SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
1
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
2
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
3
โครงงานคอมพิวเตอร์ หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระ
ในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา
พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่อง
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน
เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่
นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่อง
ดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การ
พัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมาย
สาคัญของการทาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงใน
การใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้
คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการ
พัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนา
ความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์
และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
4
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ดาเนินงานโดยนักเรียน เป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์และครูอาจารย์ เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษามีองค์ประกอบดังนี้
1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวยตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงาน
นั้นๆ หรือจากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว
2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นกลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็นภาคเรียน หรือมากว่าก็ได้
แล้วแต่โครงงานเล็กหรือใหญ่
3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเองตามความถนัด สนใจ และ
ความพร้อม
4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผนปฏิบัติงานและการแปลผล รายงานผลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา
เพื่อดาเนินงานร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กาหนดไว้
5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักเรียนตามวัยและสติปัญญา รวมทั้งการใช้จ่ายเงินดาเนินงานด้วย
Paste your logo here Make your own summer
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
6
คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์จึง
มีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรม และลักษณะของประโยชน์
หรือผลงานที่ได้ จึงเป็นการพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้
หลากหลาย ซึ่งสามารถแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)
5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
7
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียน
หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม
ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่อง
คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียน
แบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ
โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนา
โปรแกรมบทเรียน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรม
แบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
8
2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นใน
รูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน
ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้าง
ขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ บน
เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถนาไปใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย
สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ
เช่น โปรแกรมประเภท 3D
9
3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้อง
ศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการ
ศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือ
คาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มี
จุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหล
ของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น
10
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน(Application)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์
สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็น
ต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะ
สร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้อง
ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ
ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความ
สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และ
เครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วิธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย
11
5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกม
การคานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ
โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้
สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามา
ปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้ป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ
12
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
13
1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
หัวข้อส่วนใหญ่ที่นามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา
คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่าง ๆ การสังเกตต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือ
สิ่งต่าง ๆ รอบตัว
ปัญหาที่นามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์นั้นได้จากแหล่งที่ต่างกัน ได้แก่ การ
อ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่าง ๆ การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่าง
ๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการทางวิทยุและโทรทัศน์ ข้อมูลข่าวสารจากอินเทอร์เน็ต
รวมทั้งการสนทนา อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่น ๆ
กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน งานอดิเรกของนักเรียน การเข้าชมงานนิทรรศการหรือ
งานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
14
2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาจากเอกสารและแหล่งข้อมูล รวมถึงการขอความปรึกษาจาก
ผู้ทรงคุณวุฒิจะช่วยให้เกิดแนวคิดในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจง
มากยิ่งขึ้นและได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษา จนสามารถใช้ออกแบบและการวางแผน
ดาเนินการทาโครงงานได้อย่างเหมาะสม
ในการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูลจะต้องได้คาตอบว่า จะทาอะไร
ทาไมต้องทา ต้องการให้เกิดอะไร ทาอย่างไร ใช้ทรัพยากรอะไร ทากับใคร และจะเสนอ
ผลงานอย่างไร
15
3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานเป็นการจัดทาเค้าโครงของโครงงานเพื่อเสนอครูที่ปรึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
3.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิง และรวบรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ
3.2 วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงงานที่จะพัฒนา
3.3 ออกแบบการพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และตัวแปลภาษาโปรแกรม และ
อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ต้องใช้
3.4 กาหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน ลงมือทาโครงงานและสรุปรายงานโครงงาน โดย
กาหนดช่วงเวลาอย่างกว้าง
3.5 ทาการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทาการพัฒนาส่วนย่อย ๆ บางส่วน
ตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว นาผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมมาก
ยิ่งขึ้น
3.6 เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่อครูที่ปรึกษา เพื่อขอคาแนะนาปรับปรุงแก้ไข เพราะในการวางแผน
การศึกษา ความคิดของนักเรียนอาจจะไม่ครอบคลุมทุกด้านเนื่องจากยังขาดประสบการณ์ จึงควรถ่ายทอดความคิดที่ได้
ศึกษาและบันทึกไว้ให้ครูทราบเพื่อรับคาแนะนา และนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์
16
เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเอกสารอ้างอิงต่าง ๆ และเลือกเรื่องที่จะทาโครงงานคอมพิวเตอร์รวมทั้งวางแผนการทาโครงงาน
ทุกขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว จึงทาการเขียนเค้าโครงของโครงงานเพื่อใช้เป็นกรอบแนวคิดและแนวทางในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
นอกจากจะต้องใช้หลักการทางวิชาการในการวางแผนทาโครงงานแล้ว ยังต้องมีข้อตกลงและเงื่อนไขต่าง ๆ เช่น
การขออนุญาตใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ การจัดหาซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ เครื่องมือและตัวแปลภาษาโปรแกรม เพื่อช่วยให้การ
ทาโครงงานดาเนินไปอย่างราบรื่น โดยมีองค์ประกอบเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ ดังนี้
1. ชื่อโครงงาน ต้องสื่อว่าทาอะไรกับใคร เพื่ออะไร เช่น โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
2. ชื่อผู้จัดทา ระบุถึงผู้รับผิดชอบโครงงานอาจเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคลก็ได้
3. ครูที่ปรึกษา ระบุชื่อ สกุลของครูที่ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาควบคุมการทาโครงงานของนักเรียน
4. ระยะเวลาดาเนินงาน ให้ระบุเวลาตั้งแต่เริ่มทาโดยใช้ซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบริหารจัดการเพื่อใช้วางแผนควบคุมการทางาน
5. แนวคิด ที่มา อธิบายถึงสาเหตุที่เลือกทาโครงงาน กล่าวถึงความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล
6. วัตถุประสงค์ ระบุสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานนี้ในเชิงกระบวนการและผลลัพธ์ที่ได้
7. หลักการทฤษฎี อธิบายหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องที่นามาใช้ในโครงงาน
8. วิธีดาเนินงาน กล่าวถึงกิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน
9. ขั้นตอนปฏิบัติ กล่าวถึงวันเวลาและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้น
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระบุถึงสภาพของผลที่ต้องการให้เกิด รวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น
11. เอกสารอ้างอิง ระบุชื่อเอกสารข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่าง ๆ ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน
17
4. การพัฒนาโครงงาน
เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบของครูที่ปรึกษาแล้ว ขั้นตอนต่อไปจึงเป็นการลงมือพัฒนาโครงงานตามขั้นตอนที่วางไว้ ขณะเดียวกันต้องมีการทดสอบ ตรวจสอบ
ปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาโครงงานเป็นระยะ ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นนั้น ทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมายและเกิดประสิทธิภาพตาม
ขั้นตอนดังนี้
4.1 การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และวัสดุอื่น ๆ ที่ใช้ในการพัฒนาให้พร้อมและควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบ
คอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ การดาเนินการเป็นอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่าง
ๆ ที่พบ
4.2 การลงมือพัฒนา เป็นการปฏิบัติตามแผนที่วาง ไว้ในเค้าโครง ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ หากพบว่าจะช่วยทาให้ผลงานพัฒนาได้ดีขึ้น โดยจัดระบบการทางาน
โดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้เสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริม เพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทาให้ตกลงรายละเอียด
ในการเชื่อมต่อชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย รวมทั้งต้องพัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ บันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบและครบถ้วน
4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น ทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมายและมี
ประสิทธิภาพ
4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดครอบคลุมหัวข้อโครงงาน เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจาก
การทาโครงงานและทาการอภิปรายผล เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนา
หลักการ ทฤษฎีหรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้
4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็น
ข้อเสนอแนะสาหรับผู้สนใจจะนาไปพัฒนาผลงานให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
18
5. การเขียนรายงานโครงงาน
การเขียนรายงานโครงงาน เป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจความคิด วิธีการดาเนินการศึกษา
ค้นคว้าหาข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น โดยในการเขียนรายงานนั้น ควรใช้
ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ ตรงไปตรงมา รวมทั้งให้ผู้จัดทาคู่มือการใช้งาน ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้
5.1 ชื่อโครงงาน
5.2 ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้กับโครงงานนั้น
5.3 ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่จะให้โครงงานนั้นทางานได้อย่าง
สมบูรณ์
5.4 คุณลักษณะของโครงงาน ซึ่งอธิบายว่าผลงานนั้นทาหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้า และอะไรที่ออกมาเป็น
ข้อมูลขาออก
5.5 วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทางานในฟังก์ชั่นหนึ่ง ๆ
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
เป็นขั้นตอนสุดท้ายหลังจากการพัฒนาโครงงานเสร็จเรียบร้อยตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดย
เป็นการนาเสนอรายงานสรุปผลการดาเนินการในการจัดทาโครงงาน และโปรแกรมที่ได้พัฒนาขึ้นมาให้กับคณะกรรมการ
และผู้เกี่ยวข้องของโครงงานนั้น จึงจัดเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลผลิต
ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น
19
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
20
1. ชื่อโครงงาน _______________________________________________________________________________________
2. ประเภทโครงงาน ___________________________________________________________________________________
3. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
1) ________________________________________________________________________
2) ________________________________________________________________________
3) ________________________________________________________________________
4) ________________________________________________________________________
5) ________________________________________________________________________
4. ครูที่ปรึกษาโครงงาน ________________________________________________________________________________
5. ครูที่ปรึกษาร่วม ____________________________________________________________________________________
21
6. ระยะเวลาดาเนินงาน _________________________________________________________________________________
7. แนวคิด ที่มา และความสาคัญ
_______________________________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________________________
8. วัตถุประสงค์
1) ________________________________________________________________________________________
2) ________________________________________________________________________________________
3) ________________________________________________________________________________________
9. หลักการและทฤษฎี
_______________________________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________________________
22
ขั้นตอนการดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ
10. วิธีดาเนินงาน
วัน/เดือน/ปี กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ
11. ขั้นตอนการปฏิบัติ
23
12. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ________________________________________________________________________________________
2) ________________________________________________________________________________________
3) ________________________________________________________________________________________
13. เอกสารอ้างอิง
1) ________________________________________________________________________________________
2) ________________________________________________________________________________________
3) ________________________________________________________________________________________
4) ________________________________________________________________________________________
14. ผลการพิจารณาโครงงาน
o อนุมัติ o ควรปรับปรุง
Paste your logo here Make your own summer
ตัวอย่างการเขียนแบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
25
26
27
อ้างอิง
https://sites.google.com/a/kts.ac.th/it_kts/unit5/subunit5-1
http://ortocus0138yrc.blogspot.com/2015/08/blog-post_26.html
http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-
Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject/workshop.html

More Related Content

What's hot

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Yamroll Yam
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
buntitaoopifif
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Plai Plaifah
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
buntitaoopifif
 

What's hot (20)

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
Com2com
Com2comCom2com
Com2com
 
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation computer project
Presentation computer projectPresentation computer project
Presentation computer project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เลขที่ 5,27
โครงงานคอมพิวเตอร์เลขที่ 5,27โครงงานคอมพิวเตอร์เลขที่ 5,27
โครงงานคอมพิวเตอร์เลขที่ 5,27
 
Polly pele
Polly pelePolly pele
Polly pele
 
Presentation607.45
Presentation607.45Presentation607.45
Presentation607.45
 
Comp2 4
Comp2 4Comp2 4
Comp2 4
 
Comp2 4
Comp2 4Comp2 4
Comp2 4
 
กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1
 
Nightice612
Nightice612Nightice612
Nightice612
 
Night2
Night2Night2
Night2
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Phuwanon22
Phuwanon22Phuwanon22
Phuwanon22
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
กิจกรรม 3
กิจกรรม 3กิจกรรม 3
กิจกรรม 3
 
กิจกรรมที่ 2-609
กิจกรรมที่ 2-609กิจกรรมที่ 2-609
กิจกรรมที่ 2-609
 

Similar to Computer presentation

ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
Chanya Sangsuwanlert
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Nam Janejira
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
kwaxz96_
 
ความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงาน
kwaxz96_
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Buntharee Setapongsat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Buntharee Setapongsat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์.Pdf
โครงงานคอมพิวเตอร์.Pdfโครงงานคอมพิวเตอร์.Pdf
โครงงานคอมพิวเตอร์.Pdf
Buntharee Setapongsat
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
Preeyaporn Wannamanee
 

Similar to Computer presentation (20)

ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Comproject
ComprojectComproject
Comproject
 
Com
ComCom
Com
 
Pamika Suksaimuang
Pamika  SuksaimuangPamika  Suksaimuang
Pamika Suksaimuang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงาน
 
โครงงานคืออะไร?
โครงงานคืออะไร?โครงงานคืออะไร?
โครงงานคืออะไร?
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์.Pdf
โครงงานคอมพิวเตอร์.Pdfโครงงานคอมพิวเตอร์.Pdf
โครงงานคอมพิวเตอร์.Pdf
 
Work1 28 41
Work1 28 41Work1 28 41
Work1 28 41
 
กิจกรรมที่2-3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2-3 โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่2-3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2-3 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Im gay
Im gayIm gay
Im gay
 
cpt
cptcpt
cpt
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Computer presentation

  • 3. 3 โครงงานคอมพิวเตอร์ หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระ ในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่อง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่ นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่อง ดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การ พัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมาย สาคัญของการทาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงใน การใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้ คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการ พัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนา ความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
  • 4. 4 ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ ดาเนินงานโดยนักเรียน เป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์และครูอาจารย์ เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษามีองค์ประกอบดังนี้ 1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวยตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงาน นั้นๆ หรือจากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว 2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นกลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็นภาคเรียน หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่โครงงานเล็กหรือใหญ่ 3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเองตามความถนัด สนใจ และ ความพร้อม 4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผนปฏิบัติงานและการแปลผล รายงานผลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดาเนินงานร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กาหนดไว้ 5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักเรียนตามวัยและสติปัญญา รวมทั้งการใช้จ่ายเงินดาเนินงานด้วย
  • 5. Paste your logo here Make your own summer ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 6. 6 คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์จึง มีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรม และลักษณะของประโยชน์ หรือผลงานที่ได้ จึงเป็นการพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้ หลากหลาย ซึ่งสามารถแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) 2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) 3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment) 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
  • 7. 7 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่อง คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียน แบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนา โปรแกรมบทเรียน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรม แบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
  • 8. 8 2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นใน รูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้าง ขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ บน เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถนาไปใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D
  • 9. 9 3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment) เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้อง ศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการ ศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือ คาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มี จุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหล ของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น
  • 10. 10 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน(Application) เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์ สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็น ต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะ สร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้อง ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความ สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และ เครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วิธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย
  • 11. 11 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกม การคานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้ สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามา ปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้ป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ
  • 13. 13 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน หัวข้อส่วนใหญ่ที่นามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่าง ๆ การสังเกตต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือ สิ่งต่าง ๆ รอบตัว ปัญหาที่นามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์นั้นได้จากแหล่งที่ต่างกัน ได้แก่ การ อ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่าง ๆ การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการทางวิทยุและโทรทัศน์ ข้อมูลข่าวสารจากอินเทอร์เน็ต รวมทั้งการสนทนา อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่น ๆ กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน งานอดิเรกของนักเรียน การเข้าชมงานนิทรรศการหรือ งานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 14. 14 2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาจากเอกสารและแหล่งข้อมูล รวมถึงการขอความปรึกษาจาก ผู้ทรงคุณวุฒิจะช่วยให้เกิดแนวคิดในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจง มากยิ่งขึ้นและได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษา จนสามารถใช้ออกแบบและการวางแผน ดาเนินการทาโครงงานได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูลจะต้องได้คาตอบว่า จะทาอะไร ทาไมต้องทา ต้องการให้เกิดอะไร ทาอย่างไร ใช้ทรัพยากรอะไร ทากับใคร และจะเสนอ ผลงานอย่างไร
  • 15. 15 3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานเป็นการจัดทาเค้าโครงของโครงงานเพื่อเสนอครูที่ปรึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 3.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิง และรวบรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ 3.2 วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงงานที่จะพัฒนา 3.3 ออกแบบการพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และตัวแปลภาษาโปรแกรม และ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ต้องใช้ 3.4 กาหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน ลงมือทาโครงงานและสรุปรายงานโครงงาน โดย กาหนดช่วงเวลาอย่างกว้าง 3.5 ทาการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทาการพัฒนาส่วนย่อย ๆ บางส่วน ตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว นาผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมมาก ยิ่งขึ้น 3.6 เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่อครูที่ปรึกษา เพื่อขอคาแนะนาปรับปรุงแก้ไข เพราะในการวางแผน การศึกษา ความคิดของนักเรียนอาจจะไม่ครอบคลุมทุกด้านเนื่องจากยังขาดประสบการณ์ จึงควรถ่ายทอดความคิดที่ได้ ศึกษาและบันทึกไว้ให้ครูทราบเพื่อรับคาแนะนา และนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์
  • 16. 16 เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเอกสารอ้างอิงต่าง ๆ และเลือกเรื่องที่จะทาโครงงานคอมพิวเตอร์รวมทั้งวางแผนการทาโครงงาน ทุกขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว จึงทาการเขียนเค้าโครงของโครงงานเพื่อใช้เป็นกรอบแนวคิดและแนวทางในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ นอกจากจะต้องใช้หลักการทางวิชาการในการวางแผนทาโครงงานแล้ว ยังต้องมีข้อตกลงและเงื่อนไขต่าง ๆ เช่น การขออนุญาตใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ การจัดหาซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ เครื่องมือและตัวแปลภาษาโปรแกรม เพื่อช่วยให้การ ทาโครงงานดาเนินไปอย่างราบรื่น โดยมีองค์ประกอบเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. ชื่อโครงงาน ต้องสื่อว่าทาอะไรกับใคร เพื่ออะไร เช่น โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 2. ชื่อผู้จัดทา ระบุถึงผู้รับผิดชอบโครงงานอาจเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคลก็ได้ 3. ครูที่ปรึกษา ระบุชื่อ สกุลของครูที่ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาควบคุมการทาโครงงานของนักเรียน 4. ระยะเวลาดาเนินงาน ให้ระบุเวลาตั้งแต่เริ่มทาโดยใช้ซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบริหารจัดการเพื่อใช้วางแผนควบคุมการทางาน 5. แนวคิด ที่มา อธิบายถึงสาเหตุที่เลือกทาโครงงาน กล่าวถึงความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล 6. วัตถุประสงค์ ระบุสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานนี้ในเชิงกระบวนการและผลลัพธ์ที่ได้ 7. หลักการทฤษฎี อธิบายหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องที่นามาใช้ในโครงงาน 8. วิธีดาเนินงาน กล่าวถึงกิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน 9. ขั้นตอนปฏิบัติ กล่าวถึงวันเวลาและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้น 10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระบุถึงสภาพของผลที่ต้องการให้เกิด รวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น 11. เอกสารอ้างอิง ระบุชื่อเอกสารข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่าง ๆ ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน
  • 17. 17 4. การพัฒนาโครงงาน เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบของครูที่ปรึกษาแล้ว ขั้นตอนต่อไปจึงเป็นการลงมือพัฒนาโครงงานตามขั้นตอนที่วางไว้ ขณะเดียวกันต้องมีการทดสอบ ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาโครงงานเป็นระยะ ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นนั้น ทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมายและเกิดประสิทธิภาพตาม ขั้นตอนดังนี้ 4.1 การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และวัสดุอื่น ๆ ที่ใช้ในการพัฒนาให้พร้อมและควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบ คอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ การดาเนินการเป็นอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่าง ๆ ที่พบ 4.2 การลงมือพัฒนา เป็นการปฏิบัติตามแผนที่วาง ไว้ในเค้าโครง ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ หากพบว่าจะช่วยทาให้ผลงานพัฒนาได้ดีขึ้น โดยจัดระบบการทางาน โดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้เสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริม เพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทาให้ตกลงรายละเอียด ในการเชื่อมต่อชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย รวมทั้งต้องพัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ บันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบและครบถ้วน 4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น ทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมายและมี ประสิทธิภาพ 4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดครอบคลุมหัวข้อโครงงาน เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจาก การทาโครงงานและทาการอภิปรายผล เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนา หลักการ ทฤษฎีหรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ 4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็น ข้อเสนอแนะสาหรับผู้สนใจจะนาไปพัฒนาผลงานให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  • 18. 18 5. การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงาน เป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจความคิด วิธีการดาเนินการศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น โดยในการเขียนรายงานนั้น ควรใช้ ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ ตรงไปตรงมา รวมทั้งให้ผู้จัดทาคู่มือการใช้งาน ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ 5.1 ชื่อโครงงาน 5.2 ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้กับโครงงานนั้น 5.3 ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่จะให้โครงงานนั้นทางานได้อย่าง สมบูรณ์ 5.4 คุณลักษณะของโครงงาน ซึ่งอธิบายว่าผลงานนั้นทาหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้า และอะไรที่ออกมาเป็น ข้อมูลขาออก 5.5 วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทางานในฟังก์ชั่นหนึ่ง ๆ 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายหลังจากการพัฒนาโครงงานเสร็จเรียบร้อยตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดย เป็นการนาเสนอรายงานสรุปผลการดาเนินการในการจัดทาโครงงาน และโปรแกรมที่ได้พัฒนาขึ้นมาให้กับคณะกรรมการ และผู้เกี่ยวข้องของโครงงานนั้น จึงจัดเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลผลิต ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น
  • 20. 20 1. ชื่อโครงงาน _______________________________________________________________________________________ 2. ประเภทโครงงาน ___________________________________________________________________________________ 3. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 1) ________________________________________________________________________ 2) ________________________________________________________________________ 3) ________________________________________________________________________ 4) ________________________________________________________________________ 5) ________________________________________________________________________ 4. ครูที่ปรึกษาโครงงาน ________________________________________________________________________________ 5. ครูที่ปรึกษาร่วม ____________________________________________________________________________________
  • 21. 21 6. ระยะเวลาดาเนินงาน _________________________________________________________________________________ 7. แนวคิด ที่มา และความสาคัญ _______________________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________________ 8. วัตถุประสงค์ 1) ________________________________________________________________________________________ 2) ________________________________________________________________________________________ 3) ________________________________________________________________________________________ 9. หลักการและทฤษฎี _______________________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________________________
  • 22. 22 ขั้นตอนการดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ 10. วิธีดาเนินงาน วัน/เดือน/ปี กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ 11. ขั้นตอนการปฏิบัติ
  • 23. 23 12. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1) ________________________________________________________________________________________ 2) ________________________________________________________________________________________ 3) ________________________________________________________________________________________ 13. เอกสารอ้างอิง 1) ________________________________________________________________________________________ 2) ________________________________________________________________________________________ 3) ________________________________________________________________________________________ 4) ________________________________________________________________________________________ 14. ผลการพิจารณาโครงงาน o อนุมัติ o ควรปรับปรุง
  • 24. Paste your logo here Make your own summer ตัวอย่างการเขียนแบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 25. 25
  • 26. 26