก 5 ประเทศ ประกอบด้วย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ และไทย เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมามีประเทศสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรูไนดารุส-ซาลาม เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และกัมพูชา ตามลาดับ จึงทาให้ปัจจุบันอาเซียนมีสมาชิก 10 ประเทศ
  • 6. ปัจจุบันบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ทาให้อาเซียนต้องเผชิญ สิ่งท้าทายใหม่ๆ อาทิโรคระบาด การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์ สิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติ อีกทั้งยังมีความจาเป็นต้องรวมตัวกันเพื่อเพิ่มอานาจต่อรอง และขีดความสามารถทางการแข่งขันกับประเทศในภูมิภาคใกล้เคียง และในเวทีระหว่างประเทศ ผู้นาอาเซียนจึงเห็นพ้องกันว่า อาเซียนควรจะร่วมมือ กัน ใ ห้เ ห นี ย วแ น่ น เข้ม แ ข็ง แ ล ะ มั่น ค งยิ่งขึ้ น จึ งไ ด้ป ร ะก าศ “ ป ฏิ ญ ญ า ว่ า ด้ ว ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ใ น อ า เ ซี ย น ฉ บั บ ที่ 2 ” Declaration of ASEAN Concord II ซึ่งกาหนดให้มีการสร้างประชาคม อาเซียนที่ประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก
  • 7. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ASEAN Political and Security Community – APSC มุ่งให้ประเทศกลุ่มสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข แก้ไขปัญหาระหว่าง กันโดยสันติวิธี มีเสถียรภาพและความมั่นคงรอบด้านเพื่อความมั่นคงปลอดภัยของ เหล่าประชาชน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community – AEC มุ่งเน้นให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และความสะดวกในการติดต่อ ค้าขายระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆได้โดย ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio - Cultural Community – ASCC มุ่งหวังให้ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่นคงทาง สังคม มีการพัฒนาในทุกๆ ด้าน และมีสังคมแบบเอื้ออารโดยจะมีแผนงานสร้างความ ร่วมมือ 6 ด้าน คือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม สิทธิ และความยุติธรรมทางสังคม ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน การลดช่องว่างทางการพัฒนา
  • 8. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ การรวมตัวของ กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนให้เป็นชุมชนที่มีความแข็งแกร่ง สามารถสร้างโอกาส และรับมือส่งท้าท้าย ทั้งด้านการเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ และภัยคุกคาม รูปแบบใหม่ โดยสมาชิกในชุมชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี สามารถประกอบ กิจกรรมทางเศรษฐกิจได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น และสมาชิก ในชุมชนมี ความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
  • 9. ปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์สาคัญ 7 ประการของการจัดตั้ง อาเซียน ได้แก่ 1. ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร 2. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค 3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรม ในภูมิภาค 4. ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี
  • 10. 5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการฝึกอบรม และการวิจัย และส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การ ขยายการค้า ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม 7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การระหว่าง ประเทศ
  • 13.
  • 14. คือ ดวงตราอาเซียนเป็น รูปมัดรวงข้าว สีเหลืองบนพื้นวงกลม สีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาว และสีน้าเงิน รวงข้าวสีเหลือง 10 ต้น หมายถึง ความใฝ่ฝันของบรรดาสมาชิกใน เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ ให้มีอาเซียนที่ผูกพันกันอย่างมีมิตรภาพ และเป็นหนึ่งเดียว วงกลม เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงเอกภาพของอาเซียน ตัวอักษรคาว่า asean สีน้าเงิน อยู่ใต้ภาพรวงข้าว แสดงถึงความ มุ่งมั่นที่จะทางานร่วมกันเพื่อความมั่นคง สันติภพ เอกภาพ และความก้าวหน้า ของประเทศสมาชิกอาเซียน สีเหลือง : หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สีแดง : หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวัติ สีขาว : หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีน้าเงิน : หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
  • 15. ธงอาเซียนเป็นธงพื้นสีน้าเงิน มีดวงตราอาเซียนอยู่ตรงกลาง แสดงถึง เสถียรภาพ สันติภาพ ความสามัคคี และพลวัตของอาเซี ยน สีของธงประกอบด้วย สีน้าเงิน สีแดง สีขาว และสีเหลือง ซึ่งเป็นสีหลัก ในธงชาติของบรรดาประเทศสมาชิกของอาเซียนทั้งหมด
  • 16. กฎบัตรอาเซียน กาหนดให้อาเซียนและประเทศสมาชิกปฏิบัติตามหลักการ ดังต่อไปนี้ 1. เคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแห่งดินแดน และอัตลักษณ์แห่งชาติของรัฐสมาชิกอาเซียนทั้งปวง 2. ผูกพันและรับผิดชอบร่วมกันในการเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคง และความมั่งคั่งของภูมิภาค 3. ไม่รุกรานหรือข่มขู่ว่าจะใช้กาลังหรือการกระทาอื่นใดในลักษณะที่ ขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศ 4. ระงับข้อพิพาทโดยสันติ 5. ไม่แทรกแซงกิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน
  • 17. 6. เคารพสิทธิของรัฐสมาชิกทุกรัฐในการธารงประชาชาติของตน โดยปราศจากการแทรกแซง การบ่อนทาลาย และการบังคับจากภายนอก 7. ปรึกษาหารือที่เพิ่มพูนขึ้นในเรื่องที่มีผลกระทบอย่างร้ายแรง ต่อผลประโยชน์ร่วมกันของอาเซียน 8. ยึดมั่นต่อหลักนิติธรรม ธรรมาภิบาล หลักการประชาธิปไตยและ รัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ 9. เคารพเสรีภาพพื้นฐาน การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และการส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคม 10. ยึดถือกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศที่รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับ
  • 18. 11. ละเว้นจากการมีส่วนร่วมในการคุกคามอธิปไตย บูรณภาพ แห่งดินแดนหรือเสถียรภาพทางการเมืองและเศรษฐกิจของรัฐสมาชิก อาเซียน 12. เคารพในวัฒนธรรม ภาษา และศาสนาที่แตกต่างของ ประชาชนอาเซียน 13. มีส่วนร่วมกับอาเซียนในการสร้างความสัมพันธ์กับภายนอก ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยไม่ปิดกั้นและไม่เลือก ปฏิบัติ 14. ยึดมั่นในกฎการค้าพหุภาคีและระบอบของอาเซียน
  • 19. ประการแรก ไทยจะ “มีหน้ามีตาและฐานะ” เด่นขึ้นประชาคม อาเซียนจะทาให้เศรษฐกิจ “ของเรา” มีมูลค่ารวมกัน 1.8 ล้านล้าน ดอลลาร์สหรัฐ และมีขนาดใหญ่อันดับ 9 ของโลก ยังประโยชน์แก่คน ไทยทุกคนที่จะได้ยืนอย่างสง่างาม “ยิ้มสยาม” จะคมชัดขึ้น ประการที่สอง การค้าระหว่างไทยกับประเทศอาเซียนจะคล่องและ ขยายตัวมากขึ้น กาแพงภาษีจะลดลงจนเกือบจะหมดไปเพราะ 10 ตลาด กลายเป็นตลาดเดียว ผู้ผลิตจะส่งสินค้าไปขายในตลาดนี้และขยับขยาย ธุรกิจของตนง่ายขึ้น ขณะเดียวกันผู้บริโภคก็จะมีทางเลือกมากขึ้นราคา สินค้าจะถูกลง
  • 20. ประการที่สาม ตลาดของเราจะใหญ่ขึ้น แทนที่จะเป็นตลาดของคน 67 ล้านคน ก็จะกลายเป็นตลาดของคน 590 ล้านคน ซึ่งจะทาให้ไทย กลายเป็นแหล่งลงทุนที่น่าสนใจ เพราะสินค้าที่ผลิตในประเทศไทย สามารถส่งออกไปยังอีกเก้าประเทศได้ราวกับส่งไปขายต่างจังหวัด ซึ่งก็ จะช่วยให้เราสามารถแข่งขันกับจีนและอินเดียในการดึงดูดการลงทุน ได้มากขึ้น ประการที่สี่ ความเป็นประชาคมจะทาให้มีการพัฒนาเครือข่ายการ สื่อสารคมนาคมระหว่างกันเพื่อประโยชน์ด้านการค้าและการลงทุน แต่ ก็ยังผลพลอยได้ในแง่การไปมาหาสู่กัน ซึ่งก็จะช่วยให้คนในอาเซียนมี ปฏิสัมพันธ์กัน รู้จักกัน และสนิทแน่นแฟ้นกันมากขึ้น เป็นผลดีต่อสันติ สุข ความเข้าใจอันดีและความร่วมมือกันโดยรวม นับเป็นผลทาง สร้างสรรค์ในหลายมิติด้วยกัน
  • 21. ประการที่ห้า โดยที่ ไทยตั้งอยู่ในจุดกึ่งกลางบนภาคพื้น แผ่นดินใหญ่อาเซียน ประเทศไทยย่อมได้รับประโยชน์จากปริมาณการ คมนาคมขนส่งที่จะเพิ่มขึ้นในอาเซียนและระหว่างอาเซียนกับจีน (และ อินเดีย) มากยิ่งกว่าประเทศอื่นๆ บริษัทด้านขนส่ง คลังสินค้า ปั๊มน้ามัน ฯลฯ จะได้รับประโยชน์อย่าง ชัดเจน จริงอยู่ ประชาคมอาเซียนจะยังผลทั้งด้านบวกและลบต่อประเทศ ไทย ขึ้นอยู่กับพวกเราคนไทยจะเตรียมตัวอย่างไร แต่ผลทางบวกนั้นจะ ชัดเจน เป็นรูปธรรมและจับต้องได้
  • 22.
  • 23. ผลจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ณ เกาะบาหลี ประเทศ อินโดนีเซีย ได้กาหนดให้จัดทาข้อตกลงยอมรับร่ วมกัน (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) ด้าน คุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก เพื่ออานวยความสะดวกในการ เคลื่อนย้ายนักวิชาชีพ หรือแรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษ ของอาเซียนได้อย่างเสรี ด้านคุณสมบัติในสาขาอาชีพหลัก เพื่ออานวย ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย นักวิชาชีพ แรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มี ความสามารถพิเศษได้อย่างเสรี ข้อตกลงเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงาน ฝีมือไปทางานในประเทศกลุ่มอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้อย่างเสรี ได้ กาหนดครอบคลุม 7 อาชีพ และก็มีข่าวว่าอาจจะมีการเพิ่มจานวนอาชีพ ขึ้นมาอีกในลาดับถัดไป สาหรับ 7 อาชีพที่มีข้อตกลงกันแล้วให้สามารถ เคลื่อนย้ายไปทางานได้อย่างเสรี
  • 24. และการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีในกลุ่ม 7 อาชีพนั้น มีผลดีต่อ ไทยไม่น้อย เพราะในภาพรวม สถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษาใน ไทยมีศักยภาพในด้านการผลิตบุคลากรในสายวิชาชีพทั้ง 7 ได้อย่างมี ประสิทธิภาพสูง ซึ่งทา ให้ผู้จบ การศึกษาในสายวิชาชีพทั้ง 7 ตั้งแต่ ระดับปริญญาตรีจนถึงปริญญาเอกมีตลาดงานที่เปิดกว้างมากขึ้น จากเดิมที่ตลาดมีแค่การให้บริการประชาชน 63 ล้านคน เป็นตลาด ของประชาชนร่วม 600 ล้านคนใน 10 ประเทศ อาเซียน นอกจากนั้น ประเทศเหล่านี้รวมทั้งไทยอยู่ในทิศทางที่กาลังเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ ทั้ง สิ้น เร็วบ้าง ช้าบ้าง และโดย ภาพรวมคุณภาพของผู้จบวิชาชีพทั้ง 7 ในไทยก็สูงอยู่ในระดับแถวหน้าของประเทศอาเซียน ทาให้โอกาสใน การหางานมีสูง
  • 25. ในขณะที่คนไทยสามารถไปทางานในประเทศอาเซียนได้อย่างเสรีนั้น สภาวิชาชีพ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดูแล มาตรฐานของอาชีพทั้ง 8 นั้น คงต้องมีการดาเนินการอย่างเข้มแข็งรัดกุมเป็นอย่างมาก เพื่อรักษามาตรฐานของ ผู้จบวิชาชีพ ในสาขาอาชีพนั้นๆ ในไทยให้คงเดิม หรือยกระดับให้สูงขึ้นไปอีก ป้ องกันมิให้เกิดการอ่อนด้อยในเรื่องมาตรฐานของ องค์กรในการผลิตคน บาง แห่งที่อาจใช้โอกาสนี้เพิ่มรายได้ในการเร่งผลิตคนในวิชาชีพเหล่านั้น จานวน มากเพื่อตอบสนอง ตลาดที่ใหญ่ขึ้น มิฉะนั้นอาจส่งผลกระทบทางลบโดยรวมอีก ปัญหาที่อาจะตามมาอีกอย่างคือ บางวิชาชีพไทยเริ่มจะเข้าสู่วิกฤตการขาดแคลน อาจารย์เช่น ทันตแพทย์ถ้าแก้ปัญหาไม่ ทันท่วงทีในเวลาอีกสามถึงห้าปีข้างหน้า ไทยจะมีปัญหาเรื่องการสร้างบุคลากรรุ่นใหม่ในสายวิชาชีพทันตแพทย์อย่าง แน่นอน
  • 26. ขณะเดียวกัน ก็ต้องระวังดูแลในเรื่องมาตรฐานของคนจากประเทศ ต่างๆ ในอาเซียนที่เข้ามาประกอบอาชีพทั้ง 8 อาชีพ ในไทยด้วยเช่นกัน เพราะ อาจจะมีผู้มาจากประเทศอื่นที่มาประกอบอาชีพในไทยมีปัญหาความอ่อน ด้อยใน เรื่องมาตรฐาน ซึ่งถ้าดูแลไม่รอบคอบรัดกุม อาจก่อเกิดผลกระทบกับ สังคมไทยในทางลบ และอาจส่งผลต่อปัญหาการประกอบอาชีพของ คนไทย เอง แต่อย่างไรก็ตาม ในภาพรวมสังคมไทยกาลังเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุ จานวนคนในวัยทางานกาลังลดลงอย่างมีนัยสาคัญ มีข้อมูลว่าอีกประมาณสิบ ปี ข้างหน้า สัดส่วนคนในวัยทางานจะต่ากว่าประชากรผู้สูงอายุมาก นี่จะทา ให้เกิดการขาดแคลน แรงงาน โดยเฉพาะแรงงานฝี มือในกลุ่มอาชีพทั้ง 8 นั้น ผู้ที่จบจากสายวิชาชีพดังกล่าวจะประกันได้ว่าไม่น่าจะมีใครที่ตกงาน เพราะมี ตลาดใหญ่มากรองรับทั้งในไทย และในประเทศอาเซียน
  • 27. คุณลักษณะของผู้ประกอบอาชีพแพทย์ 1. เป็นผู้ที่สนและเสียสละต่อเพื่อนมนุษย์ มีมารยาทดี และปรับตัวเข้ากับทุกคนได้ 2. มีความสนใจวิทยาการต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ นอกจากนี้ยังต้องสนใจทางด้านประวัติศาสตร์ วรรณคดี จิตวิทยา ภาษาอังกฤษ สังคมศาสตร์ และมนุษย์ศาสตร์ 3. มีความมั่นคงทางอารมณ์และจิตใจ ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ อดทน 4. ซื่อสัตย์ในวิชาชีพของตน ไม่ใช้ความรู้ทางวิชาการหลอกลวงผู้อื่น 5. มีจิตใจเป็นนักวิทยาศาสตร์ คิดด้วยเหตุผล 6. ช่างสังเกตและละเอียดถี่ถ้วน แต่ต้องฉับไว เพราะช้าอาจหมายถึงชีวิตของผู้ป่วย 7. ต้องไม่รังเกียจต่อสิ่งปฏิกูล เช่น อุจจาระ ปัสสาวะ นามูก นาเหลือง อาเจียน เพราะต้องนาสิ่งเหล่านี้ไปตรวจ
  • 28. ลักษณะอาชีพ ผู้ให้บริการทางการแพทย์และอนามัยแก่ชุมชน เพื่อบาบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพและป้องกันโรคทั่วๆไปได้โดยถูกต้องเหมาะสมด้วย การวินิจฉัยโรคสั่งยา และให้การรักษาทางอายุรกรรม และศัลยกรรมใน ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับร่างกายและจิตใจของมนุษย์ สภาพการจ้างงาน ผู้ประกอบอาชีพนี้ได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือน ตามวุฒิ การศึกษา สาเร็จการศึกษาวิชาการแพทย์ซึ่งไม่มีประสบการณ์ในการ ทางาน
  • 29. คุณลักษณะของผู้ประกอบอาชีพทันตแพทย์ 1. ด้านการศึกษา ควรมีพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี 2. ด้านความถนัด ควรมีความถนัดในการใช้เครื่องมือเกี่ยวกับการปั้นและการ ประดิษฐ์และตกแต่งฟัน จึงเป็นงานประเภทการฝีมือที่ละเอียดอ่อนประเภทหนึ่ง 3. ด้านสุขภาพและบุคลิกลักษณะ ควรมีสุขภาพดี แข็งแรงสมบูรณ์ มีบุคลิกภาพดี รู้หลักจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ในการปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดี 4. มีฐานะทางการเงินดี เพราะต้องใช้เวลาเรียนหลายปี และมีค่าใช้จ่ายเพื่อ การศึกษามาก 5. ต้องมีคุณสมบัติที่จะเข้ารับราชการได้หลังจากจบการศึกษาแล้ว 6. ก่อนเข้าศึกษาสามารถทาสัญญาเข้ารับราชการ
  • 30. ลักษณะอาชีพ 1. การตรวจสุขภาพในช่องปาก 2. การถอนฟัน 3. การจัดฟัน 4. การอุดฟัน 5. ให้คาปรึกษาด้านการดูแลรักษาสุขภาพในช่องปาก 6. การครอบฟัน 7. อื่น ๆ สภาพการจ้างงาน ทันตแพทย์สามารถทางานในภาครัฐ และภาคเอกชนโดยประกอบอาชีพตาม สถานบริการทันตกรรม โรงพยาบาลของรัฐ และเอกชน หรือประกอบธุรกิจ ส่วนตัว ทันตแพทย์ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจะได้รับเงินเดือนเทียบเท่า วุฒิปริญญาตรีทั่วไป อัตราค่าจ้างเป็นรายเดือนแตกต่างกันไปตามความรู้ และความ ชานาญ สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาใหม่ ไม่มีประสบการณ์จะมีรายได้โดยประมาณ
  • 31. คุณลักษณะของผู้ประกอบอาชีพนักบัญชี ควรเป็ นผู้ที่มีความรอบคอบ ซื่อสัตย์ ละเอียด ชอบการติดต่อ ประชาสัมพันธ์กับคนทั่วไป รักความก้าวหน้า มีความคิดริเริ่ม มีความสามารถ วิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์งานได้อย่างมีระบบ ตัดสินใจเร็ว มีความสนใจและ ตื่นตัวในเรื่องทั่วไปและก้าวหน้าทันโลก เพราะงานที่เกี่ยวกับการบัญชี การ พาณิชย์ในองค์การธุรกิจ เป็นงานที่ท้าทายและต้องแข่งขันกับคู่แข่ง ต้องมีการ เคลื่อนไหวให้ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันเสมอ มีความคิดสร้างสรรค์อยู่ตลอดเวลา ถนัดในเรื่องของคณิตศาสตร์ พอสมควร เพื่อช่วยในการตัดสินใจได้เร็วและถูกต้อง
  • 32. ลักษณะอาชีพ ผู้ปฏิบัติงานพนักงานบัญชี ทางานเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมรายการ รายรับ และรายจ่ายของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน จัดทาเป็นรายงาน ตามระบบ และระเบียบของการทาบัญชี จัดทาบัญชีด้วยตนเองหรือร่วม ทางานกับผู้อื่น กากับดูแลการทางานบัญชีของเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบความถูก ต้อง และนาเสนอผู้มีหน้าที่ความรับผิดชอบตามลาดับ อาจทางบดุลประจาปี อาจทาหน้าที่ในการรับ และการจ่ายเงินตามที่ได้รับมอบหมาย สภาพการจ้างงาน ในหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ จะได้รับเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา ส่วนในภาคเอกชน จะได้รับเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา และประสบการณ์ใน การทางาน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของบริษัทหรือองค์กรที่จ้างงานพนักงาน บัญชี ซึ่งไม่มีข้อกาหนดที่แน่นอนตายตัว
  • 33. คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพวิศวกร 1. สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา 2. เป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ มุ่งมั่น ค้นคว้าอย่างต่อเนื่องเพื่อหาวิธีที่ประหยัด และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3. มีวิสัยทัศน์และสนใจกับเหตุการณ์ ข่าวสารที่เกิดขึ้นตลอดเวลา รับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่นและมีจรรยาบรรณของวิศวกร 4. มีความอดทนและเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ มีอารมณ์เยือกเย็น มีความคิด สุขุม 5. มีลักษณะเป็นผู้นา ทั้งนี้งานส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการควบคุมคนเป็นจานวนมาก
  • 34. 6. มีพื้นฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ ภาษาอังกฤษและคณิตศาสตร์เป็นอย่างดี 7. ผู้ประกอบอาชีพวิศวกรในทุกสาขาควรจะมีใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมเพื่อใช้ ในการรับรองสาหรับการประกอบอาชีพ ซึ่งต้องมี คุณสมบัติ และวุฒิการศึกษาตาม ข้อกาหนด โดยจะขอรับใบอนุญาตได้ที่ กองวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สังกัด กระทรวงมหาดไทย ลักษณะอาชีพ วิศวกร ผู้ที่ประกอบอาชีพทางด้านวิศวกรรม มีหน้าที่ ศึกษาวิเคราะห์ คานวณ ออกแบบ ตรวจสอบแก้ไขปัญหาและควบคุมการผลิต อาทิ การก่อสร้างสิ่งก่อสร้าง การออกแบบและผลิตรถยนต์ การควบคุมเครื่องจักรกลโรงงานต่าง ๆ สภาพการจ้างงาน ทางานควบคุมงานระบบในอาคารต่างของวงงานราชการ งานเอกชนและงานส่วนตัว ทางหลวง เขื่อนต่างๆ ทางานในโรงงานอุตสาหกรรม, ครู-อาจารย์ในมหาวิทยาลัย รับราชการในกรม และองค์กรต่างๆ ทางานรัฐวิสาหกิจ
  • 35. คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพพยาบาล 1. สาเร็จการศึกษา พยาบาลศาสตร์ต่อเนื่อง หรือพยาบาลศาสตร์ 2. มีสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่พิการหรือทุพพลภาพ ปราศจาก โรค (อันเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน) 3. มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ไม่รังเกียจผู้เจ็บป่วย มีความเมตตา และมีความรักใน เพื่อนมนุษย์มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4. มีความอดทน อดกลั้น และมีความกล้าในการตัดสินใจ 5. มีความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน 6. มีความเสียสละที่จะเดินทางไปรักษาพยาบาลผู้คนในชุมชนทั่วประเทศ
  • 36. ลักษณะอาชีพ รักษา ดูแล และให้คาแนะนาเกี่ยวกับการพยาบาล เป็นผู้ช่วยแพทย์ โดยการสังเกต และบันทึกความเปลี่ยนแปลงในคนไข้รายงานให้แพทย์ ทราบถึงอาการของคนไข้ตามลักษณะโรคที่เป็นทั้งร่างกาย อารมณ์ และ จิตใจ ช่วยฟื้ นฟูสุขภาพของคนไข้ ช่วยคนไข้ให้ปรับตัวเข้ากับภาวะ ขัดข้องใดๆ ที่อาจเกิด จากการเจ็บป่วย จัดให้คนไข้ มีสิ่งแวดล้อมที่ถูก สุขอนามัย ป้ องกันและควบคุมการเผยแพร่ของโรคติดเชื้อ สอนคนไข้ และประชาชนทั่วไปให้รู้จักการดูแลและส่งเสริมสุขภาพวางแผน มอบหมาย สั่งการ ดูแล และประเมินผลงานของผู้ช่วยพยาบาล และผู้ทา หน้าที่ประสานงาน ร่วมงานกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายการแพทย์ และอนามัย แขนงอื่นๆ ในการบริการคนไข้
  • 37. สภาพการจ้างงาน สาหรับหน่วยงานราชการพยาบาลที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตรี ได้รับเงินเดือนอัตรา 6,360 บาท ส่วนพยาบาลที่สาเร็จการศึกษา ระดับปริญญาโทได้รับเงินเดือนอัตรา 7,780 บาท และปริญญาเอกได้รับ เงินเดือนอัตรา 10,600 บาท ในหน่วยงานรัฐวิสาหกิจผู้ที่มีการศึกษา ระดับปริญญาตรีจะได้รับเงินเดือนประมาณ 7,000 -7,600 บาท สาหรับหน่วยงานเอกชน พยาบาลที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี จะได้รับเงินเดือนขั้นต้นประมาณ 13,900 บาท ค่าอยู่เวร เวรละ 250 บาท ซึ่งจะมีรายได้เฉลี่ยจากค่าอยู่เวรประมาณเดือนละ2,500 - 3,000 บาท ซึ่ง พยาบาลเอกชนจะมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 16,000 บาทมีสวัสดิการที่พัก และสิทธิพิเศษ อื่นๆ ตามเงื่อนไขการตกลงกับผู้ว่าจ้าง
  • 38. คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพสถาปนิก 1) จบการศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์หลักสูตร 5 ปี 2) มีใบอนุญาตเป็นสถาปนิก 3) มีประสบการณ์อย่างน้อย 10 ปีนับแต่จบการศึกษา 4) เมื่อจบแล้วต้องทางานโดยมีใบอนุญาตอย่างน้อย 5 ปี 5) มีการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอย่างต่อเนื่อง
  • 39. ลักษณะอาชีพ ออกแบบอาคารประเภทต่างๆให้สวยงาม และสอดคล้องกับสภาพภูมิ ประเทศ ภูมิอากาศ กฎหมาย ประยุกต์ใช้ความรู้ ความสามารถ ทั้งทางศิลปะ และเทคนิค โดยคานึงถึงประโยชน์ใช้สอยและประหยัด ทั้งในด้านราคาค่า ก่อสร้างและพลังงานสนองความต้องการของผู้อาศัย และผู้ใช้อาคาร ทาให้ ชีวิตความเป็นอยู่โดยรวมดีขึ้น และไม่กระทบให้เป็นผลเสียของส่วนรวม สภาพการจ้างงาน สถาปนิกที่รับราชการจะได้รับเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา สถาปนิกที่ ทางานกับภาคเอกชนจะได้รับเงินเดือน ขั้นต้นอยู่ระหว่าง 15,000 -20,000 บาท ขึ้นอยู่กับฝีมือและประสบการณ์ในการฝึกงานขณะที่กาลังศึกษาอยู่ ได้รับสวัสดิการตามกฎหมายแรงงานกาหนดไว้และสิทธิประโยชน์อื่น เช่น โบนัสขึ้นอยู่กับผลประกอบการ
  • 40. คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพนักสารวจ 1. สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 2. มีร่างกายแข็งแรง สามารถทางานหนักได้ 3. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ชอบการคิดคานวณ และงานทดลอง 4. มีความเป็นผู้นา มีมนุษยสัมพันธ์ดี 5. มีความเชื่อมั่น แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี 6. มีความละเอียดรอบคอบ ชอบการบันทึก 7. สามารถวิเคราะห์ และตัดสินใจแก้ปัญหาที่เกิดจากการทางานได้
  • 41. ลักษณะอาชีพ 1. ควบคุม และทาการสารวจพื้นดิน และท้องน้า เพื่อการทาแผนที่หรือแผนภูมิ งาน ก่อสร้าง งานเหมืองแร่ หรืองานอื่นๆ โดยกาหนดสถานที่ตั้ง 2. วาดภาพแสดงลักษณะภูมิประเทศ ตรวจสอบบันทึก แผนที่ แผนผัง โฉนด และ เอกสารที่เกี่ยวข้องตลอดจนทาการคานวณเบื้องต้น ซึ่งจาเป็นสาหรับงานสารวจ 3. ตรวจสอบ และปรับกล้องรังวัด หรือกล้องทาแผนที่เข็มทิศ โต๊ะสารวจ และ เครื่องมือสารวจอื่นๆ 4. สารวจ และสั่งงานผู้ช่วย เพื่อให้การปฏิบัติงานตรงตามสถานที่ที่กาหนด และ เพื่อความแน่นอนเกี่ยวกับการวัดระหว่างจุดต่างๆ ความสูงชัน เส้นและมุม ความสูง ต่าของพื้นดิน และข้อมูลที่เกี่ยวกับพื้นผิวดิน พื้นที่ใต้ดิน และพื้นที่ใต้ท้องน้า 5. ทาการคานวณเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของสิ่งที่วัดได้ 6. บันทึกการใช้มาตรการต่างๆ และการคานวณ รวมทั้งการเขียนแบบร่างพื้นที่ บริเวณที่ทาการสารวจ 7. จัดทาแบบวาดโดยละเอียด และทารายงาน
  • 42.
  • 43.
  • 44. เมืองหลวง : บันดาร์ เสรี เบกาวัน ภาษา : ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษและจีน ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์66%, จีน11%,อื่นๆ 23% นับถือศาสนา : อิสลาม 67%, พุทธ 13%, คริสต์ 10% ระบบการปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
  • 45. จุดแข็ง -การเมืองค่อนข้างมั่นคง -รายได้เฉลี่ยต่อคนเป็นอันดับ 2 ในอาเซียน อันดับ 26 ของโลก -ผู้ส่งออกและมีปริมาณสารองน้ามันอันดับ 4 ในอาเซียน ข้อควรรู้ -ประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซียนสามารถทาวีซ่าที่ ตม.ที่ประเทศบรูไนฯ สามารถอยู่ได้นาน 2 สัปดาห์ -ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลือง เพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตริย์ -การทักทายจะจับมือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ยื่นมือให้บุรุษจับ
  • 46. - การใช้นิ้วชี้ไปที่คนหรือสิ่งของถือว่าไม่สุภาพ แต่จะใช้หัวแม่ มือชี้แทน จะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อื่น - สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผู้ชายและไม่ส่งเสียงหรือ หัวเราะดัง - วันหยุดคือวันศุกร์และวันอาทิตย์, วันศุกร์ 12.00-14.00 น.ทุก ร้านจะปิด - จัดงานเย็นต้องจัดหลัง 2 ทุ่ม
  • 47. อาหารประจาชาติ : อัมบูยัต Ambuyat จัดเป็นอาหารประจาชาติ ที่มีชื่อเสียงที่สุดของประเทศบรูไน ดารุสซาลาม มีลักษณะคล้ายข้าวต้ม หรือโจ๊ก มีส่วนผสมของแป้งสาคูเป็นหลัก โดยทั่วไป อัมบูยัต คือ อาหารที่รับประทานแทนข้าว โดยจะมีอาหารจานหลักและเครื่องเคียง อย่างน้อย 3 อย่าง วางอยู่โดยรอบ
  • 48. สกุลเงิน : ดอลลาร์บรูไน Brunei Dollar [BND] อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 1 ดอลลาร์บรูไน เท่ากับประมาณ 25 บาท (ขึ้นอยู่ กับอัตราแลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 1 ดอลลาร์, 5 ดอลลาร์, 10 ดอลลาร์, 20 ดอลลาร์, 25 ดอลลาร์, 50 ดอลลาร์, 100 ดอลลาร์, 500 ดอลลาร์, 1,000 ดอลลาร์ และ 10,000 ดอลลาร์
  • 49.
  • 50. เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ ภาษา : ภาษาเขมร เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษ, ฝรั่งเศส, เวียดนามและจีน ประชากร : ประกอบด้วย ชาวเขมร 94%, จีน 4%,อื่นๆ 2% นับถือศาสนา : พุทธ(เถรวาท) เป็นหลัก ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตย์เป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ
  • 51. จุดแข็ง ค่าจ้างแรงงานต่าที่สุดในอาเซียน มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและสมบูรณ์ ข้อควรรู้ ผู้ที่เดินทางเข้ากัมพูชา และประสงค์จะอยู่ทาธุรกิจเป็นระยะเวลาเกิน 3 เดือน ควร ฉีดยาป้องกันโรคไทฟอยด์ และไวรัสเอและบี เพื่อนผู้ชายจับมือกัน ถือเป็นเรื่องปกติ ผู้หญิงห้ามแต่งตัวเซ็กซี่, ผู้ชายไว้ผมยาวจะมีภาพลักษณ์ นักเลง ห้ามจับศีรษะ คนกัมพูชาถือว่าเป็นส่วนสาคัญที่สุดของร่างกาย สบตามากเกินไป ถือว่าไม่ให้เกียรติ
  • 52. อาหารประจาชาติ : อาม็อก Amok มีลักษณะคล้ายห่อหมกของไทย ทาจากปลา น้าพริก เครื่องแกงและ กะทิ อาม็อก เป็นหนึ่งในอาหารยอดนิยมของกัมพูชา
  • 53. สกุลเงิน : “เรียล” Cambodian Riel [KHR] อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 127 เรียล เท่ากับประมาณ 1 บาท (ขึ้นอยู่กับอัตรา แลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 50 เรียล, 100 เรียล, 200 เรียล, 500 เรียล, 1,000 เรียล, 2,000 เรียล, 5,000 เรียล, 10,000 เรียล, 20,000 เรียล, 50,000 เรียล และ 100,000 เรียล
  • 54.
  • 55. เมืองหลวง : จาการ์ตา ภาษา : ภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วย ชนพื้นเมืองหลายกลุ่ม มีภาษามากกว่า 583 ภาษา ร้อยละ 61 อาศัยอยู่บนเกาะชวา นับถือศาสนา : อิสลาม 87%, คริสต์ 10% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข และหัวหน้าฝ่าย บริหาร
  • 56. จุดแข็ง -มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ -มีจานวนประชากรมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ข้อควรรู้ -ไม่ควรใช้มือซ้ายในการรับ-ส่งของ คนมุสลิมอินโดนีเซียถือว่ามือซ้ายไม่สุภาพ -นิยมใช้มือกินข้าว -ไม่ควรชี้นิ้วด้วยนิ้วชี้ แต่ใช้นิ้วโป้งแทน -ไม่จับศีรษะคนอินโดนีเซียรวมทั้งการลูบศีรษะเด็ก -การครอบครองยาเสพติด อาวุธ หนังสือรูปภาพอนาจาร มีบทลงโทษหนัก -บทลงโทษรุนแรงเกี่ยวกับการค้าและส่งออกพืชและสัตว์กว่า 200 ชนิด จึงควร ตรวจสอบก่อนซื้อหรือนาพืชและสัตว์ออกนอกประเทศ -มอเตอร์ไซค์รับจ้างมีมิเตอร์ -งานศพใส่ชุดสีอะไรก็ได้
  • 57. อาหารประจาชาติ : กาโด กาโด Gado Gado อาหารยอดนิยมของอินโดนีเซียคล้ายกับสลัดแขก ซึ่งจะประกอบด้วยถั่ว เขียว มันฝรั่ง ถั่วงอก เต้าหู้ ไข่ต้มสุก กะหล่าปลี ข้าวเกรียบกุ้ง รับประทานกับซอส ถั่วที่มีลักษณะเหมือนซอสสะเต๊ะ
  • 58. สกุลเงิน : “รูเปียห์” Indonesian Rupiah [IDR] อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 1,000 รูเปียห์ เท่ากับประมาณ 3 บาท (ขึ้นอยู่กับ อัตราแลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 1,000 รู เปียห์, 2,000 รูเปียห์, 5,000 รูเปียห์, 10,000 รูเปียห์, 20,000 รูเปียห์, 50,000 รูเปียห์ และ 100,000 รูเปียห์
  • 60. เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทร์ ภาษา : ภาษาลาว เป็นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วย ชาวลาวลุ่ม 68%, ลาวเทิง 22%, ลาวสูง 9% รวมประมาณ 68 ชนเผ่า นับถือศาสนา : 75% นับถือพุทธ, นับถือผี 16% ระบบการปกครอง : สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
  • 61. จุดแข็ง -ค่าจ้างแรงงานต่าอันดับ 2 ในอาเซียน -การเมืองมีเสถียรภาพ ข้อควรรู้ -ลาว มีตัวอักษรคล้ายของไทย ทาให้คนไทยอ่านหนังสือลาวได้ไม่ยากนัก ส่วนคน ลาวอ่านหนังสือไทยได้คล่องมาก -ลาวขับรถทางขวา -ติดต่อราชการต้องนุ่งซิ่น -เดินผ่านผู้ใหญ่ ต้องก้มหัว -ถ้าเพื่อนคนลาวเชิญไปพักที่บ้านห้ามให้เงิน -อย่าซื้อน้าหอมให้กัน -ที่ถูกต้องคนลาวที่ให้พัก ต้องแจ้งผู้ใหญ่บ้าน -เข้าบ้านต้องถอดรองเท้า และถ้าเขาเสิร์ฟน้าต้องดื่ม
  • 62. อาหารประจาชาติ: ซุบไก่ Chicken Soup เป็นอาหารพื้นเมืองของประเทศลาว มีส่วนผสมในการประกอบอาหาร คือ ตะไคร้ ใบสะระแหน่ กระเทียม และหอมแดง ทั้งนี้ อาหารลาวโดยส่วนใหญ่มักจะ มีผักและสมุนไพรเป็นส่วนผสมในการปรุง
  • 63. สกุลเงิน : “กีบ” Lao Kip [LAK] อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 1,000 กีบ เท่ากับประมาณ 4 บาท (ขึ้นอยู่กับอัตรา แลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 500 กีบ, 1,000 กีบ, 2,000 กีบ, 5,000 กีบ, 10,000 กีบ, 20,000 กีบ และ 50,000 กีบ
  • 64.
  • 65. เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร์ ภาษา : ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษและจีน ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาบอร์เนียว 10% นับถือศาสนา : อิสลาม 60%, พุทธ 19%, คริสต์ 11% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
  • 66. จุดแข็ง -มีปริมาณสารองน้ามันมากเป็นอันดับ 3 ในเอเชียแปซิฟิก -มีปริมาณก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแปซิฟิก ข้อควรรู้ -ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะได้รับสิทธิพิเศษ คือ เงินอุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณสุข การคลอดบุตรงานแต่งงานและงานศพ -มาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ในมาเลเซียประกอบด้วย ชาวมาเลย์กว่าร้อยละ 40 ที่เหลืออีกกว่าร้อยละ 33 เป็นชาวจีนร้อยละ10 เป็นชาว อินเดีย และ อีกร้อยละ 10 เป็นชนพื้นเมืองบนเกาะบอร์เนียว -ใช้มือขวาเพียงข้างเดียวในการรับประทานอาหาร และรับส่งของ -เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นเรื่องต้องห้าม
  • 67. อาหารประจาชาติ : นาซิ เลอมัก Nasi Lemak อาหารยอดนิยมของประเทศมาเลเซีย เป็นข้าวผัดกับกะทิและสมุนไพร นาซิ เลอมัก เสิร์ฟพร้อมกับปลากะตักทอด แตงกวาหั่น ไข่ต้มสุกและถั่วอบ นาซิ เลอมัก แบบดั้งเดิม จะห่อในใบตองและรับประทานเป็นอาหารเช้า
  • 68. สกุลเงิน : “ริงกิต” Malaysian Ringgit [MYR] อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 1 ริงกิต เท่ากับประมาณ 10 บาท (ขึ้นอยู่กับอัตรา แลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 1 ริงกิต, 5 ริงกิต, 10 ริงกิต, 20 ริงกิต, 50 ริงกิต และ 100 ริงกิต
  • 69.
  • 70. เมืองหลวง : เนปีดอ (Naypyidaw) ภาษา : ภาษาพม่า เป็นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วยเผ่าพันธุ์ 135 มี 8 เชื้อชาติหลักๆ 8 กลุ่ม คือ พม่า 68%, ไทยใหญ่ 8%, กระเหรี่ยง 7%, ยะไข่ 4% จีน 3% มอญ 2% อินเดีย 2% นับถือศาสนา : นับถือพุทธ 90%, คริสต์ 5% อิสลาม 3.8% ระบบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาลทหาร
  • 71. จุดแข็ง -มีพรมแดนเชื่อมต่อกับจีน และอินเดีย -ค่าจ้างแรงงานต่าเป็นอันดับ 3 ในอาเซียน -มีปริมาณก๊าซธรรมชาติเป็นจานวนมาก ข้อควรรู้ -ไม่ควรพูดเรื่องการเมือง กับคนไม่คุ้นเคย -เข้าวัดต้องถอดรองเท้า ถุงเท้า -ห้ามเหยียบเงาพระสงฆ์ -ให้นามบัตรต้องยื่นให้สองมือ -ไม่ควรใส่กระโปรงสั้น กางเกงขาสั้น ในสถานที่สาธารณะและศาสนสถาน -ผู้หญิงชอบทาทะนาคา (ผู้ชายก็ทาด้วย) ผู้ชายชอบเคี้ยวหมาก
  • 72. อาหารประจาชาติ : หล่าเพ็ด Lahpet อาหารประจาชาติของพม่าที่มีลักษณะคล้ายกับยาเมี่ยงของไทย โดย รับประทานกับเครื่องเคียง เช่น ใบชาหมัก กระเทียมเจียว ถั่วชนิดต่างๆ งาคั่ว กุ้ง แห้ง ขิง มะพร้าวคั่ว เป็นต้น
  • 73. สกุลเงิน : “จ๊าด” Myanmar Kyat [MMK] อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 26 จ๊าด เท่ากับประมาณ 1 บาท (ขึ้นอยู่กับอัตรา แลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 50 ปยา, 1 จ๊าด, 5 จ๊าด, 20 จ๊าด, 50 จ๊าด, 100 จ๊าด, 200 จ๊าด, 500 จ๊าด, 1,000 จ๊าด , 5,000 จ๊าด และ 10,000 จ๊าด
  • 74.
  • 75. เมืองหลวง : กรุงมะนิลา ภาษา : ภาษาฟิลิปิโน และภาษาอังกฤษ เป็นภาษาราชการ นับถือศาสนา : คริสต์โรมันคาทอลิก 83% คริสต์นิกายโปรเตสแตนต์, อิสลาม 5% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิปดีเป็นประมุขและหัวหน้าฝ่าย บริหาร
  • 76. จุดแข็ง -แรงงานทั่วไป ก็มีความรู้สื่อสารภาษาอังกฤษได้ ข้อควรรู้ -การเข้าไปประกอบธุรกิจในฟิลิปปินส์ในลักษณะต่างๆ เช่น การลงทุนร่วมกับฝ่าย ฟิลิปปินส์จาเป็นต้องมีการศึกษาข้อมูลให้ละเอียด โดยเฉพาะในด้านกฎหมาย การจด ทะเบียนภาษี และปัญหาทางด้านแรงงาน เป็นต้น -เท้าสะเอว หมายถึง ท้าทาย, เลิกคิ้ว หมายถึง ทักทาย -ใช้ปากชี้ของ -กินข้าวบ้านเพื่อนสามารถห่อกลับได้ แต่ควรมีของฝากให้เขาด้วย -ตกแต่งบ้าน 2 เดือน ต้อนรับคริสต์มาส
  • 77. อาหารประจาชาติ : อโดโบ้ Adobo อาหารยอดนิยมของประเทศฟิลิปปินส์ เป็นอาหารที่มีต้นกาเนิดมาจาก ภาคเหนือของฟิลิปปินส์และเป็นที่นิยมของนัก เดินทางหรือนักเดินเขา อโดโบ้ทา จากหมูหรือไก่ที่ผ่านกรรมวิธีหมักและปรุงรสโดยจะใส่ซีอิ๊วขาว น้าส้มสายชู กระเทียมสับ ใบกระวาน พริกไทยดา นาไป ทาให้สุกโดยใส่ในเตาอบหรือทอด และรับประทานกับข้าว
  • 78. สกุลเงิน : “เปโซ” Philippine Peso [PHP] อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 1.40 เปโซ เท่ากับประมาณ 1 บาท (ขึ้นอยู่กับอัตรา แลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 20 เปโซ, 50 เปโซ, 100 เปโซ, 200 เปโซ, 500 เปโซ และ 1,000 เปโซ
  • 79.
  • 80. เมืองหลวง : สิงคโปร์ ภาษา : ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการรองลงมาคือจีนกลาง ส่งเสริมให้พูดได้ 2 ภาษ คือ จีนกลาง และให้ใช้อังกฤษ เพื่อติดต่องานและชีวิตประจาวัน ประชากร : ประกอบด้วยชาวจีน 76.5%, มาเลย์13.8%, อินเดีย 8.1% นับถือศาสนา : พุทธ 42.5%, อิสลาม 14.9%, คริสต์ 14.5%, ฮินดู 4%, ไม่นับถือศาสนา 25% ระบบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภามีสภาเดียว) โดยมีประธานาธิปดีเป็นประมุขและนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร
  • 81. จุดแข็ง -รายได้เฉลี่ยต่อคน เป็นอันดับ 1 ในอาเซียน และอันดับ 15 ของโลก -แรงงานมีทักษะสูง ข้อควรรู้ -หน่วยราชการเปิดทาการวันจันทร์ – ศุกร์ ระหว่างเวลา 08.30 น.-13.00 น. และ 14.00 น. – 16.30 น. และวันเสาร์ เปิดทาการระหว่างเวลา 08.00 น. – 13.00 น. -การหลบหนีเข้าสิงคโปร์และประกอบอาชีพเร่ขายบริการผิดกฎหมาย จะถูก ลงโทษอย่างรุนแรง -การลักลอบนายาเสพติด อาวุธปืนและสิ่งผิดกฎหมายอื่นๆ จะได้รับโทษอย่าง รุนแรงถึงขั้นประหารชีวิต -ขึ้นบันไดเลื่อนให้ชิดซ้าย -ห้ามทิ้งขยะเรี่ยราด, ห้ามเก็บผลไม้ในที่สาธารณะ -ผู้สูงอายุทางาน ถือเป็นเรื่องปกติ
  • 82. อาหารประจาชาติ : ลักสา Laksa เป็นก๋วยเตี๋ยวต้มยาใส่กะทิ มีลักษณะคล้ายข้าวซอยของไทย โดยเส้นก๋วยเตี๋ยวจะมีลักษณะคล้าย vermicelli ซึ่งเป็นหนึ่งในเส้นสปาเกตตีของอิตาลี
  • 83. สกุลเงิน : “ดอลลาร์สิงคโปร์” Singapore Dollar [SGD] อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ เท่ากับประมาณ 25 บาท (ขึ้นอยู่กับอัตราแลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับ ละ 2 ดอลลาร์, 5 ดอลลาร์, 10 ดอลลาร์, 50 ดอลลาร์, 100 ดอลลาร์, 1,000 ดอลลาร์ และ 10,000 ดอลลาร์
  • 84.
  • 85. เมืองหลวง : กรุงฮานอย ภาษา : ภาษาเวียดนาม เป็นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วยชาวเวียด 80%, เขมร 10% นับถือศาสนา : พุทธนิกายมหายาน 70%, คริสต์ 15% ระบบการปกครอง : ระบบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็นพรรคการเมือง เดียว
  • 86. จุดแข็ง -มีปริมาณสารองน้ามันดิบมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแปซิฟิค ข้อควรรู้ -หน่วยงานราชการ สานักงาน และองค์กรให้บริการสาธารณสุข เปิดทาการ ระหว่างเวลา 08.00 น. – 16.30 น. ตั้งแต่วันจันทร์ – ศุกร์ -เวียดนามไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพอาคารที่ทาการต่างๆ ของรัฐ -คดียาเสพติดการฉ้อโกงหน่วยงานของรัฐมีโทษประหารชีวิต -ตีกลองแทนออดเข้าเรียน -ชุดนักเรียนหญิงเป็นชุดอ่าวหญ่าย -คนภาคเหนือไม่ทานน้าแข็ง -ไม่ถ่ายรูป 3 คนอย่างเด็ดขาด เพราะถือว่าจะทาให้เบื่อกัน หรือแยกกันหรือใคร คนใดเสียชีวิต -ต้องเชิญผู้ใหญ่ก่อนทานข้าว
  • 87. อาหารประจาชาติ : Nem หรือ เปาะเปี๊ยะเวียดนาม เป็นอาหารพื้นเมืองที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในเวียดนาม แผ่นเปาะเปี๊ยะทาจาก แผ่นแป้งที่ทาจากข้าวเจ้า โดยไส้เปาะเปี๊ยะอาจเป็นไก่ หมู กุ้ง ห่อรวมกับผักต่าง ๆ นับเป็นอาหารยอดนิยมที่สามารถรับประทานได้ทั่วไปในเวียดนาม
  • 88. สกุลเงิน : “ด่ง” หรือ “ดอง” Vietnamese Dong [VND] อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน 652 ด่ง เท่ากับประมาณ 1 บาท (ขึ้นอยู่กับอัตรา แลกเปลี่ยนในขณะนั้น) ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 1,000 ด่ง 2,000 ด่ง 5,000 ด่ง 10,000 20,000 ด่ง 50,000 ด่ง 100,000 ด่ง 200,000 ด่ง และ 500,000 ด่ง
  • 89.
  • 90. เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร ภาษา : ภาษาไทย เป็นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วยชาวไทยเป็นส่วนใหญ่ นับถือศาสนา : พุทธนิกายเถรวาท 95%, อิสลาม 4% ระบบการปกครอง : ระบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข
  • 91. จุดแข็ง -เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน -มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่มีชื่อเสียง ข้อควรรู้ -ไปศาสนสถานควรแต่งกายเรียบร้อย, ก่อนเข้าอุโบสถต้องถอดรองเท้า -ห้ามพระสงฆ์สัมผัสสตรี -สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นที่เคารพสักการะ การละเมิดใดๆ ถือเป็นความผิดตาม รัฐธรรมนูญ -ทักทายกันด้วยการไหว้ -ถือว่าเท้าเป็นของต่า ไม่ควรพาดบนโต๊ะ หรือเก้าอี้ หรือหันทิศทางไปที่ใคร -ธงชาติถือเป็นของสูง ไม่ควรนามากระทาการใดๆที่เป็นการเหยียดหยาม -การแสดงออกทางเพศในที่สาธารณะ ยังไม่ได้รับการยอมรับในวัฒนธรรมไทย
  • 92. อาหารประจาชาติ : ต้มยากุ้ง Tom Yam Goong เป็นอาหารที่โด่งดังมากที่สุดของประเทศไทย ชาวต่างชาติจะรู้จักต้มยากุ้ง มากกว่าต้มยาชนิดอื่น ๆ การปรุงต้มยากุ้งจะเน้นรสชาติเปรี้ยวและเผ็ดเป็นหลัก จะ ออกเค็มและหวานเล็กน้อย มีเครื่องเทศที่ใส่ในน้าแกงที่สาคัญคือ ใบมะกรูด ตะไคร้ ส่วนผักที่นิยมใส่ในต้มยา ได้แก่ มะเขือเทศ เห็ดฟาง เห็ดนางฟ้ า ใบผักชี ส่วนเครื่องปรุงที่จาเป็นต้องใส่ คือ มะนาว น้าปลา น้าตาล และน้าพริกเผา
  • 93. สกุลเงิน : “บาท” Thai Baht [THB] โดยเหรียญกษาปณ์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีทั้งหมด 9 ชนิด คือ เหรียญ 1, 5, 10, 25 และ 50 สตางค์, 1, 2, 5 และ 10 บาท โดยเหรียญ 25 และ 50 สตางค์, 1, 2, 5 และ 10 บาท เป็นเหรียญที่ออกใช้หมุนเวียนทั่วไป ส่วนเหรียญ 1, 5 และ 10 สตางค์ ไม่ได้ออกใช้หมุนเวียนทั่วไป แต่ใช้ภายในธนาคารเท่านั้น ส่วนธนบัตรที่ใช้ใน ปัจจุบันและมีการผลิตอย่างต่อเนื่อง มี 5 ชนิด คือ ธนบัตร 20, 50, 100, 500 และ 1,000 บาท
  • 95. ผู้จัดทำโดย นางสาว นันธิกา กิจปาโล เลขที่ 32 นางสาว ชนิภรณ์ บริสุทธิ์ เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/13