SlideShare a Scribd company logo
1 of 80
Download to read offline
ยุทธศาสตร์และการวางกาลังกองทัพสหรัฐฯ
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com
ekkachais@hotmail.com
Heart Land and Rim Land Strategy
http://www.tortaharn.net/contents/index.php?option=com_content&task=view&id=63&Itemid=75&ccdate=6-2008
Pivot Area
ยูเรเซีย(Eurasia)
รูปแบบการทาสงคราม
หนึ่งประเทศสองระบบ
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
จานวนพลเมือง ทรัพยากร การเดินเรือ
Rimland Eurasia World
สหรัฐฯได้แบ่งประเภทของภัยต่อสหรัฐออกเป็น ๓ กลุ่ม
1. ภัยจากรัสเชีย หลังล่มสลายอาจเกิดความไม่พอใจในระบอบประชาธิปไตย
อาจมีการปฏิวัติและได้ผู้นาเผด็จการขึ้นมา รัสเชียมีกาลังอานาจมากอาจ
กลับมาเป็นคู่แข่งที่สาคัญ จะทาให้สหรัฐมีความลาบากมากขึ้นในยุโรป
ตะวันออกเพราะมีบริวารรัสเซียมาก
2. ภัยจากจีน หลังสงครามเย็นสหรัฐฯไม่ได้รับอะไรเลย ประเทศที่ได้ประโยชน์ทุก
อย่าง คือ จีน มีความร่ารวย มีการพัฒนาอาวุธ จนเป็นลาดับ ๒ ของโลก ผู้
ชนะตอนนี้เป็นของจีน หลุดจากการเฝ้ามองจากสหรัฐฯ หันมาที่กลุ่มก่อการ
ร้ายแทน
3. ประเทศเล็กๆที่มีสงครามกลางเมืองเช่นโคโซโว บอสเนีย ลาวัลด้า โซมาเรีย ไฮ
ติ ในอดีตสหรัฐฯให้ความสาคัญน้อยเพราะไม่ได้เป็นภัยคุกคามความมั่นคง
ของสหรัฐฯ ประเทศมหาอานาจที่จะเป็นภัยของสหรัฐคือรัสเซีย จีน และ
ประเทศที่มี Weapon Destruction
National Strategy to Combat Weapons of Mass Destruction
นโยบายของสหรัฐฯ มีความเปลี่ยนแปลงที่สอดคล้องกับ Doctrine of Prevention ในเรื่อง
การแพร่ขยายอาวุธทาลายล้างสูง เช่นเดียวกับกรณีอิรัคก็มาจากสาเหตุนี้
ปกติสหรัฐฯจะใช้เครื่องมือทางการเมือง การทูต เศรษฐกิจเพื่อบีบไม่ให้เกิดการแพร่ขยาย
อาวุธทาลายล้างสูง Proliferation Weapons of Mass Destruction
สหรัฐฯพยายามผลักสมรภูมิรบออกนอกประเทศโดยยอมให้คนอเมริกันตายนอกประเทศ
๑๐,๐๐๐ คนดีกว่าตายในประเทศเพียง ๑,๐๐๐ คน เพราะมีผลกระทบต่อจิตใจ
กลัวความอ่อนแอและอาจพ่ายแพ้ เช่นกรณี ๑๑ ก.ย.๔๔ เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชาว
อเมริกันโดยสิ้นเชิง ไม่สามารถดาเนินชีวิตดังอดีตได้
หากปล่อยให้สถานการณ์เป็นอย่างนี้เนิ่นนานไปโดยที่ประชาชนให้อานาจกับประธานาธิบดี
ในการทาสงครามทุกรูปแบบที่จะไปทาลายใครก็ได้ อาจจะมีผลกระทบในระยะยาว
ให้ความสนใจหรือเปลี่ยนแปลงมาที่เอเชียแปซิฟิก (Pivot to Asia)
สร้างความเข้มแข็งและความสัมพันธ์ของกองทัพสหรัฐต่อประเทศ
อินโดนีเซีย สิงคโปร์ มาเลเซีย บรูไนและเวียดนาม และปัจจุบันกับ
พม่า
การเปลี่ยนแปลงนาไปสู่การรวมตัวและการขยายตัวของฐานทหาร
อเมริกันทั่วเอเชียและแปซิฟิก ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างความ
เข้มแข็งพันธมิตรทางทหารของสหรัฐอเมริกา และพันธมิตรเชิง
ยุทธศาสตร์ เช่นเดียวกับการปรับโครงสร้างและการจัดตาแหน่ง
กองกาลังทหารอเมริกันทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐอเมริกา
(New Strategic Guidance)
จุดเปลี่ยนยุทธศาตร์
ทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศในโลกต่างเร่งพัฒนาศักยภาพด้านการทหารมาก
ขึ้นเพื่อป้องกันตนอง ปกป้องทรัพยากรธรรมชาติและเสริมสร้างความสมดุล
มหาอานาจเกิดใหม่ในเอเชีย เช่น จีนและอินเดีย เร่งเสริมสร้างศักยภาพด้าน
ทหารอย่างเต็มที่ ด้วยมีฐานทรัพยากรและประชากร ทาให้ทั้ง 2 ชาติก้าว
ขึ้นมาอยู่ในระดับคู่แข่งของชาติมหาอานาจสหรัฐอเมริกา
อนาคต ยุทธศาตร์ด้านความมั่นคงของโลกจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก การ
ครอบครองทรัพยากรด้านต่างๆ ต้องอาศัยกาลังทางทหารเพื่อต่อรอง
อเมริกามีเป้าหมายเปลี่ยนจากรัสเซียไปจีน แม้จะเป็นประเทศคู่การค้า
สหรัฐฯเพิ่มการติดต่อทางทหารกับจีนมากขึ้น ยุทธศาสตร์ใหม่ที่มุ่งภูมิภาคเอเชีย ซึ่งจีน
มองว่าต้องการตรวจสอบการเติบโตของจีนทางเศรษฐกิจและทางการทหาร
การบังคับบัญชาในภูมิภาคแปซิฟิกของสหรัฐอเมริกา (The U.S. Pacific Command -
USPACOM) มีการแปลกเปลี่ยนกับจีนที่ได้วางแผนไว้ รวมการพูดคุยถึงเรื่องเวชศาสตร์
ทางทหาร (Military Medicine) การเตรียมความพร้อม การวางแผนสาหรับการร่วมกันค้น
หาทางทะเลและการช่วยชีวิต
อเมริกาเชิญจีนร่วมการฝึก The Rim of the Pacific Exercise – RIMPAC ปีหน้า เป็นการฝึก
ขนาดใหญ่เกี่ยวกับการป้องกันทางทะเล จัดโดยกองทัพเรือสหรัฐ หลายประเทศเข้าร่วม
และสังเกตการณ์ เช่น ออสเตรเลีย แคนาดา โคลอมเบีย ฝรั่งเศส อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น
มาเลเซีย เนเธอร์แลนด์ เปรู สาธารณ รัฐเกาหลี สิงคโปร์ ไทย
ความสัมพันธ์ของสหรัฐอเมริกา กับ จีน
RIMPAC - The Rim of the Pacific Exercise
ปรับกองกาลังให้มีขนาดเล็กลง (Smaller force)
– ดาเนินการลดกองกาลัง PB13 ต่อ
การลดกองทัพ USMC (United States Marine Corps) หรือ นาวิกโยธินของ
สหรัฐอเมริกา
การปลดระวางเรือและเครื่องบิน
ปรับสมดุลสู่เอเชียแปซิฟิก
​เสริมสร้างพันธมิตรและสร้างความร่วมมือ
ส่งกองกาลังที่มีความสามารถมากที่สุดไปสนับสนุน
ยกระดับการเข้าร่วมในภูมิภาค
- เพิ่มการเข้าถึงและความร่วมมือกับออสเตรเลีย, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์
- พัฒนาเกาะกวมให้เป็นศูนย์กลางยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ใหม่ (New Strategic Guidance) ของสหรัฐอเมริกา
(อ้างอิงจาก FISCAL YEAR 2014 BUDGET REQUEST AND FY 2013)
ป้องกันและจัดลาดับความสาคัญในการลงทุนเพิ่มขีดความสามารถใหม่ ๆ
– สนับสนุนกิจกรรมต่อต้านการก่อการร้าย และ การขยายตัวของกองทัพปฏิบัติการ
(SpecialOperation Force (SOF)
– อวกาศและโลกของเทคโนโลยีสารสนเทศ (Cyberspace)
– หน่วยสืบราชการลับลาดตระเวนและเฝ้าระวัง, หน่วยป้องกันขีปนาวุธ และต่อต้าน
อาวุธที่มีอานุภาพทาลายล้างสูง
สร้างความร่วมมือที่เป็นนวัตกรรมใหม่
– กองทุนสนับสนุนเหตุการณ์ฉุกเฉินเพื่อรักษาความมั่นคง
แก่ประเทศต่างๆ
– ใช้อานาจที่มีอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ใหม่สหรัฐอเมริกา (New Strategic Guidance)
(อ้างอิงจาก FISCAL YEAR 2014 BUDGET REQUEST AND FY 2013)
เผชิญหน้าและเอาชนะกับการรุกราน
– พัฒนาและดารงรักษากาลังในการต่อสู้ให้ดีที่สุดในโลก
– ยับยั้งการรุกรานบนคาบสมุทรเกาหลี
– ดาเนินการการลงทุนด้านความสามารถจากการ
คาดการณ์อานาจที่เพิ่มขึ้น
ยุทธศาสตร์ใหม่ (New Strategic Guidance) ของสหรัฐอเมริกา (ต่อ)
(อ้างอิงจาก FISCAL YEAR 2014 BUDGET REQUEST AND FY 2013)
โอบามามีแผนจะประกาศการคงกองกาลังไว้ โดยได้กล่าวไว้ว่า “ไม่ได้มาเพื่อทาให้จีนหวาดกลัว”
“แต่มาในเชิงสัญลักษณ์ มากกว่าจะแสดงท่าทีจริงจังเพื่อเป็นการข่มขวัญใคร”
(“not going to frighten the Chinese.” ”It’s more symbolic than real,” he said. )
ยุทธศาสตร์การวางกาลังกองทหารของสหรัฐ
การเพิ่มกองกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯ จะช่วยส่งสัญญาณไปยังจีนว่า สหรัฐฯ มี
เจตจานงที่จะปกป้องความมั่นคงให้เกิดขึ้นในภาคพื้นทะเลแห่งภูมิภาค และภาคพื้น
อากาศเพื่อเส้นทางการค้า
การขยายอิทธิพลทางทหารของสหรัฐฯ นั้นสะท้อนให้เห็นว่าสหรัฐฯ เริ่มหันมาให้ความ
สนใจในภูมิภาคเอเชียอีกครั้งหลังจากพยายามถอนทหารออกจาก อิรักและอัฟกานิสถาน
การส่งทหารไปประจาการในพื้นที่ต่างๆ ในแถบเอเชีย-แปซิฟิก เป็นยุทธศาสตร์ใหม่
ของสหรัฐอเมริกา
เป้าหมาย มุ่งให้ความสาคัญมาที่ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกในลาดับสูงสุด
เพื่อให้แน่ใจว่าภูมิภาคนี้ยังคงมั่นคงปลอดภัยและเจริญรุ่งเรือง
สหรัฐมีแผนที่จะจัดส่งอาวุธยุทโธปกรณ์ไปสนับสนุนและฝึกซ้อม
ร่วมกันในแต่ละประเทศ
การสร้างความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกเป็นส่วนหนึ่ง
ที่สาคัญของสหรัฐในการปรับสมดุล
การปรับดุลสู่ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกของสหรัฐฯ เป็นหุ้นส่วนระหว่างกันทั้ง
ทางด้านความสัมพันธ์ทางการทูต เศรษฐกิจ การค้า ความมั่นคง และ
ความสัมพันธ์ระหว่างทหารกับทหาร
ยุทธศาสตร์สร้างสมดุลใหม่ของสหรัฐฯ(Rebalancing strategy)
ฐานทัพของสหรัฐอเมริกาในเอเชียแปซิฟิก
สหรัฐได้สร้างเครือข่าย
พันธมิตรทางทหารทวิภาคีกับ
ประเทศต่างๆ ในภูมิภาค
โดยเฉพาะกับพันธมิตรทั้ง 5
ซึ่งได้แก่ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้
ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ไ ท ย แ ล ะ
ออสเตรเลีย
ฐานทัพเหล่านี้จะเป็นท่าเรือ
ที่สาคัญสาหรับกองทัพเรือ
สหรัฐ โดยมีแผนเคลื่อนย้าย
60% ของกองกาลังไปยัง
เอเชียแปซิฟิกภายในปี 2020
ทาไมสหรัฐอเมริกา
ถึงสนใจใน
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ?
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกเป็นเป็นปลายทางที่สาคัญสาหรับการค้าและการลงทุน
และมีศักยภาพส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกา
6 ใน 10 ของตลาดส่งออกที่สาคัญของประเทศสหรัฐอเมริกาที่เติบโตเร็ว
ที่สุดอยู่ในเอเชียและสหรัฐอเมริกาได้ส่งออกสินค้าต่างประเทศไปยังเอเชียเป็น
ร้อยละ 60 ของสินค้าที่ส่งออกไปยังภูมิภาค
สหรัฐฯ ตระหนักดีว่า ความมั่นคงและความมั่งคั่งของสหรัฐฯ ขึ้นอยู่กับ
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมากขึ้นเรื่อยๆ ภูมิภาคนี้เป็นภูมิภาคที่มีเศรษฐกิจโตเร็ว
ที่สุดในโลก มีประชากรมากที่สุดในโลก และมีกองกาลังทหารมากที่สุดในโลก
ด้วย
สหรัฐอเมริกามีเป้าหมายเพื่อรับมือกับการขยายอานาจของจีนที่ต้องการจะ
แผ่อิทธิพลในภูมิภาคนี้เช่นกัน
เหตุผลที่สหรัฐอเมริกาสนใจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
ประธานาธิบดีบารัค โอบามา แห่งสหรัฐฯ ได้เดินทางเยือนออสเตรเลีย เพื่อ
ประกาศข้อตกลงตั้งฐานทัพทางตอนเหนือในออสเตรเลีย เมื่อวันที่ 16 พ.ย.
54 โดยมีเป้าหมายเพื่อรับมือกับอิทธิพลของจีนที่พยายามอ้างสิทธิ์และ
ประโยชน์เหนือภูมิภาค
ข้อตกลงนี้จะทาให้กองทัพเรือของสหรัฐฯ สามารถตั้งฐานทัพบริเวณชายฝั่ง
ของออสเตรเลีย เพื่อปฏิบัติการทางทหารและสามารถจอดเรือและคงกอง
กาลังได้
ทั้งในลักษณะถาวรและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
เมื่อปี 2555 สหรัฐฯ ได้ส่งนาวิกโยธินชุดแรก 200 นาย
ไปประจาการในฐานทัพที่เมืองดาร์วิน ออสเตรเลีย และ
ได้จะส่งเพิ่มอีก 1,000 นายมาประจาการในปี 2556
ฐานทัพสหรัฐอเมริกาที่ประเทศออสเตรเลีย
สหรัฐฯ เตรียมจะขยายขนาดของฐานทัพในเมืองดาร์วิน ให้มีนาวิกโยธิน
ประจาการอย่างน้อย 2,500 นาย ก่อนที่จะดาเนินการส่งอาวุธยุทโธปกรณ์
เครื่องบินรบ เครื่องบินทิ้งระเบิด รวมถึงรถหุ้มเกาะและรถถัง ไปยังฐานทัพ
ดังกล่าว ในอีก 5 – 6 ปี ข้างหน้า
ฐานทัพดังกล่าวจะมีการร่วมฝึกรบระหว่างสหรัฐฯ กับออสเตรเลียมากขึ้น โดย
ทั้งสองประเทศจะทางานร่วมกัน เพื่อกระชับความสัมพันธ์ทางการทหารให้
เข้มแข็งขึ้น
นอกจากนี้สหรัฐฯ ยังวางแผนที่จะใช้ฐานทัพเรือและฐานทัพอากาศของ
ออสเตรเลีย ในการเพิ่มความร่วมมือด้านความมั่นคงของทั้งสองประเทศด้วย
การส่งกองกาลังทหารมาประจาการทางตอนเหนือของออสเตรเลียที่เมืองดาร์
วิน ทาให้ทหารสหรัฐมีความคล่องตัวมากขึ้นโดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรอินเดีย
ฐานทัพสหรัฐอเมริกาที่ประเทศออสเตรเลีย (ต่อ)
สหรัฐฯปรับยุทธศาสตร์กองกาลังในประเทศญี่ปุ่น โดยย้ายฐานทัพ
สหรัฐอเมริกาที่ชื่อ “ฐานทัพอากาศนาวิกโยธินฟุเตนมะ (Marine Corps Air
Station Futenma หรือ MCAS Futenma)” จากเกาะโอกินาวา (Okinawa)
ญี่ปุ่นไปเกาะกวม (Guam) เป็นส่วนหนึ่งของแผนปรับปรุงโครงสร้างกอง
กาลังของสหรัฐอเมริกา เพื่อเสริมประสิทธิภาพทางการทหาร
การปรับเปลี่ยนฐานทัพยังเสริมสร้างการทางานร่วมกันระหว่างกองกาลัง
สหรัฐและกองกาลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่น (The Japan Self Defense
Forces - JSDF) และสนับสนุนการพัฒนาของเกาะกวมให้เป็นศูนย์กลาง
ยุทธศาสตร์ (A strategic hub) ที่สาคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออก
ฐานทัพสหรัฐอเมริกาในประเทศญี่ปุ่น
เมื่อ 28 พฤษภาคม 2553 United States-Japan Security Consultative Committee (SCC)
นาโดยนางคลินตัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของสหรัฐฯ และนายโอคา
ดะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศญี่ปุ่นได้ออกแถลงการณ์ร่วม (Joint
Statement) มีสาระสาคัญ ดังนี้
 2.1.1 ทั้งสองฝ่ายยืนยันพันธกรณีที่จะปฏิบัติตามข้อตกลงเรื่องการย้ายฐานทัพฯ
เมื่อปี 2549
 2.1.2 ทั้งสองฝ่ายยืนยันข้อตกลง Guam Agreement (17 กุมภาพันธ์ 2552) เรื่องการ
ย้ายกาลังพลจากโอกินาวาไปเกาะกวม
 2.1.3 ทั้งสองฝ่ายยืนยันความตั้งใจที่จะย้ายฐานทัพฯ ไปยังบริเวณเดียวกับฐาน
ทัพเรือ CampSchwab ในเขต Henoko และได้มอบหมายผู้เชี่ยวชาญศึกษา
ทาเล การออกแบบ และเทคนิคการก่อสร้างฐานทัพอากาศนาวิกโยธินแห่ง
ใหม่ แล้วเสร็จเมื่อปี 2553
ฐานทัพสหรัฐอเมริกาในประเทศญี่ปุ่น (ต่อ)
แผนที่เกาะกวม
สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น มีความร่วมมือในการป้องกันระดับ
ทวิภาคี
มีพลังในเวลาที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการฝึกอบรม
เฝ้าระวังและร่วมกิจกรรมการลาดตระเวนร่วมกัน
การใช้งานสิ่งอานวยความสะดวกร่วมกันจะเป็นการ
เสริมสร้างการป้องปรามที่เข้มแข็งยิ่งขึ้น
ฐานทัพสหรัฐอเมริกาในประเทศญี่ปุ่น (ต่อ)
(อ้างอิงจากThe Asia-Pacific Journal: Japan Focus http://www.japanfocus.org/-Satoko-NORIMATSU2/3287)
สรุปการวิเคราะห์จากทางเลือกทั่วโลก (Global Alternatives Analysis Summary)
หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์
1) พันธมิตรและความต้องการในสนธิสัญญา (Alliance and Treaty Requirements)
2) เวลาที่ใช้ในการตอบสนองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Response Time to Southeast Asia)
3) อิสระในการปฏิบัติการ (Freedom of Action)
มี.ค. 56 สหรัฐฯส่งเรือ LCS 1 USS Freedom ไปสิงคโปร์เพื่อปฏิบัติการร่วมกับ
พันธมิตรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งจะประจาการ 8 เดือน โดยร่วมการฝึกซ้อมกับ
พันธมิตรในย่านเอเชียแปซิฟิกรวมทั้งการฝึก CARAT ปี2013 ซึ่งราชนาวีไทยจะเข้าร่วม
จุดประสงค์ของการส่งเรือลานี้ เพื่อซ้อมผลัดเปลี่ยนลูกเรือนาวี พัฒนาส่งกาลังทาง
ทหาร และระบบซ่อมบารุงเพื่อขยายอานุภาพนาวิกโยธินสหรัฐในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
การส่งเรือโจมตีชายฝั่งหมุนเวียนช่วยเสริมสร้าง
ขีดความสามารถและสนับสนุนยุทธศาสตร์การ
สร้างสมดุลใหม่ในเอเชียแปซิฟิกของกองทัพเรือ
การส่งเรือโจมตีชายฝั่งแบบหมุนเวียนที่ สิงคโปร์
สหรัฐได้เจรจาขอตั้งคลังยุทโธปกรณ์ พร้อมเพิ่มกาลังหมุนเวียนของทหาร
อเมริกันในฟิลิปปินส์ โดยการเจรจาขอเข้าใช้ฐานทัพในฟิลิปปินส์เพิ่มขึ้น ในขณะที่
ฟิลิปปินส์กาลังบาดหมางกับจีนในเรื่องกรรสิทธิ์เหนือเขตแดนในทะเลจีนใต้
สหรัฐจะส่ง "กองกาลังผสมหน่วยปฏิบัติการพิเศษในฟิลิปปินส์" ซึ่งเป็นทหาร
จากหลายหน่วยราว 500 นาย ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนเข้าไปประจาการใน
ฟิลิปปินส์ และจะส่งเรือรบเข้าจอดที่อ่าวซูบิก ซึ่งเคยเป็นฐานทัพเรือของสหรัฐ
ปัจจุบันเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ
กองกาลังสหรัฐประจาการอยู่ในค่ายทหารแห่งหนึ่งในภาคใต้ของฟิลิปปินส์ตั้งแต่
ปี 2545 เน้นภารกิจต่อต้านการก่อการร้าย ทางกฎหมายถือว่าเป็นค่ายชั่วคราว
การส่งกองกาลังผสมหน่วยปฏิบัติการพิเศษใน ฟิลิปปินส์
กองทัพฟิลิปปินส์และสหรัฐได้ซ้อมรบร่วมกันในทะเลจีนใต้ระหว่างเกาะ ลูซอนกับ
แนวปะการังที่เป็นข้อพิพาทแย่งชิงระหว่างจีนกับฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 27 มิ.ย. 56 ถึง
วันที่ 2 ก.ค. 56 (รวม 6 วัน) ซึ่งการซ้อมรบในครั้งนี้เป็นการส่งเสริมความร่วมมือ
ระหว่างกองทัพของประเทศทั้งสอง และการยกระดับการตอบโต้กับการก่อการร้ายและ
ความมั่นคงทางทะเล
การซ้อมรบใน 6 วันครั้งนี้ได้เน้นฝึกด้านการติดต่อสื่อสาร, ปฏิบัติการผิวน้า, การ
ต่อต้านการก่อการร้ายและความมั่นคงทางทะเล โดยจะมีเรือกองทัพเรือสหรัฐ, กอง
กาลังนาวิกโยธินและอากาศยาน เข้าร่วมฝึกกับหน่วยนาวิกโยธินและหน่วยปฏิบัติการ
พิเศษของกองทัพเรือและกอง กาลังป้องกันชายฝั่ง พร้อมด้วยเรือและอากาศยานของ
กองทัพเรือกับหน่วยป้องกันชายฝั่งของฟิลิปปินส์
การส่งกองกาลังผสมหน่วยปฏิบัติการพิเศษใน ฟิลิปปินส์ (ต่อ)
รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯ และรัฐมนตรีกลาโหมมาเลเซีย
ได้ร่วมกันประกาศส่งเสริมความร่วมมือด้านการทหารระหว่างกันเมื่อวันที่
26 ก.ย. 2556
ภายในปีนี้ สหรัฐฯ และมาเลเซียจะแลกเปลี่ยนทางด้านการทหารระหว่าง
กันถึง75 โครงการ
สหรัฐฯ มุ่งส่งเสริมการเป็นหุ้นส่วนทางทหารกับมาเลเซีย โดยช่วยเหลือ
กองทัพ เพิ่มพูนขีดความสามารถในการปฏิบัติการ เช่นการให้ความช่วย
เหลือด้านมนุษยธรรม บรรเทาภัยพิบัติ รักษาสันติภาพ ความมั่นคง
ทาง ทะเล และการต่อต้านการก่อการร้าย
ความร่วมมือด้านการทหารของสหรัฐฯ กับมาเลเซีย
สหรัฐฯ ถือว่าประเทศไทยเป็นพันธมิตรทางทหารมาเกือบ 60 ปี
และยังเป็นพันธมิตรที่มั่นคงกันมาโดยตลอดจนกระทั่งไทยได้รับ
สถานภาพการเป็น ประเทศพันธมิตรสาคัญนอกองค์การ
สนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ (Major Non-Nato Alliance)
วิสัยทัศน์การเป็นพันธมิตรทางทหารในทศวรรษที่ 21 มุ่งมั่น
เสริมสร้างการเป็นพันธมิตรให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น ให้ความสาคัญด้าน
การป้องกันประเทศระหว่างกันในทุกระดับ
ความร่วมมือด้านการทหารของสหรัฐฯ กับไทย
ไทยได้ลงนามกับสหรัฐฯ ที่ปรับปรุงใหม่เมื่อปี 2555 โดยข้อตกลงจะ
ครอบคลุมด้านความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ให้การ
สนับสนุนความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เสริมสร้างความพร้อมใน
การดาเนินงานป้องกันกองกาลังติดอาวุธร่วมกัน และเสริมสร้างความ
เข้มแข็งของความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีในการป้องกันกองกาลังติดอาวุธ
มีการซ้อมรบระหว่างไทยกับสหรัฐฯ ทุกปีภายใต้ชื่อ “คอบร้า โกลด์ ”
ซึ่งถือเป็นการซ้อมรบทางทหารที่มีความสาคัญในระดับโลก
ความร่วมมือด้านการทหารของสหรัฐฯ กับไทย (ต่อ)
เป็นการฝึกร่วม/ผสมทางการทหารระดับพหุภาคีที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค
ASEAN
ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจาทุกปีในประเทศไทย
เริ่มครั้งแรกจากการฝึกทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับสหรัฐอเมริกาเมื่อปี
พ.ศ. 2525 ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นแบบพหุภาคีโดยมีประเทศอื่น ๆ เข้าร่วม
การฝึกคอบร้าโกลด์ (Cobra Gold 2013) ที่ผ่านมาได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 11-
21 กุมภาพันธ์ 2556 ณ จังหวัดพิษณุโลก สุโขทัย ลพบุรี ชลบุรี และจันทบุรี มี
ประเทศที่เข้าร่วมการฝึกหลัก 7 ประเทศ คือ ไทย สหรัฐอเมริกา เกาลีใต้
ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และมาเลเซีย
คอบร้า โกลด์ (Cobra Gold)
เพื่อสร้างเสถียรภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อพัฒนาขีด
ความสามารถทางการทหาร แลกเปลี่ยนประสบการณ์กัน และส่งเสริม
ความสัมพันธ์ระหว่างชาติต่าง ๆ ที่เข้าร่วมในการฝึก
เป็นการฝึกเพื่อเตรียมพร้อมในภารกิจรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ
ใน พื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก การตอบสนองที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพหลัง
เหตุการณ์คลื่นสึนามิที่เกิดจาก แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ.
2547 ส่วนหนึ่งเป็นผลที่ได้รับจากการฝึกร่วม/ผสมนี้
วัตถุประสงค์ของการฝึกคอบร้าโกลด์
ยานสะเทินน้าสะเทินบก
ของกองทัพสหรัฐฯ
เครื่องขับไล่/โจมตี F/A-18D Hornet ของนาวิกโยธินสหรัฐฯ
ก้าลังบินขึนจากสนามบิน กองบิน1 จ.นครราชสีมา
เครื่องบินโจมตี/ฝึก L-39 Albatross ของกองทัพอากาศไทย
ก้าลัง TAXI ณ สนามบิน กองบิน1 จ.นครราชสีมา
การฝึกยกพลขึนบกของกองก้าลังผสม
ทหารจากกองทัพบกเกาหลี
ใต้และทหารจากกองทัพบก
สหรัฐฯ ในพืนที่การฝึก
อ.บ้านด่านลานหอย
จ.สุโขทัย
นโยบายไทยในการตอบสนองต่อยุทธศาสตร์การสกัดกั้นและปิด
ล้อมจีนของสหรัฐฯ นั้น ไทยควรจะดาเนินนโยบายอย่างระมัดระวัง
และรักษาระยะห่างอย่างเท่าเทียมกันระหว่างความสัมพันธ์ไทย –
สหรัฐฯ กับความสัมพันธ์ไทย – จีน
ไทยควรสร้างสมดุลของนโยบายที่เป็นนโยบายสายกลาง สร้างดุลย
ภาพแห่งนโยบาย โดยร่วมมือกับสหรัฐฯ แต่ขณะเดียวกันก็ไม่
ต่อต้านใคร ไม่ทาให้ไทยเป็นเป้าของการก่อการร้าย และไม่เป็นศัตรู
กับโลกมุสลิม น่าจะเป็นทางเลือกที่ปลอดภัยที่สุด
ไทยจะดาเนินนโยบายอย่างไรต่อยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ ?
อนาคตความสัมพันธ์ไทย – อเมริกา คือ ผลประโยชน์ร่วมกัน ความสมดุล หรือ ดุลยภาพแห่ง
ความสัมพันธ์ และนโยบายสายกลาง
แม้กระทรวงกลาโหมได้รับคาสั่งให้ลดขนาดของกองกาลัง แต่ด้วยความ
ชาญฉลาดของผู้นาที่สามารถปรับกองกลังใหม่ให้มีทั้งความสามารถที่
สูงและเหมาะกับการมุ่งเน้นของกลยุทธ์ใหม่ โดยในอนาคต การ
เผชิญหน้าสงครามในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกจะมีการต่อสู้ส่วนใหญ่ใน
ทะเลและในอากาศ
ภารกิจทางทหารในอนาคตจึงจาเป็นต้องมีกองทัพเรือและกองทัพอากาศ
ค่อนข้างมาก และมีกองทัพบกน้อยลงสาหรับสงครามบนภาคพื้นดินซึ่ง
แตกต่างจากสงครามในทศวรรษที่ผ่านมา
กลยุทธ์ในอนาคตของกองกาลัง สหรัฐอเมริกา
เป็นหลักการการต่อสู้แบบบูรณาการที่ได้กลายเป็นเป็นกลยุทธ์ที่สาคัญ
ทางทหารของสหรัฐอเมริกาอย่างเป็นทางการเมื่อกุมภาพันธ์ ปี 2553
(2010)
ASB เป็นส่วนหนึ่งของ "กลยุทธ์การชดเชย" โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
รักษาเสถียรภาพทางการทหารให้มีความสมดุล และเพื่อรักษาเสถียรภาพ
วิกฤตการณ์ต่างๆ ในเอเชียตะวันออก
ทางด้านปัจจัยภูมิยุทธศาสตร์ที่ประเทศพันธมิตรส่วนใหญ่เป็นหมู่เกาะ
(เกาะเสมือนในกรณีของเกาหลีใต้) โดยสหรัฐจะต้องสามารถให้ความ
แนวคิดการรบโดยใช้ทางอากาศทางเรือ
(AirSea Battle – ASB Concept)
42
Shift in Focus
DisruptiveTraditional
CatastrophicIrregular
Shape
Choices
Defeat
Terrorist
Extremism
Counter
WMD
Defend
Homeland
Today's
Capability
Portfolio
“Shifting Our Weight”
Continuing the reorientation of military capabilities and implementing enterprise-wide
reforms to ensure structures and process support the President and the warfighter
“There is no instance of a country having
been benefited from a long war”
การทาสงครามจะต้องรีบกาชัยชนะเผด็จศึกในเร็ววันไม่ควรจะให้
เนินช้า
ประเทศจะไม่ได้รับประโยชน์อันใดเลยถ้าปล่อยให้การรบยืดเยื้อ
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการสงครามจะสูง การคลังของประเทศจะมี
ปัญหา
กองทัพต้องติดศึกอยู่นานวัน อาวุธ ยุทโธปกรณ์ จะลดความคม
กล้า ขวัญทหารนับวันจะเสื่อม กาลังพลก็จะอ่อนเปลี้ย
บทเรียนจากการรบที่ไม่เคยจดจา
ถอนกาลังจากสงครามเวียตนาม และลาวปี 2518 สูญเสียกาลังพลไป
58,220 นาย ประชาชนในประเทศต่อต้านสงคราม
ถอนกาลังจากสงครามอิรัคสูญเสียกาลังพลไป 4,488 นาย
แนวคิดแบบ Hard Power
ขาดความรู้ ความคิด และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
การต่อสู้แบบตาต่อตา / ฟันต่อฟัน
การใช้กาลังอานาจทางทหารไม่สามารถหยุดยั้ง
Soft Power ได้
ภาคใต้มีการใช้แนวคิดตะวันตกมาใช้
แนวคิดแบบ Soft Power
มีการการฆ่าตัดคอเผยแพร่ออกสื่อ Internet ของตะวันตก
การถอนกาลังของพันธมิตรในอิรัก
จิตสานึก ISLAM สากลกระทบต่อความมั่นคงโลก
ปัญญาชนครูสอนศาสนามีการเผยแพร่แนวคิด ไปทุกเขตที่มี
มุสลิมทั่วโลก มุสลิมหนุ่มสาวชนกลุ่มน้อยในประเทศต่างๆก่อตัว /
มีความรุนแรงมากขึ้น ในการเรียกร้องเอกลักษณ์ และลัทธิทาง
ศาสนา วัฒนธรรมของตนเอง ประเทศที่ด้อยทางการจัดการ
ปัญหาเชิงประวัติศาสตร์จะมีปัญหา
GLOBAL CONFLICT
Globalisation & Localisation
Hard Power & Soft Power
Americanization & Islamic Formulation
Capitalism & Socialism
High Technology & Low Technology
Tangible & In Tangible
Physical & Mental or Spiritual
National Resource
ปฎิบัติการโจมตีของเครื่องบินไร้คนขับ (Drone) และตัวเลข
ผู้เสียชีวิต จากเครื่องบินประเภทนี้ รัสเซีย และปากีสถาน ชาติสมาชิก
ของสหประชาชาติ มองว่าเข้าข่ายเป็นอาชญากรสงครามหรือไม่
U.S.A. Armed Force
Air Force
Marine
Army
Navy
Coast Guard
As of 24 Jul 09
52
Strategic Defense to Mobile Forces
Bases to Places
Peace Keeping Unit
Globalization[ Process and Component]
•Technology
•Mobility
•Beliefs
•Economy
การแบ่งกลุ่มประเทศในโลกของสหรัฐ
กลุ่มประเทศ G8
กลุ่มประเทศกาลังพัฒนา
กลุ่มประเทศเกิดใหม่และรัฐเอกราช
กลุ่มประเทศอักษะแห่งความชั่วร้าย
สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศเปลี่ยนไป
ภัยทางทหารลดลง
การเคลื่อนข้อมูลข่าวสาร เงินทุน ทาให้โลกเล็กลง รัฐและ
พรมแดนลดความสาคัญ เกิดปัญหาลักษณะข้ามรัฐและความ
สลับซับซ้อน
โลกจะมีประชาธิปไตยสูงขึ้น
ความโดดเด่นอานาจเดียวกดดันประเทศกาลังพัฒนา
การต่อสู้ทางวัฒนธรรมระหว่างอิสลาม คริสต์ และขงจื๊อ
การต่อสู้ใน ศตวรรษที่ 21
ภูมิภาคเอเชียมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเร็วที่สุดในโลก ทั้งจีน
อินเดีย อินโดนีเซีย
มีประชากรมากที่สุดในโลก
มีกาลังทหารใหญ่ที่สุดในโลก
มีงบประมาณด้านการทหารสูงที่สุดในโลก
ทศวรรษหน้าสหรัฐจะแสดงบทบาทในภูมิภาคนี้ยิ่งขึ้นโดยถือว่าเป็น
ส่วนหนึ่งของประชาคมเอเชียแปซิฟิค เพื่อสันติภาพ ความมั่งคั่งและ
ความมั่นคงของทุกชาติในภูมิภาคนี้
งบประมาณกลาโหมสหรัฐ ฯ
ในสมัยบุชเสนองบประมาณต่อสภาจานวน 6,143,000,000,000
บาท
เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.8 เน้นเพิ่มกาลังกองทัพบกและนาวิกโยธิน
สงครามอิรักและอัฟกานิสถานใช้งบมากกว่า 962,500,000,000
บาท
งบประมาณกลาโหมคิดเป็นร้อยละ 16.8 ของงบประจาปีทั้งหมด
การของบประมาณกลาโหมที่เพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ ทุกปี จะทาให้
งบประมาณกลาโหมในปี พ.ศ. 2553 มีจานวนตัวเลขที่
19,338,000,000,000 บาท
ข้อเสนองบประมาณ
การปรับโครงสร้าง เพิ่มกาลังทางบกและกาลังรบและสนับสนุนการรบของ
หน่วยนาวิกโยธิน
แผนปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกองทัพ จากการทหารแบบสงครามเย็นเป็น
การทหารที่มีความเร็วสูงขึ้น
การปฏิบัติการที่รวดเร็วสู่สนามรบก็เพื่อต่อสู้กับกลุ่มก่อการร้าย ด้วย
หลักการ “สร้างความแข็งแกร่งของขีดความสามารถการกลาโหม และดารง
ให้มีความพร้อมรบ
บทเรียนจากการรบที่เกิดจากการปฏิบัติการสงครามปัจจุบันมาแปลงเป็น
การปฏิบัติ
9/11 Attacks
America has stood down
enemies before, and we will do
so this time.
Bush September, 11, 2001
เหตุการณ์เมื่อวันที่ 11
กันยายน 2544 เป็นจุด
พลิกผันที่ทาให้สหรัฐฯ หัน
มาให้ความสนใจกับภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
รวมทั้งไทยเพิ่มมากขึ้น
สหรัฐฯ กับความมั่นคงของไทยหลัง 9/11
National Security Strategy and Economic Strategy
Raw Material
Product & Container
Money
Man
แนวคิด Sea Basing
สหรัฐฯ วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก
การวางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลด
กาลังทหารประจาการในเกาหลีใต้ จานวน ๑ ใน ๓ เหลือ ๑๒,๕๐๐
คน จากเดิม ๓๗,๕๐๐ คน
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่
ชัดเจน ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯจะเน้นการสร้างความร่วมมือ
จากชาติพันธมิตร ในการเข้าจัดการกับภัยคุกคามตามภูมิภาคต่าง
ๆ ของโลกมากกว่าการขอเข้าไปใช้พื้นที่ของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก
ประเทศ
ใต้
ประเทศต่างๆ
ประสบการณ์จากการรบ
สงครามในอัฟกานิสถานสหรัฐฯ ต้องการใช้พื้นที่ในประเทศ
ปากีสถานเป็นฐานทัพหน้าและส่งกาลังบารุง แต่ให้เพียงสิทธิใน
การบินผ่านเท่านั้น
สงครามอิรัค ขอใช้พื้นที่ตุรกีเป็นฐานทัพหน้า ได้รับการปฏิเสธ
ทบทวนการใช้พื้นที่ของประเทศอื่นเป็นฐานทัพหน้า ซึ่งเสี่ยงกับการ
ลงทุนมหาศาล และเกิดความสูญเปล่าในอนาคต เช่นการลงทุน
สร้างฐานทัพที่อ่าวซูบิคในฟิลิปปินส์แต่ต่อมาไม่ต่อสัญญาเช่า
ต้องใช้เกาะกวมเป็นอาณานิคมของตนเอง เป็นศูนย์กลางของกอง
กาลังสหรัฐฯ ในเขตภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก เป็นทางเลือกเพื่อลด
การพึ่งพาประเทศอื่น
แนวคิด Sea Basing
การสร้างฐานทัพหน้าในแผ่นดินตนเอง ไว้ตอบสนองกาลังเคลื่อนที่เร็วลด
การพึ่งพาชาติอื่น
ฐานทัพ Pearl Habour ในฮาวายหรือฐานทัพ Anderson บนเกาะกวม และฝั่ง
มหาสมุทรอินเดียมีฐานส่งกาลังบารุงที่สิงคโปร์และที่ดิเอโก กราเซีย กลาง
มหาสมุทรอินเดีย สามารถต่อมาที่ฐานทัพในซาอุดิอาระเบียฐานทัพแอสเซส
ที่แอตแลนติกตอนใต้ ส่วนที่แอตแลนติกตอนเหนือมีฐานทัพอยู่ที่กรีนแลนด์
สหรัฐฯ วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก
การวางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก เริ่มแผนลด
กาลังทหารในเกาหลีใต้ จานวน 1 ใน 3 ของทหารที่ประจาการ ให้เหลือเพียง
๑๒,๕๐๐ คน จากเดิม ๓๗,๕๐๐ คน
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯจะเน้นการสร้างความร่วมมือจากชาติพันธมิตร
ในการเข้าจัดการกับภัยคุกคามตามภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกมากกว่าการขอ
เข้าไปใช้พื้นที่ของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก
Maritime Prepositioning Force (Future) MPF(F) / Seabase
ยุทธศาสตร์ Sea Power21
ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวน
ยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยนรูปแบบ จานวนและสถานที่ที่
กาลังทหารของสหรัฐฯประจาการอยู่ทั่วโลก
กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการ
ลงนามร่วมระหว่าง ผบ.ทร. และ ผบ.นย.และให้ กห.
สหรัฐฯ อนุมัติแล้ว
กรอบแนวความคิดของ Sea Power 21
Sea Shield การป้องกันจากทะเล ปกป้องแผ่นดินแม่ มีการป้องกัน Air
Missile Theater, Air Missile Defense และการป้องกันภัยคุกคามทั้ง 3 มิติ
Sea Strikeการโจมตีจากทะเล
Sea Basing ฐานปฏิบัติการจากทะเลที่ใช้ในการบัญชาการรบ
Sea Trial คือ จะต้องมีการฝึกและทดสอบจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเทคโนโลยี
ใหม่ ๆ และวางแนวความคิดในการปฎิบัติการ
Sea Warrior การอบรมและพัฒนาคุณภาพของกาลังพลทางเรือ
Sea Enterprise การตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการปฎิบัติภารกิจของกองทัพให้
มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
การพัฒนากองทัพ
ปรับกองเรือจาก 19 กองเรือ เป็น 37 กองเรือ มีขีดความสามารถ
ในการทาการรบในทุกภูมิภาคทั่วโลก
ให้ความสาคัญกับขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ
(Special Force)
มีการปรับปรุงเรือดาน้า Nuclear ชั้น Ohio Class ซึ่งจากเดิมมี
การติดตั้งขีปนาวุธ Nuclear มาเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยแบบ
Tomahawk และสามารถส่งหน่วย Special Force ขึ้น
ปฏิบัติการบนฝั่งได้
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯ
กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑
สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้ ๔ ภูมิภาค
เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม
เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
Northeast
East Asia
South East Asia
Europe
ให้ความสาคัญกับภูมิภาค
East Asia,
Northeast,
South East Asia
Europe
องค์การเดินเรือระหว่างประเทศ
(International Maritime Organizatin-IMO)
เป็นหน่วยงานของ UN รับรองมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลที่เรียกว่า The
International Ship and Port Facility Code (ISPS CODE) เมื่อปี 2545
มาตรการที่กาหนดให้ประเทศสมาชิก IMO ที่รับรองมาตรการนี้จานวน 146 ประเทศ
เพิ่มการรักษาความปลอดภัยการเดินเรือเพื่อป้องกันการก่อการร้าย
กาหนดให้เรือที่มีระวางตั้งแต่ 300-50,000 ตัน ต้องติดตั้งระบบ Automatic
Information System ภายใน 31 ธันวาคม 2547
กาหนดให้เรือทุกลาต้องติดตั้งระบบเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่บนฝั่งทราบถึงชื่อเรือ สถาน
ที่ตั้ง และปัญหาด้านความปลอดภัย
กาหนดให้ท่าเรือมีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษาความ
ปลอดภัยสถานที่
เรือลาใดที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้จะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือ
ระหว่างประเทศ(International Ship Security Certificate) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถจอด
เข้าท่าเทียบเรือของประเทศสมาชิก IMO ได้
2013 ฟิลิปปินส์ เริ่มเจรจาอย่างเป็นทางการกับสหรัฐ เพื่อเพิ่ม
ความสัมพันธ์ทางทหารกับสหรัฐ และเปิดโอกาสให้กองทัพสหรัฐเยือน
ฟิลิปปินส์ได้บ่อยขึน เป็นส่วนหนึ่งของแผนป้องกันไม่ให้จีนล่วงล้า
อาณาเขตในทะเลจีน ใต้ที่ฟิลิปปินส์กล่าวอ้างกรรมสิทธิ์

More Related Content

What's hot

Aralin 3 prt 1
Aralin 3 prt 1Aralin 3 prt 1
Aralin 3 prt 1sevenfaith
 
γεωγραφια α γυμνασίου 2012 2013
γεωγραφια α γυμνασίου 2012   2013γεωγραφια α γυμνασίου 2012   2013
γεωγραφια α γυμνασίου 2012 2013Corina Rosi
 
หลักการสงครามในศตวรรษที่๒๑
หลักการสงครามในศตวรรษที่๒๑หลักการสงครามในศตวรรษที่๒๑
หลักการสงครามในศตวรรษที่๒๑Washirasak Poosit
 
Week 1 third quarter ap7 (type a&b)
Week 1 third quarter ap7 (type a&b)Week 1 third quarter ap7 (type a&b)
Week 1 third quarter ap7 (type a&b)sharmain18
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]siep
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการSaiiew
 
Banghay aralin sa araling panlipunan 8
Banghay aralin sa araling panlipunan 8Banghay aralin sa araling panlipunan 8
Banghay aralin sa araling panlipunan 8Crystal Mae Salazar
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนWan Ngamwongwan
 
Θέματα χημείας B γυμνασιου
Θέματα χημείας B γυμνασιουΘέματα χημείας B γυμνασιου
Θέματα χημείας B γυμνασιουChristos Gotzaridis
 
Modyul 03 ang mga unang kabihasnan
Modyul 03   ang mga unang kabihasnanModyul 03   ang mga unang kabihasnan
Modyul 03 ang mga unang kabihasnan南 睿
 
G8 AP Q4 Week 3-4 Ikalawang Digmaang pandaigdig.pptx
G8 AP Q4 Week 3-4 Ikalawang Digmaang pandaigdig.pptxG8 AP Q4 Week 3-4 Ikalawang Digmaang pandaigdig.pptx
G8 AP Q4 Week 3-4 Ikalawang Digmaang pandaigdig.pptxJoeyeLogac
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนwarintorntip
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
Ο δεύτερος νόμος του Νεύτωνα / Newton's Second Law
Ο δεύτερος νόμος του Νεύτωνα / Newton's Second LawΟ δεύτερος νόμος του Νεύτωνα / Newton's Second Law
Ο δεύτερος νόμος του Νεύτωνα / Newton's Second LawGiota Tzanetou
 
Imperyalismo sa mga bansa sa Timig Silangang Asya
Imperyalismo sa mga bansa sa Timig Silangang AsyaImperyalismo sa mga bansa sa Timig Silangang Asya
Imperyalismo sa mga bansa sa Timig Silangang Asyacrisanta angeles
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2namfon17
 
AP MELCs Grade 7.pdf
AP MELCs Grade 7.pdfAP MELCs Grade 7.pdf
AP MELCs Grade 7.pdfGiselaCapili
 
kolonyalismo at imperyalismo sa silangan at timog silangang asya unang yugto
kolonyalismo at imperyalismo sa silangan at timog silangang asya unang yugtokolonyalismo at imperyalismo sa silangan at timog silangang asya unang yugto
kolonyalismo at imperyalismo sa silangan at timog silangang asya unang yugtoIrwinFajarito2
 

What's hot (20)

Aralin 3 prt 1
Aralin 3 prt 1Aralin 3 prt 1
Aralin 3 prt 1
 
γεωγραφια α γυμνασίου 2012 2013
γεωγραφια α γυμνασίου 2012   2013γεωγραφια α γυμνασίου 2012   2013
γεωγραφια α γυμνασίου 2012 2013
 
หลักการสงครามในศตวรรษที่๒๑
หลักการสงครามในศตวรรษที่๒๑หลักการสงครามในศตวรรษที่๒๑
หลักการสงครามในศตวรรษที่๒๑
 
Week 1 third quarter ap7 (type a&b)
Week 1 third quarter ap7 (type a&b)Week 1 third quarter ap7 (type a&b)
Week 1 third quarter ap7 (type a&b)
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
 
Banghay aralin sa araling panlipunan 8
Banghay aralin sa araling panlipunan 8Banghay aralin sa araling panlipunan 8
Banghay aralin sa araling panlipunan 8
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
 
Θέματα χημείας B γυμνασιου
Θέματα χημείας B γυμνασιουΘέματα χημείας B γυμνασιου
Θέματα χημείας B γυμνασιου
 
Modyul 03 ang mga unang kabihasnan
Modyul 03   ang mga unang kabihasnanModyul 03   ang mga unang kabihasnan
Modyul 03 ang mga unang kabihasnan
 
G8 AP Q4 Week 3-4 Ikalawang Digmaang pandaigdig.pptx
G8 AP Q4 Week 3-4 Ikalawang Digmaang pandaigdig.pptxG8 AP Q4 Week 3-4 Ikalawang Digmaang pandaigdig.pptx
G8 AP Q4 Week 3-4 Ikalawang Digmaang pandaigdig.pptx
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
Ο δεύτερος νόμος του Νεύτωνα / Newton's Second Law
Ο δεύτερος νόμος του Νεύτωνα / Newton's Second LawΟ δεύτερος νόμος του Νεύτωνα / Newton's Second Law
Ο δεύτερος νόμος του Νεύτωνα / Newton's Second Law
 
Imperyalismo sa mga bansa sa Timig Silangang Asya
Imperyalismo sa mga bansa sa Timig Silangang AsyaImperyalismo sa mga bansa sa Timig Silangang Asya
Imperyalismo sa mga bansa sa Timig Silangang Asya
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
AP MELCs Grade 7.pdf
AP MELCs Grade 7.pdfAP MELCs Grade 7.pdf
AP MELCs Grade 7.pdf
 
kolonyalismo at imperyalismo sa silangan at timog silangang asya unang yugto
kolonyalismo at imperyalismo sa silangan at timog silangang asya unang yugtokolonyalismo at imperyalismo sa silangan at timog silangang asya unang yugto
kolonyalismo at imperyalismo sa silangan at timog silangang asya unang yugto
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

ยุทธศาสตร์การวางกำลังกองทัพอเมริกัน