SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
กระบวนการสันติภาพ
พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อำนวยกำรสำนักสันติวิธีและธรรมำภิบำล
สถำบันพระปกเกล้ำ
ekkachais@hotmail.com
www.elifesara.com
แนวทางสู่สันติภาพ
 ประสบการณ์ในประเทศต่างๆ
 กระบวนการและวิธีการ
 Road Map-Peace Process-Peace
Movement-Peace Maker
2
กรณีศึกษา 10 ประเทศ
 South Korea
 Aceh Indonesia
 North Ireland
 The Kingdom of Morocco
 Federal Republic of Germany
 Republic of Columbia
 Rwanda
 Chile
 South Africa
 Plurinational State of Bolivia 3
แนวทางสันติภาพแต่ละพื้นที่จะมีอัตลักษณ์เป็นของตัวเอง
- ความขัดแย้ง - เรื้อรังยาวนาน - มองไม่เห็นทางออก
Road Map
ทราบทิศทาง
ใครทาอะไร
ที่ไหน
อย่างไร
ระยะเวลา
ก่อนมีข้อตกลง
Peace Dialogued
Peace Talks
Road
Map
การมีทิศทางเดินที่เป็นรูปธรรม
โดยธรรมชาติจะมีการช่วงชิงการนา
ใครเสนอ RM ก่อนจะเป็นฝ่ายรุก/คุมเกมได้
ประเทศเพื่อนบ้านที่คนกลุ่มน้อย
ยื่น RM แล้วจึงพูดคุยเจรจา
เมื่อไม่มีข้อตกลง
ใครสร้าง Road Map 3 แนวทาง
1.เริ่มจากบุคคลที่ 3 เป็นคนนอกที่ไม่ใช่คู่ขัดแย้งเสนอ
2.คู่ขัดแย้ง/กลุ่มต่อต้านต่างเสนอแนวทาง Peace
Dialogues/Peace Talks
3.ภาคประชาสังคมเสนอ เช่น ปัจจุบันกลุ่ม IPP
แบบที่ 3 เป็นแบบที่ภาคประชาสังคมมีความเข้มแข็ง
เป็นเรื่องยากอาจไม่ประสบความสาเร็จ แต่ไม่ล้มเหลว
เพราะยังไม่ได้เริ่มต้น RM ยังใช้ความรุนแรง 2 ฝ่าย
สถิติกำรใช้ RM
• พื้นที่ขัดแย้ง 104 แห่งทั่วโลกมี 41 แห่งที่ยุติลงได้ด้วยกำรตกลง
สันติภำพ
• ใน 50% ของ 41 แห่ง มีกำรใช้ RM
• ในพื้นที่ 9 แห่งที่พยำยำมเข้ำสู่กำรแก้ไขปัญหำมี 4 แห่งที่ยุติด้วย
กำรใช้กำลังทำงทหำร
• อีก 50 แห่งยังไม่มีทำงออกสู่สันติภำพ *ภำคใต้เป็นแบบนี้
สามารถยุติได้ด้วยการหาจุดร่วมที่ทั้ง 2 ฝ่ายให้ความสนใจ
เหมือนกันคือไม่ให้มีความรุนแรง
มีการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมาย สังคม และเศรษฐกิจนาไปสู่
ความเป็นธรรม หรือมีความยุติธรรมเกิดขึ้น
อีกฝ่ายจะเรียกร้องต้องการ “ยุติความรุนแรง” แต่อีกฝ่าย
ต้องการ“ความเป็นธรรมหรือความยุติธรรม/มีเสรีภาพใน
สังคม” นี่เป็นจุดยืนที่ต่างกัน
“ ต้องหาจุดสนใจร่วมกัน จะช่วยได้ถ้ามี RM
การจะทำให้เกิดควำมมั่นใจ/ควำมไว้เนื้อเชื่อใจระหว่ำงกันได้ก็ด้วยมี
คณะกรรมกำรแสวงหำควำมจริง(National Commission for Truth and
Reconciliation)”
สันติภาพเชิงบวก
ในช่วงการเดินทางสู่เส้นทางสันติภาพ
หลายๆประเทศในโลกเมื่อสันติภาพเริ่มต้น ความรุนแรง
ก็เพิ่มขึ้นไปด้วย จะไม่น้อยลงจากเดิม
• South Africa ช่วง 3 ปีแรก รุนแรงเพิ่มเป็น 3 เท่า แต่ Peace
Process ยังเดินต่อไป
• กรณีอินเดีย ต้องอดทน ยืนหยัดอยู่ใน RM 3 ปี มาลดลงใน
ปีที่ 4
• การต้องการลดความรุนแรง เป็นความคาดหวังที่ไม่
เป็นความจริง จากประสบการณ์ประเทศต่างๆทั่วโลก
ข้อ 1 เพื่อให้สังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัยและปกติสุข
ภายใต้หลักยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” และ
“ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
ข้อ 2 เพื่อขจัด และป้องกันไม่ให้เกิดเงื่อนไขที่หล่อเลี้ยงและเอื้อต่อการ
ใช้ความรุนแรงจากทุกฝ่าย
ข้อ 3 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ และฟื้นคืนความไว้วางใจระหว่างรัฐ
กับประชาชน และระหว่างประชาชนด้วยกัน ให้เกิดความร่วมมือใน
การพร้อมเผชิญปัญหาร่วมกัน
10
วัตถุประสงค์นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ (พ.ศ. 2555 – 2557)
วัตถุประสงค์นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ (พ.ศ. 2555 – 2557)
ข้อ 4 เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่
เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่กระจายตัวอย่างเท่าเทียมในทุก
ระดับ ตรงกับความต้องการ ไม่ทาลายอัตลักษณ์ และวิถีชีวิตของ
ประชาชน ตลอดจนมีผลต่อการสนับสนุนการแก้ไขปัญหาความมั่นคง
ข้อ 5 เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้และสร้างความตระหนักในคุณค่าของการอยู่
ร่วมกันภายใต้ความหลากหลายของวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
ข้อ 6 เพื่อให้สังคมไทยเกิดการรับรู้ มีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เป็นจริง
และตระหนักถึงความรับผิดชอบร่วมกันในการแก้ไขปัญหาจังหวัด
ชายแดนภาคใต้
วัตถุประสงค์นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ (พ.ศ. 2555 – 2557)
ข้อ 7 เพื่อให้สังคมภายนอกประเทศให้การสนับสนุนและมีบทบาทเกื้อกูล
การแก้ไขปัญหา
ข้อ 8 เพื่อสร้างสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมและเอื้อต่อการพูดคุยใน
การแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งและการให้หลักประกันใน
การเข้ามามีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน
กระบวนการเสริมสร้างสันติภาพ
ข้อ 9 เพื่อให้การดาเนินนโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดน
ภาคใต้เป็นไปอย่างมีระบบ มีเอกภาพ มีประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมจากทุก
ภาคส่วนและวางอยู่บนข้อมูลที่ถูกต้องและรอบด้าน
29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
1.พื้นที่เศรษฐกิจในเมืองสาคัญ และสถานที่ชุมชนสาธารณะ ปลอดพ้น
จากเหตุการณ์รุนแรง
2.หมู่บ้าน/ชุมชนที่เป็นพื้นที่เขตอิทธิพลของกลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรง ลด
จานวนลงในพื้นที่เดิม และไม่เพิ่มในพื้นที่ใหม่
3.ศาสนสถาน ศาสนบุคคล และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการ
คุ้มครอง ปลอดพ้นจากเหตุรุนแรง
4.เจ้าหน้าที่รัฐทุกฝ่ายปฏิบัติอยู่ในกรอบของกฎหมาย และผู้กระทาผิดไม่
ว่าจะเป็นฝ่ายใด ต้องเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียม
5.คดีหรือเหตุการณ์ที่เป็นข้อสงสัยของประชาชน และต่างประเทศ ได้รับ
การเร่งรัดและนาเข้าสู่กระบวนการตรวจสอบโดยทันที 13
29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
6.การดาเนินคดีความมั่นคง มีประสิทธิภาพ ทั้งกระบวนการรวบรวมพยาน
หลักฐานที่รัดกุมและโปร่งใส ผู้ต้องหาได้รับการคุ้มครองสิทธิตามกฎหมาย
7.กระบวนการยุติธรรมทางเลือกได้รับการสนับสนุนโดยให้ผู้เสียหายหรือผู้ต้องหา
และชุมชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการคลี่คลายความขัดแย้ง
8.ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบที่ได้รับการเยียวยาด้วยกระบวน
การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นรวมทั้งลดเงื่อนไขการใช้
ความรุนแรงตลอดจนสร้างความ ไว้วางใจ
9.ประชาชนมีความเข้าใจสถานการณ์ที่เป็นจริงในพื้นที่ผ่านเวทีการสื่อสารที่ส่งเสริม
การพูดคุยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
10.จานวนกลุ่มเป้าหมายมีองค์ความรู้เกี่ยวกับแนวทางและทักษะการจัดการความ
ขัดแย้งโดยสันติวิธี 14
29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
11.การลงทุนภาครัฐและเอกชนเป็นไปอย่างต่อเนื่องมั่นคงสอดคล้องกับ
ศักยภาพของพื้นที่ วิถีชีวิต ความต้องการของปชช. และมีผลต่อการ
สร้างอาชีพและการกระจายรายได้ที่ทั่วถึงให้กับประชาชน ส่งผลให้
อัตราการว่างงานในระดับหมู่บ้านลดลงอย่างต่อเนื่อง
12.พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบโลจิสติกส์ เทคโนโลยี ศักยภาพแรงงาน
ทั้งต้นน้า ปลายน้า ครอบคลุมทั้งพื้นที่ในประเทศและรอยต่อกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน
13.สถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชนได้รับการพัฒนาคุณภาพของ
หลักสูตรการ ศึกษาและครูทั้งสายสามัญและศาสนาอย่าง
ครบถ้วน ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาเทียบเท่ามาตรฐานกลางของ
ประเทศ
15
29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
14.เด็ก เยาวชน และผู้ที่อยู่นอกระบบการศึกษาได้รับความรู้ การเพิ่ม
ทักษะการประกอบอาชีพ โดยพัฒนา/สร้างแหล่งเรียนรู้และ
สนับสนุนระบบการศึกษานอกโรงเรียน
15.ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงได้รับหลักประกันการมีสิทธิในการใช้
ประโยชน์ จากที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นเพื่อการดารง
ชีพและการสร้างรายได้ ที่พอเพียงได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
16.ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขและการพัฒนาคุณภาพชีวิต
อย่างเต็มประสิทธิภาพประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย ปฏิบัติตาม
ประเพณีและศาสนา
16
29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
 17.เป็นพลังสร้างสรรค์สังคมพหุวัฒนธรรมและเป็นที่ยอมรับของ
สังคมทั้งภายนอกและภายใน
 18.การฟื้นฟู อนุรักษ์ รักษาอัตลักษณ์ทางภาษา ศิลปะ และ
วัฒนธรรม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่มี
เพิ่มขึ้น
 19.เด็กและเยาวชน มีความรู้ภาษาไทย ภาษามลายู ภาษามลายูถิ่น
ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในทุกระดับการศึกษา
 20.ผู้นาศาสนา ผู้นาชุมชน นักการศึกษา มีบทบาทในการพัฒนา
และแก้ไขปัญหาในชุมชนเพิ่มขึ้น
17
29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
 21.ประชาชนได้รับข้อมูลสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างรอบด้านและ
เป็นจริง และตระหนักถึงความรับผิดชอบร่วมกันในการแก้ไขปัญหา
ในเชิงสร้างสรรค์
 22.ประเด็นปัญหา จชต. ไม่ถูกหยิบยกเป็นวาระระหว่างประเทศ
อาทิ เวทีขององค์การความร่วมมืออิสลาม (OIC) และ
สหประชาชาติ
 23.ประชาชนในโลกมุสลิมและต่างประเทศมีความเข้าใจและ
สนับสนุนการพัฒนา รวมทั้งแก้ไขปัญหาในพื้นที่ โดยอาศัยความ
ร่วมมือของประชาคมอาเซียนและกิจการฮัจญ์
18
 24.หน่วยงานของรัฐมีประสิทธิภาพในการอานวยความสะดวกการ
จัดพื้นที่และ กระบวนการสื่อสาร พูดคุย เพื่อลดและป้องกันการ
ขยายตัวของความขัดแย้งระหว่างรัฐกับประชาชนและระหว่าง
ประเทศกับประชาชนเพิ่มขึ้น
 25.จานวนเวทีส่งเสริมสนับสนุนกระบวนการพูดคุยระหว่างผู้ที่มี
ส่วนได้ส่วน เสียในการแสวงหารูปแบบการกระจายอานาจที่
สนับสนุนให้ท้องถิ่นมีบทบาทและส่วน ร่วมที่สอดคล้องกับบริบท
ของพื้นที่และอยู่ในกรอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทยมีมาก
ขึ้น
19
29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
 26.ผู้มีความคิด ความเชื่อ อุดมการณ์ต่างจากรัฐ มีส่วนร่วมใน
กระบวนการพูดคุยเพื่อสันติภาพที่ได้รับการมอบหมายจากรัฐบาล
ได้ รับหลักประกันความปลอดภัยจากรัฐอย่างทั่วถึง
 27.กลไกขับเคลื่อนการนานโยบายและยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ
ดาเนินงานอย่างเป็นเอกภาพและมีประสิทธิภาพ
 28.ประชาชนมีส่วนร่วมในการนานโยบายยุทธศาสตร์ไปสู่การ
ปฏิบัติและการติดตามประเมินผล
 29.เจ้าหน้าที่ทุกระดับต้องมีความเข้าใจนโยบายและยุทธศาสตร์ไป
ในทิศทางเดียวกัน
20
29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
การ แพ้ชนะ ด้วยสงคราม
นาไปสู่ความขัดแย้งที่ไม่สิ้นสุด
สันติวิธี ทาให้เกิด ความสงบและความ
สมานฉันท์ จะเกิดความพอใจร่วมกัน

More Related Content

Similar to 1 peace process southern thailand

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanvorravan
 
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-542552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54ps-most
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and aseanTeeranan
 
Deliberative democracy public
Deliberative democracy publicDeliberative democracy public
Deliberative democracy publicKan Yuenyong
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนTeeranan
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 

Similar to 1 peace process southern thailand (20)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-542552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
ขอบคุณครับ ขอบคุณ
ขอบคุณครับ ขอบคุณขอบคุณครับ ขอบคุณ
ขอบคุณครับ ขอบคุณ
 
Deliberative democracy public
Deliberative democracy publicDeliberative democracy public
Deliberative democracy public
 
งานสำคัญ
งานสำคัญงานสำคัญ
งานสำคัญ
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
1111
11111111
1111
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
06 ตอนที่ 2 หน่วย 5
06 ตอนที่ 2 หน่วย 506 ตอนที่ 2 หน่วย 5
06 ตอนที่ 2 หน่วย 5
 
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
88
8888
88
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

1 peace process southern thailand

  • 3. กรณีศึกษา 10 ประเทศ  South Korea  Aceh Indonesia  North Ireland  The Kingdom of Morocco  Federal Republic of Germany  Republic of Columbia  Rwanda  Chile  South Africa  Plurinational State of Bolivia 3
  • 4. แนวทางสันติภาพแต่ละพื้นที่จะมีอัตลักษณ์เป็นของตัวเอง - ความขัดแย้ง - เรื้อรังยาวนาน - มองไม่เห็นทางออก Road Map ทราบทิศทาง ใครทาอะไร ที่ไหน อย่างไร ระยะเวลา ก่อนมีข้อตกลง Peace Dialogued Peace Talks
  • 6. ใครสร้าง Road Map 3 แนวทาง 1.เริ่มจากบุคคลที่ 3 เป็นคนนอกที่ไม่ใช่คู่ขัดแย้งเสนอ 2.คู่ขัดแย้ง/กลุ่มต่อต้านต่างเสนอแนวทาง Peace Dialogues/Peace Talks 3.ภาคประชาสังคมเสนอ เช่น ปัจจุบันกลุ่ม IPP
  • 7. แบบที่ 3 เป็นแบบที่ภาคประชาสังคมมีความเข้มแข็ง เป็นเรื่องยากอาจไม่ประสบความสาเร็จ แต่ไม่ล้มเหลว เพราะยังไม่ได้เริ่มต้น RM ยังใช้ความรุนแรง 2 ฝ่าย สถิติกำรใช้ RM • พื้นที่ขัดแย้ง 104 แห่งทั่วโลกมี 41 แห่งที่ยุติลงได้ด้วยกำรตกลง สันติภำพ • ใน 50% ของ 41 แห่ง มีกำรใช้ RM • ในพื้นที่ 9 แห่งที่พยำยำมเข้ำสู่กำรแก้ไขปัญหำมี 4 แห่งที่ยุติด้วย กำรใช้กำลังทำงทหำร • อีก 50 แห่งยังไม่มีทำงออกสู่สันติภำพ *ภำคใต้เป็นแบบนี้
  • 8. สามารถยุติได้ด้วยการหาจุดร่วมที่ทั้ง 2 ฝ่ายให้ความสนใจ เหมือนกันคือไม่ให้มีความรุนแรง มีการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมาย สังคม และเศรษฐกิจนาไปสู่ ความเป็นธรรม หรือมีความยุติธรรมเกิดขึ้น อีกฝ่ายจะเรียกร้องต้องการ “ยุติความรุนแรง” แต่อีกฝ่าย ต้องการ“ความเป็นธรรมหรือความยุติธรรม/มีเสรีภาพใน สังคม” นี่เป็นจุดยืนที่ต่างกัน “ ต้องหาจุดสนใจร่วมกัน จะช่วยได้ถ้ามี RM การจะทำให้เกิดควำมมั่นใจ/ควำมไว้เนื้อเชื่อใจระหว่ำงกันได้ก็ด้วยมี คณะกรรมกำรแสวงหำควำมจริง(National Commission for Truth and Reconciliation)” สันติภาพเชิงบวก
  • 9. ในช่วงการเดินทางสู่เส้นทางสันติภาพ หลายๆประเทศในโลกเมื่อสันติภาพเริ่มต้น ความรุนแรง ก็เพิ่มขึ้นไปด้วย จะไม่น้อยลงจากเดิม • South Africa ช่วง 3 ปีแรก รุนแรงเพิ่มเป็น 3 เท่า แต่ Peace Process ยังเดินต่อไป • กรณีอินเดีย ต้องอดทน ยืนหยัดอยู่ใน RM 3 ปี มาลดลงใน ปีที่ 4 • การต้องการลดความรุนแรง เป็นความคาดหวังที่ไม่ เป็นความจริง จากประสบการณ์ประเทศต่างๆทั่วโลก
  • 10. ข้อ 1 เพื่อให้สังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัยและปกติสุข ภายใต้หลักยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” และ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ข้อ 2 เพื่อขจัด และป้องกันไม่ให้เกิดเงื่อนไขที่หล่อเลี้ยงและเอื้อต่อการ ใช้ความรุนแรงจากทุกฝ่าย ข้อ 3 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ และฟื้นคืนความไว้วางใจระหว่างรัฐ กับประชาชน และระหว่างประชาชนด้วยกัน ให้เกิดความร่วมมือใน การพร้อมเผชิญปัญหาร่วมกัน 10 วัตถุประสงค์นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ (พ.ศ. 2555 – 2557)
  • 11. วัตถุประสงค์นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ (พ.ศ. 2555 – 2557) ข้อ 4 เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่กระจายตัวอย่างเท่าเทียมในทุก ระดับ ตรงกับความต้องการ ไม่ทาลายอัตลักษณ์ และวิถีชีวิตของ ประชาชน ตลอดจนมีผลต่อการสนับสนุนการแก้ไขปัญหาความมั่นคง ข้อ 5 เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้และสร้างความตระหนักในคุณค่าของการอยู่ ร่วมกันภายใต้ความหลากหลายของวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ข้อ 6 เพื่อให้สังคมไทยเกิดการรับรู้ มีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เป็นจริง และตระหนักถึงความรับผิดชอบร่วมกันในการแก้ไขปัญหาจังหวัด ชายแดนภาคใต้
  • 12. วัตถุประสงค์นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ (พ.ศ. 2555 – 2557) ข้อ 7 เพื่อให้สังคมภายนอกประเทศให้การสนับสนุนและมีบทบาทเกื้อกูล การแก้ไขปัญหา ข้อ 8 เพื่อสร้างสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมและเอื้อต่อการพูดคุยใน การแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งและการให้หลักประกันใน การเข้ามามีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน กระบวนการเสริมสร้างสันติภาพ ข้อ 9 เพื่อให้การดาเนินนโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดน ภาคใต้เป็นไปอย่างมีระบบ มีเอกภาพ มีประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมจากทุก ภาคส่วนและวางอยู่บนข้อมูลที่ถูกต้องและรอบด้าน
  • 13. 29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 1.พื้นที่เศรษฐกิจในเมืองสาคัญ และสถานที่ชุมชนสาธารณะ ปลอดพ้น จากเหตุการณ์รุนแรง 2.หมู่บ้าน/ชุมชนที่เป็นพื้นที่เขตอิทธิพลของกลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรง ลด จานวนลงในพื้นที่เดิม และไม่เพิ่มในพื้นที่ใหม่ 3.ศาสนสถาน ศาสนบุคคล และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการ คุ้มครอง ปลอดพ้นจากเหตุรุนแรง 4.เจ้าหน้าที่รัฐทุกฝ่ายปฏิบัติอยู่ในกรอบของกฎหมาย และผู้กระทาผิดไม่ ว่าจะเป็นฝ่ายใด ต้องเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียม 5.คดีหรือเหตุการณ์ที่เป็นข้อสงสัยของประชาชน และต่างประเทศ ได้รับ การเร่งรัดและนาเข้าสู่กระบวนการตรวจสอบโดยทันที 13
  • 14. 29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 6.การดาเนินคดีความมั่นคง มีประสิทธิภาพ ทั้งกระบวนการรวบรวมพยาน หลักฐานที่รัดกุมและโปร่งใส ผู้ต้องหาได้รับการคุ้มครองสิทธิตามกฎหมาย 7.กระบวนการยุติธรรมทางเลือกได้รับการสนับสนุนโดยให้ผู้เสียหายหรือผู้ต้องหา และชุมชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการคลี่คลายความขัดแย้ง 8.ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบที่ได้รับการเยียวยาด้วยกระบวน การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นรวมทั้งลดเงื่อนไขการใช้ ความรุนแรงตลอดจนสร้างความ ไว้วางใจ 9.ประชาชนมีความเข้าใจสถานการณ์ที่เป็นจริงในพื้นที่ผ่านเวทีการสื่อสารที่ส่งเสริม การพูดคุยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง 10.จานวนกลุ่มเป้าหมายมีองค์ความรู้เกี่ยวกับแนวทางและทักษะการจัดการความ ขัดแย้งโดยสันติวิธี 14
  • 15. 29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 11.การลงทุนภาครัฐและเอกชนเป็นไปอย่างต่อเนื่องมั่นคงสอดคล้องกับ ศักยภาพของพื้นที่ วิถีชีวิต ความต้องการของปชช. และมีผลต่อการ สร้างอาชีพและการกระจายรายได้ที่ทั่วถึงให้กับประชาชน ส่งผลให้ อัตราการว่างงานในระดับหมู่บ้านลดลงอย่างต่อเนื่อง 12.พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบโลจิสติกส์ เทคโนโลยี ศักยภาพแรงงาน ทั้งต้นน้า ปลายน้า ครอบคลุมทั้งพื้นที่ในประเทศและรอยต่อกับ ประเทศเพื่อนบ้าน 13.สถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชนได้รับการพัฒนาคุณภาพของ หลักสูตรการ ศึกษาและครูทั้งสายสามัญและศาสนาอย่าง ครบถ้วน ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาเทียบเท่ามาตรฐานกลางของ ประเทศ 15
  • 16. 29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 14.เด็ก เยาวชน และผู้ที่อยู่นอกระบบการศึกษาได้รับความรู้ การเพิ่ม ทักษะการประกอบอาชีพ โดยพัฒนา/สร้างแหล่งเรียนรู้และ สนับสนุนระบบการศึกษานอกโรงเรียน 15.ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงได้รับหลักประกันการมีสิทธิในการใช้ ประโยชน์ จากที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นเพื่อการดารง ชีพและการสร้างรายได้ ที่พอเพียงได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย 16.ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขและการพัฒนาคุณภาพชีวิต อย่างเต็มประสิทธิภาพประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย ปฏิบัติตาม ประเพณีและศาสนา 16
  • 17. 29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้  17.เป็นพลังสร้างสรรค์สังคมพหุวัฒนธรรมและเป็นที่ยอมรับของ สังคมทั้งภายนอกและภายใน  18.การฟื้นฟู อนุรักษ์ รักษาอัตลักษณ์ทางภาษา ศิลปะ และ วัฒนธรรม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่มี เพิ่มขึ้น  19.เด็กและเยาวชน มีความรู้ภาษาไทย ภาษามลายู ภาษามลายูถิ่น ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในทุกระดับการศึกษา  20.ผู้นาศาสนา ผู้นาชุมชน นักการศึกษา มีบทบาทในการพัฒนา และแก้ไขปัญหาในชุมชนเพิ่มขึ้น 17
  • 18. 29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้  21.ประชาชนได้รับข้อมูลสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างรอบด้านและ เป็นจริง และตระหนักถึงความรับผิดชอบร่วมกันในการแก้ไขปัญหา ในเชิงสร้างสรรค์  22.ประเด็นปัญหา จชต. ไม่ถูกหยิบยกเป็นวาระระหว่างประเทศ อาทิ เวทีขององค์การความร่วมมืออิสลาม (OIC) และ สหประชาชาติ  23.ประชาชนในโลกมุสลิมและต่างประเทศมีความเข้าใจและ สนับสนุนการพัฒนา รวมทั้งแก้ไขปัญหาในพื้นที่ โดยอาศัยความ ร่วมมือของประชาคมอาเซียนและกิจการฮัจญ์ 18
  • 19.  24.หน่วยงานของรัฐมีประสิทธิภาพในการอานวยความสะดวกการ จัดพื้นที่และ กระบวนการสื่อสาร พูดคุย เพื่อลดและป้องกันการ ขยายตัวของความขัดแย้งระหว่างรัฐกับประชาชนและระหว่าง ประเทศกับประชาชนเพิ่มขึ้น  25.จานวนเวทีส่งเสริมสนับสนุนกระบวนการพูดคุยระหว่างผู้ที่มี ส่วนได้ส่วน เสียในการแสวงหารูปแบบการกระจายอานาจที่ สนับสนุนให้ท้องถิ่นมีบทบาทและส่วน ร่วมที่สอดคล้องกับบริบท ของพื้นที่และอยู่ในกรอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทยมีมาก ขึ้น 19 29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
  • 20.  26.ผู้มีความคิด ความเชื่อ อุดมการณ์ต่างจากรัฐ มีส่วนร่วมใน กระบวนการพูดคุยเพื่อสันติภาพที่ได้รับการมอบหมายจากรัฐบาล ได้ รับหลักประกันความปลอดภัยจากรัฐอย่างทั่วถึง  27.กลไกขับเคลื่อนการนานโยบายและยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ดาเนินงานอย่างเป็นเอกภาพและมีประสิทธิภาพ  28.ประชาชนมีส่วนร่วมในการนานโยบายยุทธศาสตร์ไปสู่การ ปฏิบัติและการติดตามประเมินผล  29.เจ้าหน้าที่ทุกระดับต้องมีความเข้าใจนโยบายและยุทธศาสตร์ไป ในทิศทางเดียวกัน 20 29 เป้าหมายยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
  • 21. การ แพ้ชนะ ด้วยสงคราม นาไปสู่ความขัดแย้งที่ไม่สิ้นสุด สันติวิธี ทาให้เกิด ความสงบและความ สมานฉันท์ จะเกิดความพอใจร่วมกัน