SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
บันทึกการศึกษาดูงานครั้งที่ 4 ภาคเหนือ
ระหว่าง วันพฤหัสบดีที่28 ถึงวันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม 2559
ณ จังหวัดเชียงราย พะเยา ลาปางและเชียงใหม่
…………………………………………………………………………
ชื่อ-สกุล รศ.พ.ต.อ.ดร.กิตติ์ธนทัต เลอวงศ์รัตน์ เลขที่ 8
ดูงานวันที่ 28 ม.ค.2559 จ.เชียงราย
ภาพรวมวิถีชีวิตชุมชนชาติพันธ์ชายแดนในมิติเศรษฐกิจสังคม”
โดยประธานสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเทอดไทย อ.แม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
ข้อมูลพื้นฐานองค์การบริหารส่วนตาบลเทอดไทย อ.แม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
องค์การบริหารส่วนตาบลเทอดไทย จัดตั้ง ลาดับที่ 379 ฉบับประกาศทั่วไปเล่ม 113 ตอนที่ 9
ลงวันที่ 30 มกราคม 2539 มีผลใช้บังคับในวันที่ 30 มีนาคม 2539
พื้นที่ประมาณ 167.90 ตารางกิโลเมตรหรือ ประมาณ 102,935 ไร่
ประชากรทั้งหมด 20,628 คน ชาย 10,304 คน หญิง 10,324 คน จานวนครัว 5,236 ครัวเรือน
ประชากรหนาแน่น เฉลี่ย 122 คน / ตร.กม
หมู่บ้าน 18 หมู่บ้านหลัก 16 หมู่บ้านรอง
โรงเรียนสอนภาษาไทย 11 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 18 แห่ง ศูนย์ กศน. 8 แห่ง โรงเรียนสอนภาษาจีน 4 แห่ง
สถานพยาบาลใกล้บ้าน โรงพยาบาลชุมชน 1 แห่ง และ รพ.สต. 3 แห่ง
ข้อมูลของประชากรเทิดไทย
หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง “การเสริมสร้างสังคมสันติสุข” รุ่นที่ 6
สานักสันติวิธีและธรรมมาภิบาล สถานบันพระปกเกล้า
2
• ประชากร มี 8 กลุ่มชาติพันธุ์ ประกอบด้วย อาข่า ลาหู่ ลีซู ลั๊วะ ไทยใหญ่ ม้ง จีนยูนนานและกลุ่มคนไทยพื้นราบ
• ประชากรนับถือศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม และนับถือผีบรรพบุรุษ
• ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าว ข้าวโพด ชา กาแฟ และผลไม้เมืองหนาว
กิจกรรมวัฒนธรรมประจาปีที่ อบต.สนับสนุนงบประมาณ
ปีใหม่ม้ง ช่วงเดือน มกราคม ปีใหม่ลาหู่ ช่วงเดือน กุมภาพันธ์
ตรุษจีน ช่วงเดือน กุมภาพันธ์ ปีใหม่ไตย ช่วงเดือน ธันวาคม ปีใหม่อาข่า ช่วงเดือน ธันวาคม
3
สภาพทั่วไปเป็นภูเขาสูงติดชายแดนไทย-พม่า ความสูงระหว่าง 800 – 1200 เมตรจากระดับน้าทะเล
เส้นทางการท่องเที่ยว
เทอดไทย
4
เส้นทางการท่องเที่ยว
หมู่บ้านเทิดไทย มีโอกาส เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต พืชเศรษฐกิจ อายุยืน เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
แสดงการเก็บ ชาอัสสัม ปลูกชาอู่หลง
บ้านเทอดไทย มีรายได้จากการปลูกชา 250 ล้านบาท/ต่อ จากการส่ง-ออกทั้งในและต่างประเทศ(ไต้หวัน)
5
ผลิตภัณฑ์จากใบชาทั้งจากมือและบรรจุภัณฑ์เพื่อจาหน่ายขายทั้งในและนอกประเทศ
อาหารชนเผ่า และการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร
6
สถานการณ์ด้านการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1. ระบบน้า
พัฒนาแหล่งต้นน้า และซ่อมบารุงระบบน้า
2.ศึกษาและพัฒนาระบบการกาจัดขยะชุมชนที่ถูกต้อง
7
3.การจัดการที่ดินทากินและแนวเขตป่ า เพิ่มความมั่นคงในการถือครองที่ดิน ผ่านระเบียบและกติกาชุมชน
เพิ่มพื้นที่การผลิตอาหาร และการเกษตรแนวระดับ
วิถีการผลิตอาหารปลอดภัย
8
สายที่ 2 ศึกษาดูงานโรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
9
ประชากรประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธ์มากกว่า 7 ชนเผ่า
อาณาเขตติดต่อ:
ทิศเหนือ ติดต่อกับ รัฐฉาน (ประเทศพม่า)
ทิศใต้ ติดต่อกับ อ.แม่จัน
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อ.แม่สาย และ อ.แม่จัน
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อ.แม่อาย จังหวัดเชียงใหม่
และรัฐฉาน
เนื้อที่ : พื้นที่ของอาเภอแม่ฟ้าหลวง ประมาณ 641.404 ตารางกิโลเมตร
หรือประมาณ 400,887 ไร่
อ.แม่ฟ้าหลวง
10
อัตราประชากรแยกรายเผ่า
วิสัยทัศน์โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง
“เป็นโรงพยาบาลชุมชนบนพื้นที่สูง ที่ให้บริการสุขภาพแบบองค์รวม สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ เพื่อให้ประชาชน
ได้รับบริการที่ดี ผู้ให้บริการมีความสุข”
ม้ง
2%
อื่น ๆ
1%
ไทยใหญ่
16%
ลีซอ
9%
ลาหู่
18%
อาข่า
34%
เย้า
3%
จีนฮ่อ
17%
อาข่า
ลาหู่
ม้ง
ลีซอ
จีนฮ่อ
ไทยใหญ่
เย้า
อื่น ๆ
11
พันธกิจ
1. พัฒนาระบบการให้บริการสุขภาพแบบองค์รวม อย่างมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน สอดคล้องกับบริบทพื้นที่
2. พัฒนาระบบบริการเพื่อให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจ
3. พัฒนาสมรรถนะ และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคลากร
ยุทธศาสตร์ขององค์กร
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพบริการทางคลินิก
ยุทธศาสตร์ที่ 3 สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและภาคีเครือข่าย
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาศักยภาพบุคลากรตามมาตรฐานวิชาชีพ
เข็มมุ่ง ปี 2558
1.บริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบทุกหน่วยงานเพื่อให้ผู้รับบริการมีความปลอดภัย
2.พัฒนาระบบบริการโรคเรื้อรัง (DM - HT)
ค่านิยม
“บริการด้วยหัวใจ ปลอดภัยทุกย่างก้าว”
ข้อมูลบุคลากร รพ.แม่ฟ้าหลวง
ข้อมูลบุคลากร รพ.แม่ฟ้าหลวง
ลาดับ เจ้าหน้าที่ จานวน
1 แพทย์ 2
2 ทันตแพทย์ 4
3 เภสัชกร 3
4 พยาบาล 26
5 นักเทคนิคการแพทย์ 2
6 นักกายภาพบาบัด 1
7 นักวิชาการสาธารณสุข 2
8 จพ.สาธารณสุข 1
9 จพ.เภสัชกรรม 3
10 จพ.เวชสถิติ 1
12
11 จพ.ทันตสาธารณสุข 0
12 ผช.แพทย์แผนไทย 1
13 จนท.อื่นๆ 71
รวม 117
ปัญหาอุปสรรค
* การทางานในรูปแบบ 1 อาเภอ 2 เครือข่าย
* ศักยภาพในการจัดการสุขภาพด้วยตนเองของประชาชน
* การปรับเปลี่ยน-โยกย้าย ของบุคลากร
* ข้อจากัดในด้านศักยภาพบุคลากร (สหวิชาชีพ+เฉพาะทาง)
ดูงานวันที่ 29 ม.ค.2559 จ.เชียงราย
สายที่ 1 พื้นที่ชุมน้าบุญเรือง ตาบลบุญเรือง อาเภอเชียงของ จ.เชียงราย
13
โครงสร้างป่า ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ของพืช สัตว์ และปริมาณการเก็บกักคาร์บอน
ป่าชุ่มน้าบ้านบุญเรือง หมู่ที่ 2 ตาบลบุญเรือง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
ป่าบุญเรือง หมู่ที่ 2 เป็นส่วนหนึ่งผืนป่าชุ่มน้าในตาบลบุญเรือง โดยมีเนื้อที่ประมาณ 1,000 ไร่ จากผืนป่า
3,021 ไร่ของทั้งตาบล ผืนป่าดังกล่าวชุมชนได้ปกป้องพื้นที่ป่ามาตั้งแต่อดีตจากการเข้ามาของนายทุนโรงบ่มยาสูบ
ปัจจุบันป่าชุ่มน้านี้ยังมีคุณค่า ความสาคัญต่อวิถีชีวิตของชุมชนเนื่องจากเป็นแหล่งพืชอาหาร ไม้ใช้สอย สมุนไพร
และแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้าในช่วงน้าท่วมหลาก ซึ่งจะมีสภาพเป็นพื้นที่ป่าชุ่มน้า (seasonal wetland) และแก้มลิง
ธรรมชาติ ซึ่งทาให้พื้นที่มีความเป็นเอกลักษณ์ทางนิเวศวิทยาที่ผสมผสานระหว่างระบบนิเวศป่าไม้และระบบนิเวศ
แม่น้า
ผลจากการศึกษาพบว่าป่าชุมชนบุญเรืองมีระบบนิเวศย่อยที่หลากหลาย ทั้งสังคมพืช หรือป่าไม้ที่สามารถ
แบ่งสังคมพืชออกเป็น 3 ประเภท กล่าวคือ สังคมป่าข่อยชุมแสงเด่น (ป่าชุ่มน้าทนน้าท่วม) สังคมป่าชุ่มน้าปนเบญจ
พรรณมีไผ่ และสังคมพืชป่าเบญจพรรณ โดยพบว่าโครงสร้างป่ามีความสมบูรณ์ มีต้นไม้กระจายครบทุกชั้นความโต
มีความหนาแน่นอของต้นไม้เฉลี่ย 122 ต้นต่อไร่ และมีความหนาแน่นมากกว่าเกณฑ์ภายใต้นิยามป่าเสื่อมโทรม 8
เท่า เป็นแหล่งเก็บกักคาร์บอนที่สาคัญปัจจุบันเก็บกักคาร์บอนเหนือดิน 17,247 ตัน หากป่าผืนนี้ถูกทาลายจะ
ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อย่างน้อย 79,536 ตัน สาหรับสภาพการทดแทนตามธรรมชาติพบว่ามีการ
ทดแทนลูกไม้ และไม้หนุ่มในอัตราที่สูงที่อัตรา 2,204 และ 835 ต้นต่อไร่ตามลาดับ เนื่องจากพื้นที่ป่าดังกล่าวเป็น
พื้นที่ชุ่มน้าเชื่อมต่อกับแม่น้าจึงพบระบบนิเวศย่อย 8 ประเภท ได้แก่ ฮ่อง ห้วย ดอน วัง ญ่าน หาดทราย หนอง และ
บวก จากความหลากหลายของสังคมพืชและระบบนิเวศย่อยทาให้พื้นที่ป่าชุ่มน้าบุญเรืองพบความหลากหลายทาง
ชนิดพันธุ์ทั้งพืช สัตว์ป่า และปลารวมอย่างน้อย 271 ชนิด โดยจาแนกออกต้นไม้ 60 ชนิด สัตว์ 211 ชนิด
(การศึกษาครั้งนี้ไม่รวมแมลง) โดยในกลุ่มสัตว์ที่พบมากที่สุดคือจานวกนกกว่า 90 ชนิด รองลงมาคือ ปลา 87 ชนิด
(ไม่รวมปลาต่างถิ่น) สัตว์เลื้อยคลาน 13 ชนิด สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก 13 ชนิด และเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 6
ชนิดโดยพบว่าชนิดที่มี่ความสาคัญคือ เสือปลาที่อยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ นาก สถานภาพใกล้ถูกคุกคามตาม
สถานภาพของ IUCN
รายละเอียดดังตารางที่ 1 นอกจากนี้ยังพบว่าชุมชนได้พึ่งพิงเก็บหาพรรณพืชอย่างน้อย 102 ชนิด เป็นพืช
อาหาร 49 ชนิด พืชสมุนไพร 38 ชนิด และพืชที่เป็นทั้งอาหารสมุนไพร 15 ชนิด (รายละเอียดอยู่ในรายงานฉบับ
เต็ม)
14
ข่อย ชุมแสง มะเดื่อ ทองกวาวต้นไม้ที่สาคัญในพื้นที่
สรุปภาพรวมโครงสร้าง...ป่ าชุ่มน้าบุญเรือง...เสื่อมโทรม?
ชนิดต้นไม้ ความหนาแน่นของต้นไม้ใหญ่เฉลี่ย อัตราการทดแทนของไม้หนุ่ม อัตราการทดแทนของลูกไม้
อย่างน้อย
60 ชนิด
122 ต้นต่อไร่ 835 ต้นต่อไร่ 2,204 ต้นต่อไร่
เปรียบเทียบกับนิยาม...ป่ าเสื่อมโสม
เกณฑ์ ความหนาแน่นตามนิยามป่ าเสื่อมโทรม ความหนาแน่นของป่ าบุญเรือง
ก 1. ไม้หนุ่มที่มีความสูงเกิน 2
เมตร
ไม่เกิน 20 ต้นต่อไร่ 63 ต้นต่อไร่ มากกว่า 3 เท่า
ก 2. ต้นไม้มีความโตวัดรอบ
ระดับอก (GBH) 50-100 ซ.ม.
ไม่เกิน 8 ต้นต่อไร่ 44 ต้นต่อไร่ มากกว่า 5.5 เท่า
ก 3. ต้นไม้ทีมีความโตวัดรอบ
ระดับอก(GBH)มากกว่า 100
ซ.ม.ขึ้นไป
ไม่เกิน 2 ต้นต่อไร่ 17 ต้นต่อไร่ มากกว่า 8 เท่า
รวมทั้ง 3 เกณฑ์ ไม่เกิน 16 ต้นต่อไร่ 124 ต้นต่อไร่ มากกว่า 8 เท่า
15
ปริมาณการเก็บกักคาร์บอนเหนือดินของต้นไม้ในป่ า
โซนที่ การเก็บกักคาร์บอนต่อไร่ (ตันคาร์บอน) พื้นที่ป่ า (ไร่) คาร์บอนรวมในโซน
(ตันคาร์บอน)
โซนที่ 1 ป่ าข่อย วังปลาโอ 25.56 300 7,968
โซนที่ 2 ต้าคาแฝก วังไผ่ 13.84 400 5,538
โซนที่ 3 วังอ้อ 12.47 300 3,741
ปริมาณคาร์บอนเหนือดินในต้นไม้ในพื้นที่ 1,000 ไร่ 17,247
ปริมาณคาร์บอนในรากจะมีประมาณร้อยละ 26 ของคาร์บอนเหนือดิน ดังนั้นจะมีคาร์บอนในราก คิดเป็น 4,484
ตันคาร์บอน...รวมคาร์บอนเหนือดินกับในรากเท่ากับ 21,731 ตันคาร์บอน
การดูดซับคาร์บอนไดออกไซต์ และปล่อยออกซิเจนของป่ าชุ่มน้า หมู่ที่ 2 เนื้อที่ 1,000 ไร่
ปริมาณคาร์บอน (ตันคาร์บอน) ปริมาณดูดซับ CO 2 การปล่อย O2
21, 731 79,536 ตัน 57,804 ตัน
หากป่าบุญเรืองถูกทาลายจะปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์สู่ชั้นบรรยากาศอย่างน้อย 79,536 ตัน...ยังไม่
รวมคาร์บอนจากเศษซากไม้ใบไม้อินทรีย์วัตถุ เถาวัลย์และไผ่ที่มีอยู่ในพื้นที่
บรรยายสรุป ”แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของเมืองเชียงราย”
โดยนายอาเภอเชียงของ ณ ห้องประชุมลาน้าโขง โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อ.เชียงของ จ.เชียงราย
16
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเชียงของ "หนึ่งเมืองสองแบบ" คือการร่วมออกแบบชุดภาพอนาคต โดยการทบทวนอดีต
เท่าทันปัจจุบัน ที่ทาให้ทุกคนเข้าใจร่วมกันว่า การพัฒนาบนพื้นฐานการเคารพธรรมชาติและศรัทธาในความเท่าเทียมกัน
ของมนุษย์คืออะไร ท่ามกลางสถานการณ์และบริบททางสังคม และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างซับซ้อน รวดเร็ว
รุนแรง มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ทุกคนในสังคมเชียงของตระหนักดีว่า ไม่สามารถกระทาสิ่งต่างๆ ต่อไปในอนาคตได้เพียงลาพัง
เพียงคนเดียวหรือองค์กรเดียว กลุ่มเดียว กระบวนการนี้จึงเป็นกระบวนการทางานร่วมกันในระยะยาว ด้วยความ
สร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง เพื่อก้าวพ้นปัญหา และก้าวสู่ฝันอันสูงสุดร่วมกันได้
วิสัยทัศน์ (Vision)
"เชียงของหนึ่งเมืองสองแบบ (Green City) : คือเมืองประวัติศาสตร์นิเวศวัฒนธรรม อันนาไปสู่การอยู่ดีกินดีถ้วนทั่ว
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงยั่งยืน"
เป้าประสงค์ (Goal)
๑.การอยู่ดีกินดีถ้วนทั่วอย่างสมดุลและยั่งยืนคือ เมืองสุขภาวะดีทั้งสังคม
๒.เศรษฐกิจพัฒนาเติบโตอย่างยั่งยืนและเป็นธรรมคือ เมืองเศรษฐกิจยั่งยืนหรือเศรษฐกิจพอเพียง
๓.นิเวศทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมคงความอุดมสมบูรณ์ โดยการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม
พันธกิจ (Mission)
๑.รณรงค์ส่งเสริมศึกษาและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม การเกษตร สังคม สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การค้า
การลงทุน อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิสาหกิจชุมชน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร องค์กร ชุมชนท้องถิ่นในอาเภอ
เชียงของ บนพื้นฐานการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมวัฒนธรรม
๒.ร่วมสร้างความมั่นคงในทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพชีวิต ที่ร่วมสร้างให้ชุมชนท้องถิ่น ประชาสังคม องค์กรชุมชน กลุ่ม
อาชีพต่างๆ ทั้งหมดในเมืองเชียงของให้เข้มแข็ง เพื่อรักษาทุนทางสังคมและทุนในการส่งเสริมศึกษาพัฒนาให้เป็นธรรม
และยั่งยืน
๓.ร่วมสร้างความมั่นคงให้ปลอดพ้นจากภัยคุกคามตามแนวชายแดนไปพร้อมกับการรณรงค์ส่งเสริมธรรมาภิบาล การ
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีบนพื้นฐานหลักสิทธิมนุษยชน
ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา
ประเด็นที่ ๑ นิเวศวัฒนธรรมกับการท่องเที่ยวอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน
กลยุทธ์ที่สาคัญ ในประเด็นนี้คือ การใช้ "แลนด์มาร์ค (Land Mark) หรือทุนทางสังคมและวัฒนธรรม
ประเด็นที่ ๒ นิเวศวัฒนธรรมเพื่อสุขส่วนรวมของหน้าหมู่เพิ่มพูน
กลยุทธ์ที่สาคัญ ในประเด็นนี้คือ การประกาศเขตและส่งเสริม "หนึ่งชุมชน หนึ่งการอนุรักษ์"
17
ประเด็นที่ ๓ สุขภาวะคนและสังคมที่ดี
กลยุทธ์ที่สาคัญ ในประเด็นนี้คือ การสร้างและบริหาร "ศูนย์เรียนรู้ที่มีชีวิต“
ประเด็นที่ ๔ นิเวศเศรษฐการร่วมสมัย
กลยุทธ์ที่สาคัญ ในประเด็นนี้คือ "ผู้ประกอบการธุรกิจและผู้ประกอบการทางสังคม" พร้อม "กองทุนท้องถิ่น"
เราจะร่วมกันผลักดันแผนยุทธศาสตร์เชียงของ หนึ่งเมืองสองแบบ ไปสู่การปฏิบัติจริงได้อย่างไร?
-เวทีออกแบบแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
วันที่ 30 ม.ค.2559 จังหวัดพะเยาและจังหวัดลาปาง
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “การสร้างพื้นที่การสื่อสารสาธารณะ:พะเยาทีวีชุมชน”
18
ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา
พะเยาเป็นเมืองเก่าแก่เมืองหนึ่งในการแถบล้านนาไทยเดิมมีชื่อว่า ภูกามยาว หรือ พะยาว มีอายุกว่า 900 ปี
โดยพ่อขุนศรีจอมธรรม กษัตริย์แห่งราชวงศ์ลัวะจักรราชหิรัญนครเงินยางเมืองเชียงสนและเจริญรุ่งเรืองสูงสุด ในสมัย
พ่อขุนงาเมือง “เมืองภูกามยาว” หรือพะยาว เคยมีเอกราชสมบูรณ์มีกษัตริย์ปกครองสืบราชสันติวงศ์มาปรากฎตาม
ตานานเมืองพะเยา พ.ศ.1602 พ่อขุนเงิน หรือลาวเงิน กษัตริย์ผู้ครองนครเงินยางเชียงแสน มีพระโอรส 2 พระองค์ คือขุน
ชินและขุนจอมธรรม ขุนจอมธรรมมีพระโอรส 2 พระองค์คือ ขุนเจืองและขุนจอง เมื่อขุนจองธรรมสิ้นพระชนม์ ขุน
เจือง โอรสขึ้นครองราชยแทน
พะเยามีชัยมงคล 3 ประการ คือ
1.มีแม่น้าสายตาหรือแม่น้าอิง อยู่ทางใต้ของเมืองและไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
2.,มีกว๊านพะเยาหรือหนองเอี้ยงตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมือง
3.หัวเวียงมีดอยจอมทองที่บรรจุพระธาตุจอมทอง เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองพะเยา
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พยาว เปลี่ยนชื่อเป็น พะเยา และรวมอยู่กับจังหวัดเชียงรายจนในปี พ.ศ.2520 จึงได้รับ
การจัดตั้งขึ้นเป็นจังหวัดพะเยา เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2520
ความเป็นมา จังหวัดพะเยา มีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมยาวนานกว่า 900ปีปรากฏหลักฐานด้าน โบราณคดีและ
เอกสารบันทึกมากมายโดยเฉพาะจากการศึกษาค้นคว้าและรวบรวมอย่างต่อ เนื่องของพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง
ธมฺมปญฺโญ) วัดศรีโคมคาซึ่งได้สะท้อนให้เห็นถึงความ รุ่งเรืองที่เป็นอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของเมืองพะเยาอย่าง
ชัดแจ้งพระอุบาลีคุณูปมาจารย์(ปวง ธมฺมปญฺโญ) วัดศรีโคมคาถือเป็นปราชญ์ท้องถิ่นต้นแบบ ของเมืองพะเยา ที่ทา
งานด้านการศึกษาข้อมูลท้องถิ่นมีผลงานเขียน บันทึก รวบรวมหลักฐาน ไว้อย่างเป็นระบบและมากที่สุด
ดังจะเห็นได้จากการจัดพิมพ์หนังสือเป็นเล่มและจัดสร้างหอ วัฒนธรรมนิทัศน์ ก่อคุณค่าและยังประโยชน์อเนก
อนันต์ต่อคนรุ่นหลังได้เชื่อมต่อรากเหง้าทาง ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของตนเองอย่างเข้าใจและมีจิตสานึกในการ
อนุรักษ์และพัฒนา ท้องถิ่นเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตามการรวบรวมข้อมูลและองค์ความรู้ท้องถิ่นของจังหวัดพะเยายังมี
ความ จาเป็นที่จะต้องรวบรวมศึกษาค้นคว้าและวิจัยให้มีความต่อเนื่องและสามารถนามาปรับใช้ กับการพัฒนาท้องถิ่น
ต่อไป ที่ผ่านมายังไม่มีบุคคล สถาบันการศึกษาหน่วยงานหรือองค์กรใด ทาหน้าที่ในด้านในอย่างจริงจัง
นอกจากนี้ยังค้นพบว่ามีงานวิจัย เอกสารความรู้ ท้องถิ่น ข้อมูล ภาพถ่ายภาพเคลื่อนไหว เสียงอีกจานวน
มากที่ผลิตจากบุคคลภายนอก แต่ยังไม่มีการเก็บ รวบรวมไว้เป็นเป็นระบบด้วยเหตุนี้ ในปี 2552 ตัวแทนนักวิชาการ
นักพัฒนา นักธุรกิจสื่อมวลชน คณะสงฆ์ และศิษยานุศิษย์จึงปรึกษาหารือกันว่าทาอย่างไรจะสามารถต่อยอดความคิด
และงานของพระ อุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ) วัดศรีโคมคา ในด้านที่เกี่ยวกับการเก็บ
รวบรวมข้อมูล การ ศึกษาค้นคว้าและวิจัยองค์ความรู้ท้องถิ่นของจังหวัดพะเยาให้เกิดขึ้นและมีความต่อเนื่อง พร้อม
ทั้งเผยแพร่องค์ความรู้ และนาไปใช้ประโยชน์ด้านการพัฒนาท้องถิ่นต่อไป ในโอกาสที่พระอุบาลีคุณูปมาจารย์
(ปวง ธมฺมปญฺโญ) วัดศรีโคมคา ได้รับพระราชทาน สมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะรองสมเด็จพระราชา
คณะชั้นหิรัญบัฎ และดุษฎีบัณฑิตจากสถาบัน การศึกษาหลายแห่ง และเพื่อเป็นการสืบทอดแนวคิดแนวทางในการ
สร้างองค์ความรู้แก่ท้องถิ่น ทางคณะผู้ก่อตั้งเบื้องต้น จึงได้ตั้ง“สถาบันปวงผญาพยาว” ขึ้น เป้าหมาย การ
จัดระบบองค์ความรู้และเครือข่ายพัฒนาท้องถิ่นโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลศึกษาค้นคว้าและวิจัยองค์ความรู้ท้องถิ่น
19
เผยแพร่ สื่อสารองค์ความรู้ท้องถิ่นสู่สาธารณะ และนาองค์ ความรู้นาไปใช้ประโยชน์ในการสร้างการเรียนรู้และ
พัฒนาท้องถิ่นเมืองพะเยาและลุ่มน้าอิง-โขงยุทธศาสตร์การทางาน ระดับพื้นที่โดยการสร้างการเรียนรู้การพัฒนา
ศักยภาพการให้การศึกษาการถอดองค์ ความรู้ร่วมกับชุมชนและองค์กรชุมชนเพื่อให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้และนาองค์
ความรู้ท้องถิ่น มาใช้การพัฒนาที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น ระดับพื้นที่สาธารณะโดยการสร้างให้เกิด
เวทีการแลกเปลี่ยนรูปแบบต่างๆในประเด็น ต่างๆกับองค์กรและเครือข่ายต่างๆในจังหวัดพะเยาและลุ่มน้าอิงโขงเพื่อให้
สังคมเกิดการ เรียนรู้ และเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาตลอดจนผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับ นโยบาย
ท้องถิ่น และนโยบายสาธารณะ ระดับนโยบายโดยการรวบรวม ติดตาม และให้ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น
พะเยา และลุ่มนอิงโขงที่มีความสอดคล้องกับความต้องการและปัญหาของท้องถิ่นอย่างแท้จริง แผนการดาเนินงาน•
แผนงานด้านศูนย์ข้อมูลความรู้ท้องถิ่น •แผนงานด้านการวิจัยท้องถิ่น•แผนงานด้านการมีส่วนร่วมประเด็น
สาธารณะ•แผนงานด้านสื่อสารสาธารณะ
แนวทางการทางานสื่อสาร
1.ศูนย์ข้อมูลท้องถิ่นรวบรวมงานวิจัย หนังสือ เอกสาร รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียมัลติมีเดียที่เกี่ยวข้อง
กับจังหวัดพะเยา และลุ่มน้าอิง-โขงจัดทาให้เป็นระบบทั้งเก่าและใหม่พร้อมเปิดให้บริการค้นคว้าได้
2.วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดพะเยและลุ่มน้าอิง-โขงเพื่อ นาไปสู่การกาหนด
นโยบายและเปน็ทางออกสาหรับการแก้ป้ญัหาในประเดน็ต่างๆของท้องถิ่น
3.งานสื่อสารสาธารณะผลิตสื่อ รณรงค์ เผยแพร่องค์ความรู้ท้องถิ่นให้ง่ายต่อการเข้า ถึงในกลุ่มประชาชน
และผู้สนใจตลอดจนเชื่อมต่อเครือข่ายสื่อต่างๆทั้งสื่อหนังสือพิมพ์วิทยุโทรทัศน์เว็บไซต์และสื่อทางเลือกอื่นๆ เพื่อ
นาไปเผยแพร่ได้อย่างง่ายและถูกต้อง
4.เวทีสาธารณะ โดยการจัดเสวนาท้องถิ่น นิทรรศการองค์ความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นเพื่อ ให้เกิดการมีส่วนร่วมใน
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุดประสบการณ์ด้านการพัฒนาท้องถิ่นร่วมกัน
5.งานเชิดชูผญาพยาว (คนเด่น) โดยการสนับสนุนและส่งเสริมบุคคลองค์กรเครือข่าย ประชาชนนักวิชาการ
ที่ทางานวิจัยและค้นคว้าองค์ความรู้ในท้องถิ่นในรูปแบบที่เป็นวิชาการ และไม่เป็นวิชาการก็ได้โดยให้การสนับสนุนทั้ง
ด้านเงินทุนจัดพิมพ์รูปเล่มหรืออื่นๆตลอด จนมอบรางวัล“ปวงพญาพยาว”อาทิผญาเมือง (ข้าราชการ/ผู้นาองค์กรท้องถิ่น)
ผญาบ้าน (ปราชญ์ชาวบ้าน) ผญาละอ่อน (เยาวชน/คนรุ่นใหม่ที่มีผลงานด้านวิจัย/เขียนหนังสือ)ผญาแก่
(ผู้สูงอายุที่มีคุณค่าในชุมชน)ผญาแม่ญิง(ผู้หญิงที่มีบทบาทในงานพัฒนา)เป็นต้น
6.งานประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน องค์กรทั้งภาครัฐเอกชน ภาคประชาสังคม เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนา
ท้องถิ่นพะเยา
7.งานจิตอาสา/อาสาสมัครโดยเปิดโอกาสให้คนทุกรุ่นทุกวัยที่มีหัวใจอาสามาพัฒนา ท้องถิ่นพะเยาร่วมกับ
สถาบันฯในรูปแบบต่างๆตามความสนใจ โดยใช้ความสามารถทักษะของ ตนเองที่มีอยู่มาทาให้เกิดประโยชน์แก่
ท้องถิ่นและประสานงานเครือข่าย
จังหวัดพะเยา มีประชากร 484,454 คน รายได้เฉลี่ย 10.30 บาท/คน/ปี ทีวี 136,274 เครื่อง 96% ครัวเรือน
และมีเฉลี่ยค่ารับชมเครื่องละ 36.69 บาท / ปี
20
ดูงานการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตเหมืองแม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง
ปี 2535 ปัญหาในอดีตมีการปล่อยสารพิษทาให้หมู่บ้านใกล้ๆเคียงได้รผลกระทบจาก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแม่เมาะ
และผู้ใหญ่ไม่ยอมรับความผิดพลาดจากการปล่อยสารพิษ ปัจจุบันต้องรักษาสภาพแวดล้อมไม่ให้เกิดขึ้นกับประชาชน
บริเวณรอบและใกล้เคียงกับโรงไฟฟ้าฝ่ายผลิดแม่เมาะ ได้รับบทเรียนและแก้ไขปัญหา
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแม่เมาะต้องทาแผนพัฒนา ป้องกันแต่แรกไม่ใช่เกิดปัญหาจากมลพิษแล้วถึงมาแก้ไขและ
จะต้องให้ประชาชนรอบๆร่วมกันป้องกัน ต้องใช้ศิลปะมากกว่าศาสตร์ หากมีการชุมนุมประท้วงจากผลกระทบ ส่วน
ใหญ่แกนนาจะได้รับผลประโยชน์มากกว่าประชาชนที่ได้รับความเสียหาย ดังนั้นการไฟฟ้าฝ่ายลิตแม่เมาะต้อง
ประชาสัมพันธ์และการพัฒนาแก้ไขโดยคานึงถึงสาธารณะมากกว่าผลประโยชน์ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต
21
บรรณานุกรม
เอกสารแผ่นพับ
เอกสารแผ่นพับ,โครงการชาติพันธุ์อาสาเพื่อการพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อม,มูลนิธิพัฒนาชุมชนและเขตภูเขา (พชภ.),
จานวน1,000 เล่ม,25 มิ.ย.2557,วนิดาการพิมพ์
เชียงของ หนึ่งเมืองสองแบบ (กรียซิตี้ Green City) ,แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองเชียงของอย่างมีดุลภาพและยั่งยืน
,ฉบับที่ 1 :หนึ่งเมืองสองแบบ พ.ศ.2558-2562
รู้จักพันธุ์ปลา แม่น้าโขง พรมแดนไทย-ลาว ตอนบน,งานวิจัยจาวบ้าน เชียงของ-เวียงแก่น,สถาบันองค์ความรู้ท้องถิ่นโฮง
เฮียนแม่น้าโขง,วนิดาการพิมพ์
พะเยา,กอบคาการพิมพ์

More Related Content

Viewers also liked

การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองTaraya Srivilas
 
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1Taraya Srivilas
 
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์Taraya Srivilas
 
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือจากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือTaraya Srivilas
 
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
iร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญiร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองTaraya Srivilas
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Taraya Srivilas
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันTaraya Srivilas
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีTaraya Srivilas
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมTaraya Srivilas
 
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็นการปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็นTaraya Srivilas
 
อยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกอยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกTaraya Srivilas
 
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจการปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจTaraya Srivilas
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน Taraya Srivilas
 
การบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นการบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นTaraya Srivilas
 

Viewers also liked (19)

การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
 
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
 
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
 
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือจากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
 
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
 
iร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญiร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญ
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็นการปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
 
Framework 4ส6
Framework 4ส6Framework 4ส6
Framework 4ส6
 
สเปน
สเปนสเปน
สเปน
 
อยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกอยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลก
 
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจการปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
 
การบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นการบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่น
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

Report trip 4รายงานดูงานภาคเหนือ(27 31 ธ.ค.2558)

  • 1. บันทึกการศึกษาดูงานครั้งที่ 4 ภาคเหนือ ระหว่าง วันพฤหัสบดีที่28 ถึงวันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม 2559 ณ จังหวัดเชียงราย พะเยา ลาปางและเชียงใหม่ ………………………………………………………………………… ชื่อ-สกุล รศ.พ.ต.อ.ดร.กิตติ์ธนทัต เลอวงศ์รัตน์ เลขที่ 8 ดูงานวันที่ 28 ม.ค.2559 จ.เชียงราย ภาพรวมวิถีชีวิตชุมชนชาติพันธ์ชายแดนในมิติเศรษฐกิจสังคม” โดยประธานสภาองค์การบริหารส่วนตาบลเทอดไทย อ.แม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ข้อมูลพื้นฐานองค์การบริหารส่วนตาบลเทอดไทย อ.แม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย องค์การบริหารส่วนตาบลเทอดไทย จัดตั้ง ลาดับที่ 379 ฉบับประกาศทั่วไปเล่ม 113 ตอนที่ 9 ลงวันที่ 30 มกราคม 2539 มีผลใช้บังคับในวันที่ 30 มีนาคม 2539 พื้นที่ประมาณ 167.90 ตารางกิโลเมตรหรือ ประมาณ 102,935 ไร่ ประชากรทั้งหมด 20,628 คน ชาย 10,304 คน หญิง 10,324 คน จานวนครัว 5,236 ครัวเรือน ประชากรหนาแน่น เฉลี่ย 122 คน / ตร.กม หมู่บ้าน 18 หมู่บ้านหลัก 16 หมู่บ้านรอง โรงเรียนสอนภาษาไทย 11 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 18 แห่ง ศูนย์ กศน. 8 แห่ง โรงเรียนสอนภาษาจีน 4 แห่ง สถานพยาบาลใกล้บ้าน โรงพยาบาลชุมชน 1 แห่ง และ รพ.สต. 3 แห่ง ข้อมูลของประชากรเทิดไทย หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง “การเสริมสร้างสังคมสันติสุข” รุ่นที่ 6 สานักสันติวิธีและธรรมมาภิบาล สถานบันพระปกเกล้า
  • 2. 2 • ประชากร มี 8 กลุ่มชาติพันธุ์ ประกอบด้วย อาข่า ลาหู่ ลีซู ลั๊วะ ไทยใหญ่ ม้ง จีนยูนนานและกลุ่มคนไทยพื้นราบ • ประชากรนับถือศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม และนับถือผีบรรพบุรุษ • ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าว ข้าวโพด ชา กาแฟ และผลไม้เมืองหนาว กิจกรรมวัฒนธรรมประจาปีที่ อบต.สนับสนุนงบประมาณ ปีใหม่ม้ง ช่วงเดือน มกราคม ปีใหม่ลาหู่ ช่วงเดือน กุมภาพันธ์ ตรุษจีน ช่วงเดือน กุมภาพันธ์ ปีใหม่ไตย ช่วงเดือน ธันวาคม ปีใหม่อาข่า ช่วงเดือน ธันวาคม
  • 3. 3 สภาพทั่วไปเป็นภูเขาสูงติดชายแดนไทย-พม่า ความสูงระหว่าง 800 – 1200 เมตรจากระดับน้าทะเล เส้นทางการท่องเที่ยว เทอดไทย
  • 4. 4 เส้นทางการท่องเที่ยว หมู่บ้านเทิดไทย มีโอกาส เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต พืชเศรษฐกิจ อายุยืน เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แสดงการเก็บ ชาอัสสัม ปลูกชาอู่หลง บ้านเทอดไทย มีรายได้จากการปลูกชา 250 ล้านบาท/ต่อ จากการส่ง-ออกทั้งในและต่างประเทศ(ไต้หวัน)
  • 6. 6 สถานการณ์ด้านการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1. ระบบน้า พัฒนาแหล่งต้นน้า และซ่อมบารุงระบบน้า 2.ศึกษาและพัฒนาระบบการกาจัดขยะชุมชนที่ถูกต้อง
  • 7. 7 3.การจัดการที่ดินทากินและแนวเขตป่ า เพิ่มความมั่นคงในการถือครองที่ดิน ผ่านระเบียบและกติกาชุมชน เพิ่มพื้นที่การผลิตอาหาร และการเกษตรแนวระดับ วิถีการผลิตอาหารปลอดภัย
  • 9. 9 ประชากรประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธ์มากกว่า 7 ชนเผ่า อาณาเขตติดต่อ: ทิศเหนือ ติดต่อกับ รัฐฉาน (ประเทศพม่า) ทิศใต้ ติดต่อกับ อ.แม่จัน ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อ.แม่สาย และ อ.แม่จัน ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อ.แม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ และรัฐฉาน เนื้อที่ : พื้นที่ของอาเภอแม่ฟ้าหลวง ประมาณ 641.404 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 400,887 ไร่ อ.แม่ฟ้าหลวง
  • 10. 10 อัตราประชากรแยกรายเผ่า วิสัยทัศน์โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง “เป็นโรงพยาบาลชุมชนบนพื้นที่สูง ที่ให้บริการสุขภาพแบบองค์รวม สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ เพื่อให้ประชาชน ได้รับบริการที่ดี ผู้ให้บริการมีความสุข” ม้ง 2% อื่น ๆ 1% ไทยใหญ่ 16% ลีซอ 9% ลาหู่ 18% อาข่า 34% เย้า 3% จีนฮ่อ 17% อาข่า ลาหู่ ม้ง ลีซอ จีนฮ่อ ไทยใหญ่ เย้า อื่น ๆ
  • 11. 11 พันธกิจ 1. พัฒนาระบบการให้บริการสุขภาพแบบองค์รวม อย่างมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ 2. พัฒนาระบบบริการเพื่อให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจ 3. พัฒนาสมรรถนะ และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคลากร ยุทธศาสตร์ขององค์กร ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพบริการทางคลินิก ยุทธศาสตร์ที่ 3 สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและภาคีเครือข่าย ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาศักยภาพบุคลากรตามมาตรฐานวิชาชีพ เข็มมุ่ง ปี 2558 1.บริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบทุกหน่วยงานเพื่อให้ผู้รับบริการมีความปลอดภัย 2.พัฒนาระบบบริการโรคเรื้อรัง (DM - HT) ค่านิยม “บริการด้วยหัวใจ ปลอดภัยทุกย่างก้าว” ข้อมูลบุคลากร รพ.แม่ฟ้าหลวง ข้อมูลบุคลากร รพ.แม่ฟ้าหลวง ลาดับ เจ้าหน้าที่ จานวน 1 แพทย์ 2 2 ทันตแพทย์ 4 3 เภสัชกร 3 4 พยาบาล 26 5 นักเทคนิคการแพทย์ 2 6 นักกายภาพบาบัด 1 7 นักวิชาการสาธารณสุข 2 8 จพ.สาธารณสุข 1 9 จพ.เภสัชกรรม 3 10 จพ.เวชสถิติ 1
  • 12. 12 11 จพ.ทันตสาธารณสุข 0 12 ผช.แพทย์แผนไทย 1 13 จนท.อื่นๆ 71 รวม 117 ปัญหาอุปสรรค * การทางานในรูปแบบ 1 อาเภอ 2 เครือข่าย * ศักยภาพในการจัดการสุขภาพด้วยตนเองของประชาชน * การปรับเปลี่ยน-โยกย้าย ของบุคลากร * ข้อจากัดในด้านศักยภาพบุคลากร (สหวิชาชีพ+เฉพาะทาง) ดูงานวันที่ 29 ม.ค.2559 จ.เชียงราย สายที่ 1 พื้นที่ชุมน้าบุญเรือง ตาบลบุญเรือง อาเภอเชียงของ จ.เชียงราย
  • 13. 13 โครงสร้างป่า ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ของพืช สัตว์ และปริมาณการเก็บกักคาร์บอน ป่าชุ่มน้าบ้านบุญเรือง หมู่ที่ 2 ตาบลบุญเรือง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ป่าบุญเรือง หมู่ที่ 2 เป็นส่วนหนึ่งผืนป่าชุ่มน้าในตาบลบุญเรือง โดยมีเนื้อที่ประมาณ 1,000 ไร่ จากผืนป่า 3,021 ไร่ของทั้งตาบล ผืนป่าดังกล่าวชุมชนได้ปกป้องพื้นที่ป่ามาตั้งแต่อดีตจากการเข้ามาของนายทุนโรงบ่มยาสูบ ปัจจุบันป่าชุ่มน้านี้ยังมีคุณค่า ความสาคัญต่อวิถีชีวิตของชุมชนเนื่องจากเป็นแหล่งพืชอาหาร ไม้ใช้สอย สมุนไพร และแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้าในช่วงน้าท่วมหลาก ซึ่งจะมีสภาพเป็นพื้นที่ป่าชุ่มน้า (seasonal wetland) และแก้มลิง ธรรมชาติ ซึ่งทาให้พื้นที่มีความเป็นเอกลักษณ์ทางนิเวศวิทยาที่ผสมผสานระหว่างระบบนิเวศป่าไม้และระบบนิเวศ แม่น้า ผลจากการศึกษาพบว่าป่าชุมชนบุญเรืองมีระบบนิเวศย่อยที่หลากหลาย ทั้งสังคมพืช หรือป่าไม้ที่สามารถ แบ่งสังคมพืชออกเป็น 3 ประเภท กล่าวคือ สังคมป่าข่อยชุมแสงเด่น (ป่าชุ่มน้าทนน้าท่วม) สังคมป่าชุ่มน้าปนเบญจ พรรณมีไผ่ และสังคมพืชป่าเบญจพรรณ โดยพบว่าโครงสร้างป่ามีความสมบูรณ์ มีต้นไม้กระจายครบทุกชั้นความโต มีความหนาแน่นอของต้นไม้เฉลี่ย 122 ต้นต่อไร่ และมีความหนาแน่นมากกว่าเกณฑ์ภายใต้นิยามป่าเสื่อมโทรม 8 เท่า เป็นแหล่งเก็บกักคาร์บอนที่สาคัญปัจจุบันเก็บกักคาร์บอนเหนือดิน 17,247 ตัน หากป่าผืนนี้ถูกทาลายจะ ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อย่างน้อย 79,536 ตัน สาหรับสภาพการทดแทนตามธรรมชาติพบว่ามีการ ทดแทนลูกไม้ และไม้หนุ่มในอัตราที่สูงที่อัตรา 2,204 และ 835 ต้นต่อไร่ตามลาดับ เนื่องจากพื้นที่ป่าดังกล่าวเป็น พื้นที่ชุ่มน้าเชื่อมต่อกับแม่น้าจึงพบระบบนิเวศย่อย 8 ประเภท ได้แก่ ฮ่อง ห้วย ดอน วัง ญ่าน หาดทราย หนอง และ บวก จากความหลากหลายของสังคมพืชและระบบนิเวศย่อยทาให้พื้นที่ป่าชุ่มน้าบุญเรืองพบความหลากหลายทาง ชนิดพันธุ์ทั้งพืช สัตว์ป่า และปลารวมอย่างน้อย 271 ชนิด โดยจาแนกออกต้นไม้ 60 ชนิด สัตว์ 211 ชนิด (การศึกษาครั้งนี้ไม่รวมแมลง) โดยในกลุ่มสัตว์ที่พบมากที่สุดคือจานวกนกกว่า 90 ชนิด รองลงมาคือ ปลา 87 ชนิด (ไม่รวมปลาต่างถิ่น) สัตว์เลื้อยคลาน 13 ชนิด สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก 13 ชนิด และเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 6 ชนิดโดยพบว่าชนิดที่มี่ความสาคัญคือ เสือปลาที่อยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ นาก สถานภาพใกล้ถูกคุกคามตาม สถานภาพของ IUCN รายละเอียดดังตารางที่ 1 นอกจากนี้ยังพบว่าชุมชนได้พึ่งพิงเก็บหาพรรณพืชอย่างน้อย 102 ชนิด เป็นพืช อาหาร 49 ชนิด พืชสมุนไพร 38 ชนิด และพืชที่เป็นทั้งอาหารสมุนไพร 15 ชนิด (รายละเอียดอยู่ในรายงานฉบับ เต็ม)
  • 14. 14 ข่อย ชุมแสง มะเดื่อ ทองกวาวต้นไม้ที่สาคัญในพื้นที่ สรุปภาพรวมโครงสร้าง...ป่ าชุ่มน้าบุญเรือง...เสื่อมโทรม? ชนิดต้นไม้ ความหนาแน่นของต้นไม้ใหญ่เฉลี่ย อัตราการทดแทนของไม้หนุ่ม อัตราการทดแทนของลูกไม้ อย่างน้อย 60 ชนิด 122 ต้นต่อไร่ 835 ต้นต่อไร่ 2,204 ต้นต่อไร่ เปรียบเทียบกับนิยาม...ป่ าเสื่อมโสม เกณฑ์ ความหนาแน่นตามนิยามป่ าเสื่อมโทรม ความหนาแน่นของป่ าบุญเรือง ก 1. ไม้หนุ่มที่มีความสูงเกิน 2 เมตร ไม่เกิน 20 ต้นต่อไร่ 63 ต้นต่อไร่ มากกว่า 3 เท่า ก 2. ต้นไม้มีความโตวัดรอบ ระดับอก (GBH) 50-100 ซ.ม. ไม่เกิน 8 ต้นต่อไร่ 44 ต้นต่อไร่ มากกว่า 5.5 เท่า ก 3. ต้นไม้ทีมีความโตวัดรอบ ระดับอก(GBH)มากกว่า 100 ซ.ม.ขึ้นไป ไม่เกิน 2 ต้นต่อไร่ 17 ต้นต่อไร่ มากกว่า 8 เท่า รวมทั้ง 3 เกณฑ์ ไม่เกิน 16 ต้นต่อไร่ 124 ต้นต่อไร่ มากกว่า 8 เท่า
  • 15. 15 ปริมาณการเก็บกักคาร์บอนเหนือดินของต้นไม้ในป่ า โซนที่ การเก็บกักคาร์บอนต่อไร่ (ตันคาร์บอน) พื้นที่ป่ า (ไร่) คาร์บอนรวมในโซน (ตันคาร์บอน) โซนที่ 1 ป่ าข่อย วังปลาโอ 25.56 300 7,968 โซนที่ 2 ต้าคาแฝก วังไผ่ 13.84 400 5,538 โซนที่ 3 วังอ้อ 12.47 300 3,741 ปริมาณคาร์บอนเหนือดินในต้นไม้ในพื้นที่ 1,000 ไร่ 17,247 ปริมาณคาร์บอนในรากจะมีประมาณร้อยละ 26 ของคาร์บอนเหนือดิน ดังนั้นจะมีคาร์บอนในราก คิดเป็น 4,484 ตันคาร์บอน...รวมคาร์บอนเหนือดินกับในรากเท่ากับ 21,731 ตันคาร์บอน การดูดซับคาร์บอนไดออกไซต์ และปล่อยออกซิเจนของป่ าชุ่มน้า หมู่ที่ 2 เนื้อที่ 1,000 ไร่ ปริมาณคาร์บอน (ตันคาร์บอน) ปริมาณดูดซับ CO 2 การปล่อย O2 21, 731 79,536 ตัน 57,804 ตัน หากป่าบุญเรืองถูกทาลายจะปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์สู่ชั้นบรรยากาศอย่างน้อย 79,536 ตัน...ยังไม่ รวมคาร์บอนจากเศษซากไม้ใบไม้อินทรีย์วัตถุ เถาวัลย์และไผ่ที่มีอยู่ในพื้นที่ บรรยายสรุป ”แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของเมืองเชียงราย” โดยนายอาเภอเชียงของ ณ ห้องประชุมลาน้าโขง โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อ.เชียงของ จ.เชียงราย
  • 16. 16 ยุทธศาสตร์การพัฒนาเชียงของ "หนึ่งเมืองสองแบบ" คือการร่วมออกแบบชุดภาพอนาคต โดยการทบทวนอดีต เท่าทันปัจจุบัน ที่ทาให้ทุกคนเข้าใจร่วมกันว่า การพัฒนาบนพื้นฐานการเคารพธรรมชาติและศรัทธาในความเท่าเทียมกัน ของมนุษย์คืออะไร ท่ามกลางสถานการณ์และบริบททางสังคม และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างซับซ้อน รวดเร็ว รุนแรง มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ทุกคนในสังคมเชียงของตระหนักดีว่า ไม่สามารถกระทาสิ่งต่างๆ ต่อไปในอนาคตได้เพียงลาพัง เพียงคนเดียวหรือองค์กรเดียว กลุ่มเดียว กระบวนการนี้จึงเป็นกระบวนการทางานร่วมกันในระยะยาว ด้วยความ สร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง เพื่อก้าวพ้นปัญหา และก้าวสู่ฝันอันสูงสุดร่วมกันได้ วิสัยทัศน์ (Vision) "เชียงของหนึ่งเมืองสองแบบ (Green City) : คือเมืองประวัติศาสตร์นิเวศวัฒนธรรม อันนาไปสู่การอยู่ดีกินดีถ้วนทั่ว ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงยั่งยืน" เป้าประสงค์ (Goal) ๑.การอยู่ดีกินดีถ้วนทั่วอย่างสมดุลและยั่งยืนคือ เมืองสุขภาวะดีทั้งสังคม ๒.เศรษฐกิจพัฒนาเติบโตอย่างยั่งยืนและเป็นธรรมคือ เมืองเศรษฐกิจยั่งยืนหรือเศรษฐกิจพอเพียง ๓.นิเวศทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมคงความอุดมสมบูรณ์ โดยการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม พันธกิจ (Mission) ๑.รณรงค์ส่งเสริมศึกษาและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม การเกษตร สังคม สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิสาหกิจชุมชน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร องค์กร ชุมชนท้องถิ่นในอาเภอ เชียงของ บนพื้นฐานการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมวัฒนธรรม ๒.ร่วมสร้างความมั่นคงในทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพชีวิต ที่ร่วมสร้างให้ชุมชนท้องถิ่น ประชาสังคม องค์กรชุมชน กลุ่ม อาชีพต่างๆ ทั้งหมดในเมืองเชียงของให้เข้มแข็ง เพื่อรักษาทุนทางสังคมและทุนในการส่งเสริมศึกษาพัฒนาให้เป็นธรรม และยั่งยืน ๓.ร่วมสร้างความมั่นคงให้ปลอดพ้นจากภัยคุกคามตามแนวชายแดนไปพร้อมกับการรณรงค์ส่งเสริมธรรมาภิบาล การ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีบนพื้นฐานหลักสิทธิมนุษยชน ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเด็นที่ ๑ นิเวศวัฒนธรรมกับการท่องเที่ยวอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน กลยุทธ์ที่สาคัญ ในประเด็นนี้คือ การใช้ "แลนด์มาร์ค (Land Mark) หรือทุนทางสังคมและวัฒนธรรม ประเด็นที่ ๒ นิเวศวัฒนธรรมเพื่อสุขส่วนรวมของหน้าหมู่เพิ่มพูน กลยุทธ์ที่สาคัญ ในประเด็นนี้คือ การประกาศเขตและส่งเสริม "หนึ่งชุมชน หนึ่งการอนุรักษ์"
  • 17. 17 ประเด็นที่ ๓ สุขภาวะคนและสังคมที่ดี กลยุทธ์ที่สาคัญ ในประเด็นนี้คือ การสร้างและบริหาร "ศูนย์เรียนรู้ที่มีชีวิต“ ประเด็นที่ ๔ นิเวศเศรษฐการร่วมสมัย กลยุทธ์ที่สาคัญ ในประเด็นนี้คือ "ผู้ประกอบการธุรกิจและผู้ประกอบการทางสังคม" พร้อม "กองทุนท้องถิ่น" เราจะร่วมกันผลักดันแผนยุทธศาสตร์เชียงของ หนึ่งเมืองสองแบบ ไปสู่การปฏิบัติจริงได้อย่างไร? -เวทีออกแบบแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม วันที่ 30 ม.ค.2559 จังหวัดพะเยาและจังหวัดลาปาง เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “การสร้างพื้นที่การสื่อสารสาธารณะ:พะเยาทีวีชุมชน”
  • 18. 18 ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา พะเยาเป็นเมืองเก่าแก่เมืองหนึ่งในการแถบล้านนาไทยเดิมมีชื่อว่า ภูกามยาว หรือ พะยาว มีอายุกว่า 900 ปี โดยพ่อขุนศรีจอมธรรม กษัตริย์แห่งราชวงศ์ลัวะจักรราชหิรัญนครเงินยางเมืองเชียงสนและเจริญรุ่งเรืองสูงสุด ในสมัย พ่อขุนงาเมือง “เมืองภูกามยาว” หรือพะยาว เคยมีเอกราชสมบูรณ์มีกษัตริย์ปกครองสืบราชสันติวงศ์มาปรากฎตาม ตานานเมืองพะเยา พ.ศ.1602 พ่อขุนเงิน หรือลาวเงิน กษัตริย์ผู้ครองนครเงินยางเชียงแสน มีพระโอรส 2 พระองค์ คือขุน ชินและขุนจอมธรรม ขุนจอมธรรมมีพระโอรส 2 พระองค์คือ ขุนเจืองและขุนจอง เมื่อขุนจองธรรมสิ้นพระชนม์ ขุน เจือง โอรสขึ้นครองราชยแทน พะเยามีชัยมงคล 3 ประการ คือ 1.มีแม่น้าสายตาหรือแม่น้าอิง อยู่ทางใต้ของเมืองและไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 2.,มีกว๊านพะเยาหรือหนองเอี้ยงตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมือง 3.หัวเวียงมีดอยจอมทองที่บรรจุพระธาตุจอมทอง เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองพะเยา สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พยาว เปลี่ยนชื่อเป็น พะเยา และรวมอยู่กับจังหวัดเชียงรายจนในปี พ.ศ.2520 จึงได้รับ การจัดตั้งขึ้นเป็นจังหวัดพะเยา เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2520 ความเป็นมา จังหวัดพะเยา มีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมยาวนานกว่า 900ปีปรากฏหลักฐานด้าน โบราณคดีและ เอกสารบันทึกมากมายโดยเฉพาะจากการศึกษาค้นคว้าและรวบรวมอย่างต่อ เนื่องของพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ) วัดศรีโคมคาซึ่งได้สะท้อนให้เห็นถึงความ รุ่งเรืองที่เป็นอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของเมืองพะเยาอย่าง ชัดแจ้งพระอุบาลีคุณูปมาจารย์(ปวง ธมฺมปญฺโญ) วัดศรีโคมคาถือเป็นปราชญ์ท้องถิ่นต้นแบบ ของเมืองพะเยา ที่ทา งานด้านการศึกษาข้อมูลท้องถิ่นมีผลงานเขียน บันทึก รวบรวมหลักฐาน ไว้อย่างเป็นระบบและมากที่สุด ดังจะเห็นได้จากการจัดพิมพ์หนังสือเป็นเล่มและจัดสร้างหอ วัฒนธรรมนิทัศน์ ก่อคุณค่าและยังประโยชน์อเนก อนันต์ต่อคนรุ่นหลังได้เชื่อมต่อรากเหง้าทาง ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของตนเองอย่างเข้าใจและมีจิตสานึกในการ อนุรักษ์และพัฒนา ท้องถิ่นเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตามการรวบรวมข้อมูลและองค์ความรู้ท้องถิ่นของจังหวัดพะเยายังมี ความ จาเป็นที่จะต้องรวบรวมศึกษาค้นคว้าและวิจัยให้มีความต่อเนื่องและสามารถนามาปรับใช้ กับการพัฒนาท้องถิ่น ต่อไป ที่ผ่านมายังไม่มีบุคคล สถาบันการศึกษาหน่วยงานหรือองค์กรใด ทาหน้าที่ในด้านในอย่างจริงจัง นอกจากนี้ยังค้นพบว่ามีงานวิจัย เอกสารความรู้ ท้องถิ่น ข้อมูล ภาพถ่ายภาพเคลื่อนไหว เสียงอีกจานวน มากที่ผลิตจากบุคคลภายนอก แต่ยังไม่มีการเก็บ รวบรวมไว้เป็นเป็นระบบด้วยเหตุนี้ ในปี 2552 ตัวแทนนักวิชาการ นักพัฒนา นักธุรกิจสื่อมวลชน คณะสงฆ์ และศิษยานุศิษย์จึงปรึกษาหารือกันว่าทาอย่างไรจะสามารถต่อยอดความคิด และงานของพระ อุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ) วัดศรีโคมคา ในด้านที่เกี่ยวกับการเก็บ รวบรวมข้อมูล การ ศึกษาค้นคว้าและวิจัยองค์ความรู้ท้องถิ่นของจังหวัดพะเยาให้เกิดขึ้นและมีความต่อเนื่อง พร้อม ทั้งเผยแพร่องค์ความรู้ และนาไปใช้ประโยชน์ด้านการพัฒนาท้องถิ่นต่อไป ในโอกาสที่พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ) วัดศรีโคมคา ได้รับพระราชทาน สมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะรองสมเด็จพระราชา คณะชั้นหิรัญบัฎ และดุษฎีบัณฑิตจากสถาบัน การศึกษาหลายแห่ง และเพื่อเป็นการสืบทอดแนวคิดแนวทางในการ สร้างองค์ความรู้แก่ท้องถิ่น ทางคณะผู้ก่อตั้งเบื้องต้น จึงได้ตั้ง“สถาบันปวงผญาพยาว” ขึ้น เป้าหมาย การ จัดระบบองค์ความรู้และเครือข่ายพัฒนาท้องถิ่นโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลศึกษาค้นคว้าและวิจัยองค์ความรู้ท้องถิ่น
  • 19. 19 เผยแพร่ สื่อสารองค์ความรู้ท้องถิ่นสู่สาธารณะ และนาองค์ ความรู้นาไปใช้ประโยชน์ในการสร้างการเรียนรู้และ พัฒนาท้องถิ่นเมืองพะเยาและลุ่มน้าอิง-โขงยุทธศาสตร์การทางาน ระดับพื้นที่โดยการสร้างการเรียนรู้การพัฒนา ศักยภาพการให้การศึกษาการถอดองค์ ความรู้ร่วมกับชุมชนและองค์กรชุมชนเพื่อให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้และนาองค์ ความรู้ท้องถิ่น มาใช้การพัฒนาที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น ระดับพื้นที่สาธารณะโดยการสร้างให้เกิด เวทีการแลกเปลี่ยนรูปแบบต่างๆในประเด็น ต่างๆกับองค์กรและเครือข่ายต่างๆในจังหวัดพะเยาและลุ่มน้าอิงโขงเพื่อให้ สังคมเกิดการ เรียนรู้ และเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาตลอดจนผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับ นโยบาย ท้องถิ่น และนโยบายสาธารณะ ระดับนโยบายโดยการรวบรวม ติดตาม และให้ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น พะเยา และลุ่มนอิงโขงที่มีความสอดคล้องกับความต้องการและปัญหาของท้องถิ่นอย่างแท้จริง แผนการดาเนินงาน• แผนงานด้านศูนย์ข้อมูลความรู้ท้องถิ่น •แผนงานด้านการวิจัยท้องถิ่น•แผนงานด้านการมีส่วนร่วมประเด็น สาธารณะ•แผนงานด้านสื่อสารสาธารณะ แนวทางการทางานสื่อสาร 1.ศูนย์ข้อมูลท้องถิ่นรวบรวมงานวิจัย หนังสือ เอกสาร รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียมัลติมีเดียที่เกี่ยวข้อง กับจังหวัดพะเยา และลุ่มน้าอิง-โขงจัดทาให้เป็นระบบทั้งเก่าและใหม่พร้อมเปิดให้บริการค้นคว้าได้ 2.วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดพะเยและลุ่มน้าอิง-โขงเพื่อ นาไปสู่การกาหนด นโยบายและเปน็ทางออกสาหรับการแก้ป้ญัหาในประเดน็ต่างๆของท้องถิ่น 3.งานสื่อสารสาธารณะผลิตสื่อ รณรงค์ เผยแพร่องค์ความรู้ท้องถิ่นให้ง่ายต่อการเข้า ถึงในกลุ่มประชาชน และผู้สนใจตลอดจนเชื่อมต่อเครือข่ายสื่อต่างๆทั้งสื่อหนังสือพิมพ์วิทยุโทรทัศน์เว็บไซต์และสื่อทางเลือกอื่นๆ เพื่อ นาไปเผยแพร่ได้อย่างง่ายและถูกต้อง 4.เวทีสาธารณะ โดยการจัดเสวนาท้องถิ่น นิทรรศการองค์ความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นเพื่อ ให้เกิดการมีส่วนร่วมใน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุดประสบการณ์ด้านการพัฒนาท้องถิ่นร่วมกัน 5.งานเชิดชูผญาพยาว (คนเด่น) โดยการสนับสนุนและส่งเสริมบุคคลองค์กรเครือข่าย ประชาชนนักวิชาการ ที่ทางานวิจัยและค้นคว้าองค์ความรู้ในท้องถิ่นในรูปแบบที่เป็นวิชาการ และไม่เป็นวิชาการก็ได้โดยให้การสนับสนุนทั้ง ด้านเงินทุนจัดพิมพ์รูปเล่มหรืออื่นๆตลอด จนมอบรางวัล“ปวงพญาพยาว”อาทิผญาเมือง (ข้าราชการ/ผู้นาองค์กรท้องถิ่น) ผญาบ้าน (ปราชญ์ชาวบ้าน) ผญาละอ่อน (เยาวชน/คนรุ่นใหม่ที่มีผลงานด้านวิจัย/เขียนหนังสือ)ผญาแก่ (ผู้สูงอายุที่มีคุณค่าในชุมชน)ผญาแม่ญิง(ผู้หญิงที่มีบทบาทในงานพัฒนา)เป็นต้น 6.งานประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน องค์กรทั้งภาครัฐเอกชน ภาคประชาสังคม เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนา ท้องถิ่นพะเยา 7.งานจิตอาสา/อาสาสมัครโดยเปิดโอกาสให้คนทุกรุ่นทุกวัยที่มีหัวใจอาสามาพัฒนา ท้องถิ่นพะเยาร่วมกับ สถาบันฯในรูปแบบต่างๆตามความสนใจ โดยใช้ความสามารถทักษะของ ตนเองที่มีอยู่มาทาให้เกิดประโยชน์แก่ ท้องถิ่นและประสานงานเครือข่าย จังหวัดพะเยา มีประชากร 484,454 คน รายได้เฉลี่ย 10.30 บาท/คน/ปี ทีวี 136,274 เครื่อง 96% ครัวเรือน และมีเฉลี่ยค่ารับชมเครื่องละ 36.69 บาท / ปี
  • 20. 20 ดูงานการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตเหมืองแม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง ปี 2535 ปัญหาในอดีตมีการปล่อยสารพิษทาให้หมู่บ้านใกล้ๆเคียงได้รผลกระทบจาก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแม่เมาะ และผู้ใหญ่ไม่ยอมรับความผิดพลาดจากการปล่อยสารพิษ ปัจจุบันต้องรักษาสภาพแวดล้อมไม่ให้เกิดขึ้นกับประชาชน บริเวณรอบและใกล้เคียงกับโรงไฟฟ้าฝ่ายผลิดแม่เมาะ ได้รับบทเรียนและแก้ไขปัญหา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแม่เมาะต้องทาแผนพัฒนา ป้องกันแต่แรกไม่ใช่เกิดปัญหาจากมลพิษแล้วถึงมาแก้ไขและ จะต้องให้ประชาชนรอบๆร่วมกันป้องกัน ต้องใช้ศิลปะมากกว่าศาสตร์ หากมีการชุมนุมประท้วงจากผลกระทบ ส่วน ใหญ่แกนนาจะได้รับผลประโยชน์มากกว่าประชาชนที่ได้รับความเสียหาย ดังนั้นการไฟฟ้าฝ่ายลิตแม่เมาะต้อง ประชาสัมพันธ์และการพัฒนาแก้ไขโดยคานึงถึงสาธารณะมากกว่าผลประโยชน์ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต
  • 21. 21 บรรณานุกรม เอกสารแผ่นพับ เอกสารแผ่นพับ,โครงการชาติพันธุ์อาสาเพื่อการพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อม,มูลนิธิพัฒนาชุมชนและเขตภูเขา (พชภ.), จานวน1,000 เล่ม,25 มิ.ย.2557,วนิดาการพิมพ์ เชียงของ หนึ่งเมืองสองแบบ (กรียซิตี้ Green City) ,แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองเชียงของอย่างมีดุลภาพและยั่งยืน ,ฉบับที่ 1 :หนึ่งเมืองสองแบบ พ.ศ.2558-2562 รู้จักพันธุ์ปลา แม่น้าโขง พรมแดนไทย-ลาว ตอนบน,งานวิจัยจาวบ้าน เชียงของ-เวียงแก่น,สถาบันองค์ความรู้ท้องถิ่นโฮง เฮียนแม่น้าโขง,วนิดาการพิมพ์ พะเยา,กอบคาการพิมพ์