SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
0

สารบาญ
หนา
คณะที่ใช SAT ในการสอบวัดความรู ผูสมัครเขาศึกษาตอระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร………...…………...…..1
SAT: Scholastic Aptitude Tests
ความสามารถทางภาษา (Verbal Ability) ………………………………………………..…………………….…..….......3
การเติมขอความใหไดใจความสมบูรณ………………………..…………………..……………….……..….......3
อุปมาอุปไมยทางภาษา…………………………………………..…..………………………...............................5
การอานอยางมีวิจารณญาณ…………………………………….………..…………………………….....…........5
ความสามารถทางการคิดคํานวณ (Numerical Ability) …………….……………………………..…………….....….......6
ความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร……………………..…..………………………..………………….........6
ความสามารถดานการเปรียบเทียบเชิงปริมาณ…………….…………………………….……………......….......7
ความสามารถในการตีความขอมูล………………………………...……………………..………………..…......8
การประเมินความเพียงพอของขอมูล………………………..............…………………..………….….....….......9
ความสามารถเชิงวิเคราะห (Analytical Ability) ………………………………..…………………..…………..….….......10
การใชเหตุผลเชิงตรรกะและเชิงวิเคราะหทางภาษา……………….……………...…………………..…..…........10
การวิเคราะหแผนภูมิเชิงตรรกะ………………………………....…………………..……………...….................11
การวิเคราะหเชิงภาพหรือสัญลักษณ……………………….………...…………………..……………...….........12
แบบทดสอบ
ความสามารถทางภาษา (Verbal Ability) …………………………………………………..…………………….…….....14
การเติมขอความใหไดใจความสมบูรณ…………………………..…………………..……………….……….....14
อุปมาอุปไมยทางภาษา………………………………………………....………………………...........................16
การอานอยางมีวิจารณญาณ………………………………………….……..…………………………...……......17
ความสามารถทางการคิดคํานวณ (Numerical Ability) …………………….………………………..…………….….......19
ความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร…………………..……………..………………..…,,…………...…........19
ความสามารถดานการเปรียบเทียบเชิงปริมาณ………………….………………………….…,,………....….......21
ความสามารถในการตีความขอมูล………………………………...………………………..…,,………...….......23
การประเมินความเพียงพอของขอมูล……………………………...…...…………………..……………....….....23
ความสามารถเชิงวิเคราะห (Analytical Ability) …………………………...……...…………………..…………..….......26
การใชเหตุผลเชิงตรรกะและเชิงวิเคราะหทางภาษา……………………………..…...………………..……........26
การวิเคราะหแผนภูมิเชิงตรรกะ…………………………………...……………..……..…………...…...............29
การวิเคราะหเชิงภาพหรือสัญลักษณ……………………...…………...…………………..……………...….......31
1

คณะที่ใช SAT ในการสอบวัดความรู ผูสมัครเขาศึกษาตอระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
2
3

SAT: Scholastic Aptitude Tests
SAT หรือขอสอบความถนัดทางวิชาการ หรือขอสอบความถนัดเชิงวิชาการ หรือขอสอบความถนัดทางการเรียน วัด
ความสามารถของผูเรียนใน 3 ดาน คือ
1. ความสามารถทางภาษา (Verbal Ability)
ลักษณะขอสอบ
การเติมขอความใหไดใจความสมบูรณ

เปาหมาย
ความรูความเขาใจความหมายและการใชศัพทและสํานวนภาษา ในประโยค หรือ
ขอความที่กําหนด เพื่อใหไดใจความสมบูรณและสมเหตุสมผล
ตัวอยางขอสอบ
สํานักขาวรอยเตอรเปดเผยผลสํารวจสถาบันลงทุน และ บริษัทหลักทรัพยวายังใหความสนใจที่จะลงทุนในตลาดหุนเอเชีย
แต_________ที่จะลงทุนในตลาดประเทศสหรัฐอเมริกาและยุโรป เพราะอยูตัวแลว ทั้งยังมีแนวโนมจะลดลงอีกดวย
1. เลือก
2. มั่นใจ
3. ลังเล
4. ตัดสินใจ
5. เปลี่ยนใจ
คําตอบ ตัวเลือก 3
แนวคิด ความไมมั่นใจภาวการณของตลาดหุนในสหรัฐอเมริกา และทวีปยุโรป
การใหหาวิธีการที่ถูกตอง ไมใชการ_______ โครงการเพราะไมเห็นดวยกับการแกปญหารถติด เราตองรีบลงมือทําอะไรที่เปนการแก
ปญหาอยางจริงจัง เนื่องจากระบบขนสงมวลชน เปนวิธีการที่_____________ที่สุด
1. ยกเลิก ดี
2. ทักทวง ชี้ชัด
3. คัดงาง เขาทา
4. ขัดขวาง ถูกตอง
5. ทัดทาน เหมาะสม
คําตอบ ตัวเลือก 5
แนวคิด เปนการเสนอแนะ และอธิบายเหตุผล
4

ลักษณะขอสอบ
อุปมาอุปไมยทางภาษา

เปาหมาย
การวิเคราะหความสัมพันธระหวางคํา กลุมคํา หรือสํานวนที่กําหนดใหในโจทย ให
พิจารณาวาลักษณะความสัมพันธนั้นอยูในรูปแบบใด เชน
1. ความสัมพันธเชิงหนาที่
2. ความเหมือนหรือความคลายคลึง
3. ความขัดแยงหรือตรงกันขาม
4. ความสัมพันธระหวางสวนยอยและสวนใหญ
5. ความสัมพันธแบบลําดับตอเนื่องหรือพัฒนาการ
6. ความสัมพันธเชิงเหตุและผล
ตัวอยางขอสอบ

โรงเรียน : นักเรียน
1. แพทย : คนไข
2. วัด : เจาอาวาส
3. พรรคการเมือง : รัฐมนตรี
4. คลินิก : คนไข
5. รานอาหาร : บริกร
คําตอบ ตัวเลือก 4
แนวคิด คําคูแรกที่กําหนด มีความสัมพันธกันเชิงหนาที่
5

ลักษณะขอสอบ
การอานอยางมีวิจารณญาณ

1.
2.
3.
4.
5.
6.

เปาหมาย
การจับใจความหลักและเจตนารมณสําคัญ
ความเขาใจขอมูลและขอเท็จจริงที่ระบุอยางชัดเจน
ความเขาใจแนวความคิดที่พาดพิง แตไมไดระบุอยางชัดเจน
การประยุกตใชแนวความคิดในบทความกับสถานการณอื่น ๆ
วิเคราะหตรรกะ เหตุผล และเทคนิควิธีการนําเสนอที่ผูแตงใช
วิเคราะหจุดยืน เจตคติ และอารมณความรูสึกของผูเขียน จากลักษณะ
ภาษาที่ใช
ตัวอยางขอสอบ

อุทกภัยจากฝนตกน้ําทวมที่เกิดขึ้นในบานเมืองอื่นนั้นเปนอันตรายรายแรงมากกวาที่เกิดขึ้นในประเทศไทยหลายเทานัก
แตเขายังทนสูกับอุปสรรคอยางแกรงกลา
ขอใดแสดงใหเห็นถึงจุดประสงคหลักของผูเขียนไดถูกตองชัดเจนที่สุด
1. ใหกําลังใจผูที่ประสบอุทกภัย
2. เตือนใหระวังอุทกภัยในหนาฝน
3. ยั่วยุใหผูประสบภัยเกิดกําลังใจไมทอแท
4. ปลุกใจใหเขมแข็งในการตอสูภัยธรรมชาติ
5. ปลอบขวัญผูประสบชะตากรรมจากภัยธรรมชาติ
คําตอบ ตัวเลือก 3
แนวคิด ผูเขียนเปรียบเทียบใหเห็นวาประเทศอื่นประสบภัยที่รายแรงกวาเรา ดังนั้น เราจึงไมควรทอแท
6

2. ความสามารถทางการคิดคํานวณ (Numerical Ability)
ลักษณะขอสอบ
ความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร

เปาหมาย
1. ทักษะการใช Operations พื้นฐาน เชน การบวก ลบ คูณ หาร การถอดราก
และการยกกําลัง และความสามารถในการตีความและแกปญหาโจทย ที่ต
องอาศัยพื้นฐานความเขาใจในความคิดรวบยอด
2. หลักการในคณิตศาสตรระดับเบืองตน เชน เศษสวน ทศนิยม รอยละ
กําไร/ขาดทุน ระยะทาง พื้นที่ ปริมาตร เวลา สมการ เรขาคณิตเบื้องตน
พีชคณิตเชิงเสนขั้นพื้นฐาน และ กราฟ
ตัวอยางขอสอบ
กําหนด ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วที่มี AB = AC ,X มีคาเทากับกี่องศา

1. 35
2. 50
3. 55
4. 60
5. 70
คําตอบ ตัวเลือก 5
แนวคิด ใชสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว มุม B และ C เทากับ 55 และผลบวกของมุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180
องศา ดังนั้น X จึงมีคาเทากับ 180-110 = 70 องศา
7

ลักษณะขอสอบ
ความสามารถดานการเปรียบเทียบเชิงปริมาณ

เปาหมาย
เปรียบเทียบ 2 ปริมาณที่กําหนดให ปริมาณแรกจะอยูในคอลัมน A และปริมาณ
หลังอยูในคอลัมนB และตอบตามตัวเลือกดังนี้
เลือกตอบขอ 1 ถาปริมาณในคอลัมนA มากกวา ปริมาณในคอลัมนB
เลือกตอบขอ 2 ถาปริมาณในคอลัมนA นอยกวา ปริมาณในคอลัมนB
เลือกตอบขอ 3 ถาปริมาณในคอลัมนทั้งสองเทากัน
เลือกตอบขอ 4 ถาขอมูลที่กําหนดใหไมเพียงพอที่จะสรุปได
ตัวอยางขอสอบ

คอลัมน A
1.

คอลัมนB

2+5

(2)(5)

2.
a
6

2a
1.คําตอบ เลือกคําตอบขอ 2
แนวคิด ปริมาณในคอลัมน A มีคานอยกวาปริมาณในคอลัมน B
2.คําตอบ เลือกคําตอบขอ 3
แนวคิด ปริมาณในคอลัมน A และในคอลัมนB มีคาเทากัน

=

b
4

3b
8

ลักษณะขอสอบ
ความสามารถในการตีความขอมูล

เปาหมาย
การอาน และวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ ที่เสนอในรูปแบบตาง ๆ เชน ตาราง
แผนภูมิ กราฟ สมการ หรือประโยคสัญลักษณทางคณิตศาสตร
ตัวอยางขอสอบ
การประเมินความเสียหายตอพืชผลเกษตรในป 2553
ประมาณการผลผลิต
ความเสียหายตอป 2553
ราคาผลผลิต
พืชเกษตร
(ลานตัน)
(ลานตัน)
(บาทตอตัน)
ม.ค.- มิ.ย. ก.ค.- ธ.ค.
53
53
ขาวนาป
19.07
19.96
0.6
4,585
ออยโรงงาน
12.50
10.65
1.8
580
มันสําปะหลัง
6.89
6.51
1.2
1,870
ขาวโพดเลี้ยงสัตว
4.12
3.98
0.2
4,963
ถั่วเหลือง
4.05
4.03
0.1
2,740
ถั่งลิสง
2.16
2.96
0.08
3,660
1. ผลผลิตทางการเกษตรชนิดใดมีมูลคาความเสียหายนอยที่สุดในป 2553
1. ออยโรงงาน 2. มันสําปะหลัง
3. ขาวโพดเลี้ยงสัตว 4. ถั่วเหลือง 5. ถั่วลิสง
คําตอบ ตัวเลือก 5
แนวคิด ความเสียหายตอป 2553 ของถั่วลิสงอยูที่ 80,000 ตัน
2. พืชเกษตรชนิดใดบางเมื่อรวมกันแลวมีมูลคาความเสียหายไมถึงครึ่งหนึ่งของมูลคาความเสียหายทั้งหมด
1. ขาวนาป และมันสําปะหลัง
2. ขาวนาป ออยโรงงาน และถั่วลิสง
3. มันสําปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว ถั่วเหลือง และถั่วลิสง
4. ออยโรงงาน มันสําปะหลัง และถั่วเหลือง
5. ขาวโพดเลี้ยงสัตว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง และขาวนาป
คําตอบ ตัวเลือก 1
แนวคิด มูลคาความเสียหายทั้งหมด คือ 3.98 ลานตัน ดังนั้นมูลคาความเสียหายครึ่งหนึ่ง คือ 1.99 ลานตัน ขาวนาป และมัน
สําปะหลังมูลคาความเสียหายรวม 1.8 ลานตัน
9

ลักษณะขอสอบ
การประเมินความเพียงพอของขอมูล

เปาหมาย
คําถาม 1 คําถาม และขอมูลที่กําหนดให 2 รายการ โดยมีอักษร (ก) และ (ข) กํากับ
จะตองพิจารณาขอมูลแตละรายการวาเพียงพอสําหรับการตอบคําถามที่
กําหนดใหหรือไม
การเลือกตอบใหทําตามเงื่อนไขตอไปนี้
เลือกตอบขอ 1 ถาขอมูลรายการ (ก) เปนขอมูลเดียวที่เพียงพอในการตอบคําถาม
เลือกตอบขอ 2 ถาขอมูลรายการ (ข) เปนขอมูลเดียวที่เพียงพอในการตอบคําถาม
เลือกตอบขอ 3 ถาตองการใชขอมูลทั้งสองรายการรวมกันจึงเพียงพอในการตอบ
คําถาม
เลือกตอบขอ 4 ถาขอมูลรายการ (ก) หรือ (ข) เพียงขอใดขอหนึ่งก็เพียงพอในการ
ตอบคําถาม
เลือกตอบขอ 5 ถาใชขอมูลทั้งสองรายการรวมกันแลว ยังไมเพียงพอในการตอบ
คําถาม
ตัวอยางขอสอบ

คําถาม

จากรูป ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน มีดานยาวดานละ 10 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABE
ขอมูล (ก) AC = 16 ซ.ม.
(ข) BD = 12 ซ.ม.
คําตอบ เลือกตอบขอ 4
แนวคิด ถาใชขอมูลรายการ (ก) เพียงขอเดียวก็สามารถตอบคําถามได และถาขอมูลรายการ (ข) เพียงขอเดียวก็สามารถตอบคําถามได
เชนกัน ดังนั้น ใชขอมูลรายการ (ก) หรือ (ข) เพียงขอใดขอหนึ่งก็เพียงพอในการตอบคําถาม
10

3. ความสามารถเชิงวิเคราะห (Analytical Ability)
ลักษณะขอสอบ
การใชเหตุผลเชิงตรรกะและเชิงวิเคราะหทาง
ภาษา

เปาหมาย
ตอบคําถาม จากคําบรรยายสถานการณหรือกลุมขอความที่ใหขอมูลเกี่ยวกับสถาน
การณ 
ตัวอยางขอสอบ

สถานการณ
ตุกตา A B C D และ E วางเรียงกัน โดยที่
A วางอยูหลังสุด
D อยูติดกับ B โดยอยูหนา B
C อยูติดกับ B โดยอยูหนา E
คําถาม ตุกตาตัวใดบางวางอยูหลังตุกตา B
1. E และ D
2. D และ A
3. D และ C
4. C E และ A
5. D C และ E
คําตอบ ตัวเลือก 4
แนวคิด สถานการณที่กําหนดให สามารถเรียงลําดับตุกตาไดดังนี้ D B C E A และตุกตาที่อยูหลัง B มี C E A
11

ลักษณะขอสอบ
การวิเคราะหแผนภูมิเชิงตรรกะ

เปาหมาย
ใหหาความสัมพันธระหวางวงกลมกับสิ่งที่กําหนดให ดังนี้
แทน ทั้งหมดของสิ่งหนึ่งเปนประเภทหนึ่งในอีกสิ่งหนึ่ง
แทน ทั้งสองสิ่งมีบางสวนเปนประเภทเดียวกัน และมีบาง
สวนเปนคนละประเภทกัน
แทน ทั้งสองสิ่งเปนคนละประเภทกัน
ตัวอยางขอสอบ

สัตว วัว พืช
คําตอบ

แนวคิด วัวเปนสัตวประเภทหนึ่ง แตพืชเปนอีกประเภทหนึ่งซึ่งไมใชทั้งวัวหรือสัตว
วัว สัตว พืช สิ่งมีชีวิต
คําตอบ

แนวคิด วัวเปนสัตวประเภทหนึ่ง พืชเปนอีกประเภทหนึ่ง แตทั้งวัว สัตว และพืช ตางก็เปนสิ่งมีชีวิต
12

ลักษณะขอสอบ
การวิเคราะหเชิงภาพหรือสัญลักษณ

เปาหมาย
วิเคราะหความสัมพันธระหวางภาพหรือสัญลักษณ
ตัวอยางขอสอบ
อุปมาอุปไมยดวยรูปภาพ การตีความแตละภาพวิเคราะหความสัมพันธระหวางภาพที่กําหนดใหและใชความสัมพันธที่วิเคราะหไดกับ
ภาพอื่น ๆ

คําตอบ ตัวเลือก 4
แนวคิด ความสัมพันธรูปที่กําหนด คือ รูปหนึ่งเปนรูปเต็มและสวาง อีกรูปหนึ่งเปนรูปขนาดครึ่งหนึ่งของรูปเต็มและทึบ
อนุกรมภาพ จะกําหนดอนุกรมภาพให 1 ชุด ซึ่งมี 3 ภาพ ระหวาง 3 ภาพนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะตอเนื่อง จากภาพหนึ่งไปอีก
ภาพหนึ่ง ซึ่งจะตองวิเคราะหความตอเนื่องของอนุกรมภาพเพื่อหากฎเกณฑของความเปลี่ยนแปลง แลวใชกฎเกณฑนั้นไปพยากรณ
ความเปลี่ยนแปลงของอนุกรมภาพชุดอื่น

คําตอบ ตัวเลือก 2
แนวคิด การเปลี่ยนแปลงของตําแหนงสี่เหลี่ยมทึบทั้งหมด เปนการเปลี่ยนแปลงครั้งละหนึ่งตําแหนงเปลี่ยนตําแหนงตามเข็มนาฬิกา
13

การจัดประเภทภาพ การวิเคราะหองคประกอบของภาพที่กําหนดให เพื่อพิจารณาเลือกภาพที่มองคประกอบของภาพเหมือนกัน
ี

คําตอบ ตัวเลือก 1
แนวคิด องคประกอบภาพคือ มีวงกลมทึบ 2 วง อยูดานเดียวกันของเสนตรงและอยูหางกันตามความยาวของเสนตรง
อนุกรมภาพ 2 มิติ การหาคําตอบโดดยพิจารณาหาความสัมพันธของภาพทั้งในแนวตั้ง และแนวนอน เมื่อพบความสัมพันธ
แลวจึงเลือกภาพคําตอบที่เหมาะสม

คําตอบ ตัวเลือก 3
แนวคิด พิจารณาหาความสัมพันธไดทั้ง 2 ทิศทาง คือ ทิศทางตามแนวตั้ง และทิศทางตามแนวนอน ความสัมพันธของภาพที่
ปรากฏในตัวอยาง คือเมื่อนําสองภาพแรกมารวมกันจะไดภาพที่สาม
14

แบบทดสอบ
1. ความสามารถทางภาษา (Verbal Ability)

การเติมความใหสมบูรณ (Sentence Completion)
คําสั่ง สําหรับปญหาแตละขอตอไปนี้ จงเลือกคําหรือกลุมคําที่จะทําใหขอความที่กําหนดใหมีใจความสมบูรณถูกตองที่สุด
ขอ 1 _______ _______ ทางวิทยาการที่เปนอยูทุกวันนี้คงจะเกิดขึ้นไมไดถาหากปราศจาก _____ _______ ระหวางศาสตรสาขาตาง ๆ
ก. ความคิดเห็น ... ความโนมเอียง
ข. ความกาวหนา ... ความรวมมือ
ค. อิทธิพล ... ความขัดแยง
ง. ความลมเหลว ... การแขงขัน
จ. ความชอบธรรม ... ความสมดุล
ขอ 2 เอดส คือกลุมอาการที่เกิดจาก ระบบภูมิคุมกัน หรือ ___________ ตอตานเชื้อโรคของรางกายถูกทําลาย ทําใหความสามารถของ
รางกาย ในการปองกันการติดเชื้อชนิดตาง ๆ ___ _______ หรือลดนอยลง
ก. เงื่อนไข ... สึกหรอ
ข. ปจจัย ... บั่นทอน
ค. กลไก ... บกพรอง
ง. ยุทธการ ... เพิ่มมากขึ้น
จ. กระบวนการ ... สาบสูญ
ขอ 3 การที่กลุมประเทศโอเปค ____ _______ ปริมาณนํ้ามันที่ผลิตในแตละวัน ทําใหเกิดภาวะขาดแคลนเชื้อเพลิงขึ้นในหลายภูมิภาคใน
โลก จนรัฐบาลบางประเทศตองดําเนินมาตรการ ___________ นํ้ามัน โดยใหหนวยงานของรัฐเขาควบคุมธุรกิจการคานํ้ามันทั่วประเทศ
ก. เปลี่ยนแปลง หมุนเวียน
ข. รักษาระดับ ลดคุณภาพ
ค. เปดเผย ประหยัด
ง. จํากัด ปนสวน
จ. ปกปด ลดราคา
ขอ 4 แมวารัฐบาลหลายประเทศไดพยายามปรับปรุง ___________ สตรีใหดีขึ้นมาระดับหนึ่งก็ตาม แตปญหาดาน ___________ ทาง
โอกาสความกาวหนาในอาชีพการงานของสตรียังมีอยูในทุกสังคม
ก. คุณภาพ ... ความแปรปรวน
ข. สถานภาพ ... ความไมเสมอภาค
ค. เสรีภาพ ... ความเสียสละ
ง. เสถียรภาพ ... ความลงตัว
จ. เอกลักษณ ... ความคลองตัว
15

ขอ 5 ในรางพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ฉบับใหม ไดมีการ ___________ สิ่งบันทึกเสียงออกจากโสตทัศนวัสดุอยางชัดเจน และมิไดมี
ขอความใดในรางพระราชบัญญัติที่ยินยอมใหผูประกอบการสถานเริงรมยใชสิ่งบันทึกเสียงโดยมิตองขออนุญาตจากเจาของ
___________ กอน
ก. ตัดทอน ... อุปกรณ
ข. ไถถอน ... สถานที่
ค. จําแนก ... กรรมสิทธิ์
ง. เคลื่อนยาย ... ผลประโยชน
จ. คัดเลือก ... ทรัพยสิน
ขอ 6 ภาคใตมีลักษณะทางภูมิศาสตรประการหนึ่งที่ ____ _______ ภาคอื่นคือเปนภาคเปด ขนาบดวยทะเลทั้งสองดาน ทําใหติดตอสัม
พันธกับโลกภายนอกได อยาง ____ _______ มาตลอดประวัติศาสตร
ก. แตกตางไปจาก ... ตอเนื่อง
ข. เสียเปรียบ ... จํากัด
ค. คลายคลึง ... สมํ่าเสมอ
ง. เอาเปรียบ ... กวางขวาง
จ. มีผลกระทบตอ ... เสรี
16

อุปมาอุปไมยทางภาษา (Word Analogy)
คําสั่ง ในแตละปญหาตอไปนี้ โจทยจะกําหนดคําให 1 คู จงวิเคราะหความสัมพันธระหวางคูคําที่กําหนดให และเลือกคูคําจาก
ขอเลือกที่ทานเห็นวามีความสัมพันธเหมือนหรือใกลเคียงกับคูคําหรือกลุมคําที่กําหนดให มากที่สุด
ขอ 1 อากาศ : เครื่องบิน
ก. แผนดิน : ไสเดือน
ข. อุกาบาต : อวกาศ
ค. ปากนํ้า : สันดอน
ง. มหาสมุทร : เรือดํานํ้า
จ. เพดาน : จิ้งจก
ขอ 2 เครงเครียด : สันทนาการ
ก. เศราโศก : นํ้าตา
ข. หิว : งานเลี้ยง
ค. ออนเพลีย : การพักผอน
ง. เกียจคราน : ความยากจน
จ. เปยกชื้น : ฤดูฝน
ขอ 3 ปาฐกถา : อารัมภบท
ก. รัฐมนตรี : นักการเมือง
ข. บัณฑิต : เสื้อครุย
ค. ปุจฉา : วิสัชนา
ง. ตํารา : คํานํา
จ. ปญญา : ปริศนา
ขอ 4 ไพลิน : รัตนชาติ
ก. จีวร : รัตนตรัย
ข. อบเชย : เครื่องเทศ
ค. ผลึกแกว : โปรงแสง
ง. มรดก : พินัยกรรม
จ. สินสอด : สมรส
17

การอานอยางมีวิจารณญาณ (Critical Reading)
คําสั่ง จงอานขอความตอไปนี้ แลวตอบคําถามตาง ๆ ที่ตามมา โดยเลือกคําตอบที่ทานเห็นวาที่ถูกตองที่สุดจากขอเลือกที่กําหนดให
คําถามเกี่ยวกับตรรกะและการใหเหตุผล
ในการศึกษาถึงผลกระทบทั่วไปของความผันผวนของราคานํ้ามัน นักวิเคราะหหลายคนยืนยันวา การ
เพิ่มขึ้นของราคานํ้ามันมีผลกระทบในทางลบตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจและเพิ่มการขาดดุลการคาของ
ประเทศอุตสาหกรรมมากกวาประเทศโลกที่สาม ซึ่งมีอัตราเฉลี่ยการใชพลังงานตอคนตํ่ากวาประเทศ
อุตสาหกรรม

ขอ 1 ขอความใดตอไปนี้ ซึ่งถาหากเปนความจริง จะทําใหคํายืนยันของนักวิเคราะหมีนํ้าหนักนอยลง
ก. การขึ้นลงอยางรวดเร็วของราคานํ้ามันทําใหนักลงทุนไมกลาลงทุนในธุรกิจแสวงหาแหลงนํ้ามันใหม ๆ เพราะการพยากรณผล
กําไรจากการลงทุนกระทําไดยาก
ข. ปริมาณการขาดดุลการคาสะสมของประเทศดอยพัฒนามีอัตราสูงกวาประเทศอุตสาหกรรมที่ตองอาศัยนํ้ามันนําเขาจาก
ภายนอก
ค. ประเทศผูผลิตนํ้ามันมีรายไดเขาประเทศลดนอยลง ทําใหกําลังซื้อสินคาจากประเทศอุตสาหกรรมและประเทศดอยพัฒนาลดลง
ง. ประเทศโลกที่สามใชนํ้ามันเพื่อจุดประสงคที่จําเปนจริง ๆเทานั้น ดังนั้นจึงไมสามารถลดปริมาณการใชนํ้ามันลงจากที่เปนอยูได
แมวาราคานํ้ามันในตลาดโลกจะเพิ่มสูงขึ้นก็ตาม
จ. เมื่อราคานํ้ามันตกตํ่าลง บริษัทที่มีรายไดจากการผลิตนํ้ามันดิบมากกวาจากการกลั่นและจําหนายนํ้ามัน จะมีภาษีที่ตองชําระ
ลดลง
คําถามเกี่ยวกับการนําแนวความคิดหรือขอสรุปในบทความไปประยุกตใชในสถานการณอื่น ๆ
ในป 1930 จํานวนผูอยูอาศัยตอ 1 ครัวเรือนโดยเฉลี่ยมีคาเทากับ 4.1 อัตราการอยูอาศัยตอครัวเรือนลด
เหลือ 3.5 ในป 1950 และ 3.1 ในป 1970 และทุกวันนี้มีรายงานวาจํานวนผูอยูอาศัยในแตละครัวเรือนเหลือเพียง
2.8 คนเทานั้น ดูเหมือนวาแนวโนมของขนาดของครัวเรือนจะเล็กลงเรื่อย ๆ
ขอ 2 ขอความตอไปนี้ ซึ่งถาหากเปนความจริง จะชวยอธิบายสาเหตุของแนวโนมดังกลาว ยกเวนขอใด
ก. อัตราการหยารางไดเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ
ข. อัตราการเกิดไดลดนอยลงตามลําดับ
ค. การสงคนแกเฒาไปอยูสถานสงเคราะหคนชราไดรับการยอมรับจากสังคมมากขึ้น
ง. ผลประโยชนจากการลดหยอนภาษีสําหรับครอบครัวใหญลดนอยลง
จ. จํานวนผูใชบริการสถานเลี้ยงดูเด็กเล็กระหวางเวลาทํางานไดเพิ่มมากขึ้น
18

คําถามเกี่ยวกับสาระหรือแนวความคิดที่เปนนัยพาดพิงของบทความ
ในวงการธุรกิจ วิชาการ หรืออาชีพชั้นสูงอื่น ๆ ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางเปนเกียรติและศักดิ์ศรีที่ได
รับความสําคัญมาก แตอยางไรก็ตาม นักเศรษฐศาสตรที่ดีจะตองมีความรูดานการปกครอง สังคมวิทยา และ
จิตวิทยา นักเศรษฐศาสตรที่มีผลงานทางวิชาการที่มีลักษณะจํากัดในวงแคบ ยากที่จะเปนที่ยอมรับนับถือทั้งใน
และนอกวงการ

ขอ 3 ขอใดตอไปนี้แสดงถึงความเชื่อพื้นฐานของผูเขียนขอความขางตนนี้
ก. วงการอาชีพชั้นสูงทุกวันนี้ใหความสําคัญตอความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขามากเกินไป
ข. นักศึกษาที่เลือกเรียนสาขาวิชา เศรษฐศาสตร โดยทั่วไปแลวจะมีพื้นฐานความรูในศาสตรสาขาอื่น ๆ ดวย
ค. นักเศรษฐศาสตรที่ดีจะตองใหความสําคัญอันดับแรกตอเกียรติและศักดิ์ศรีที่ไดมาจากความสําเร็จในวิชาชีพ
ง. ผูที่จะประกอบอาชีพดานการปกครอง สังคมวิทยา และจิตวิทยา ควรมีพื้นฐานความรูที่ดีทางเศรษฐศาสตรดวย
จ. พัฒนาการในสาขาวิชาชีพชั้นสูงอื่น ๆ มีอิทธิพลสําคัญตอปญหาหรือปรากฏการณที่นักเศรษฐศาสตรศึกษา

การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของผลผลิต ซึ่งวัดจากปริมาณของสินคาและการบริการที่ผลิตไดตอ 1 ชั่วโมง
ของการวาจาง จะมีการเปรียบเทียบระหวางปตอป ในป 1982 ผลผลิตของแรงงานในภาคเอกชนที่ไมรวม
การเกษตร มีปริมาณสูงกวาปที่ผานมารอยละ 5 ในขณะที่ผลผลิตในภาคเอกชนในภาพรวมของป 1982 ไดเพิ่ม
ขึ้นรอยละ 4.8 จากป 1981 ซึ่งเทากับ 2 เทาของการเพิ่มขึ้นจากปกอนหนานั้น
ขอ 4 ถาขอความขางตนนี้เปนขอมูลที่ถูกตอง ขอใดตอไปนี้เปนจริง
ก. คนงานในภาคเกษตรเอกชนที่เปลี่ยนอาชีพไปทํางานอยางอื่น ในป 1981 มีจํานวนนอยกวาในป 1982
ข. อัตราคาจางตอชั่วโมงของแรงงานในภาคเอกชนที่ไมรวมเกษตรกรรมในป 1982 สูงกวาป 1981
ค. ผลผลิตภาคเกษตรเอกชนในป 1982 เพิ่มขึ้น จากป 1981 ไมถึงรอยละ 4.8
ง. การเพิ่มของผลกําไรจากผลผลิตในธุรกิจเอกชนนอกภาคเกษตร มีคานอยกวาการเพิ่มผลกําไรที่ไดจากภาคเกษตร ในป 1982
จ. ในธุรกิจเอกชนในป 1982 การเพิ่มผลผลิตในภาคเกษตรมีปริมาณสูงกวาการเพิ่มของนอกภาคเกษตร
19

2. ความสามารถทางการคิดคํานวณ (Numerical Ability)
ความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร(Basic Mathematical Ability)
คําสั่ง สําหรับปญหาแตละขอตอไปนี้ จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดจากขอเลือกที่กําหนดให
20
21

คําสั่ง ชุดตัวเลขที่กําหนดใหในปญหาแตละขอตอไปนี้ จะประกอบดวยตัวเลข 6 จํานวน โดยจะเวนตัวเลขในอันดับที่สามไว จง
พิจารณาขอเลือกที่กําหนดใหวาขอใดจะเติมแทนที่ ชองวางไดอยางเหมาะสมที่สุด

การเปรียบเทียบเชิงปริมาณ (Quantitative Comparison)
คําสั่ง ในปญหาแตละขอตอไปนี้ จะมีปริมาณที่กําหนดให2 จํานวน ปริมาณแรกจะอยูใน คอลัมม A และอีกปริมาณอยูใน คอลัมม B
จงเปรียบเทียบ 2 ปริมาณนี้และตอบโดยเลือกดังนี้
เลือก ก. ถาปริมาณใน คอลัมม A มีขนาดใหญกวา
เลือก ข. ถาปริมาณใน คอลัมม B มีขนาดใหญกวา
เลือก ค. ถาปริมาณทั้งสองมีขนาดเทากัน
เลือก ง. ถาขอมูลที่กําหนดใหไมเพียงพอที่จะเปรียบเทียบ
22

การตีความขอมูล (Data Interpretation)
คําสั่ง จงศึกษาตารางตอไปนี้และตอบคําถามที่ตามมาโดยการเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด จากขอเลือกที่กําหนดให

ประเทศใดบางที่มีมูลคาการสงออกนํ้ามันในป 1974 เพิ่มขึ้นจากป 1973 นอยกวา 300 %
ก. เวเนซูเอลา คูเวต แอลจีเรีย และ ลิเบีย
ข. แอลจีเรีย ลิ เบีย อินโดนีเซีย และ คูเวต
ค. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส อินโดนีเซีย และ แอลจีเรีย
ง. แอลจีเรีย เวเนซูเอลา และลิเบีย
จ. ลิเบีย คูเวต และ อินโดนีเซีย
23

ในป 1975 ประเทศใดบางมีมูลคาการสงออกนํ้ามันรวมกันแลว มีคามากกวาครึ่งหนึ่งของมูลคาการสงออกนํ้ามันของประเทศกลุม
โอเปคทั้งหมด
ก. ซาอุดิอาราเบีย อิรัค และเวเนซูเอลา
ข. อิหราน อิรัค และเวเนซูเอลา
ค. อิหราน อิรัค และซาอุดิอาราเบีย
ง. คูเวต สหรัฐอาหรับเอมิเรตส๎ไนจี เรีย และลิเบีย
จ. แอลจีเรีย ลิ เบีย คูเวต และอิรัค
ขอสรุปขอใดตอไปนี้สอดคลองกับขอมูลในตารางที่สุด
ก. ทุกประเทศในกลุมโอเปคมีรายไดเพิ่มจากการสงออกนํ้ามันในป 1974 แตประเทศสวนใหญมีรายไดจากการสงออกนํ้ามันลดลง
ในป 1975
ข. อัตราการเพิ่มของรายไดจากการสงออกนํ้ามันของประเทศกลุมโอเปคบางประเทศในป 1975 สูงกวาที่เพิ่มขึ้นในป 1974
ค. รายไดจากการสงออกนํ้ามันของประเทศกลุมโอเปคในป 1974 มีมูลคามากวารายไดในป 1973 และป 1975 รวมกัน
ง. ประเทศสวนใหญในกลุมโอเปคมีรายไดจากการสงออกนํ้ามันเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่องทุกป
จ. ประเทศในกลุมโอเปคมีรายไดจากการสงออกนํ้ามันโดยเฉลี่ยในรอบ 3 ป ไมแตกตางกันมากนัก

การประเมินความเพียงพอของขอมูล (Evaluation ofData Sufficiency)
คําสั่ง ปญหาแตละขอตอไปนี้จะประกอบดวยคําถาม 1 คําถามและขอมูลที่กําหนดให 2 รายการโดยมีหมายเลข (1) และ
(2) กํากับ จงพิจารณาขอมูลแตละรายการวาเพียงพอตอการตอบคําถามที่กําหนดใหหรือไม การเลือกตอบใหทํา
ตามเงื่อนไขตอไปนี้
เลือกขอ ก. ถาขอมูลรายการที่ (1) เพียงขอเดียวเทานั้นเพียงพอตอการตอบคําถาม
เลือกขอ ข. ถาขอมูลรายการที่ (2) เพียงขอเดียวเทานั้นเพียงพอตอการตอบคําถาม
เลือกขอ ค. ถาตองใชขอมูลทั้งสองรายการรวมกัน จึงเพียงพอตอการตอบคําถาม
เลือกขอ ง. ถาขอมูลรายการที่ (1) หรือ (2) เพียงอันใดอันหนึ่งก็เพียงพอตอการตอบคําถาม
เลือกขอ จ. ถาขอมูลทั้งสองรายการรวมกันแลว ยังไมเพียงพอตอการตอบคําถาม
คําถาม : คาของ x เทากับเทาไร
ขอมูล : (1) y - x = 7
(2) 3x + y = 39
24

คําถาม : ถา a, b, และ c เปนจํานวนเต็ม ทั้งสามจะเปนจํานวนที่เรียงติดตอกันหรือไม
ขอมูล : (1) a + b + c = 15
(2) a(b + c) = ab + ac

คําถาม : ลวดเสนหนึ่งยาว 22 เมตร ตัดเปน 3 ทอนทอนที่ยาวที่สุดจะมีความยาวเทาไร
ขอมูล : (1) ทอนที่ยาวที่สุดยาวกวาทอนที่เหลือทอนละ1 เมตร
(2) มีทอนหนึ่งยาว 7 เมตร

คําถาม : ตําบลนางามมีประชากร 200 ครอบครัว มีกี่ครอบครัวที่มีลูกสาว 2 คนพอดี
ขอมูล : (1) 150 ครอบครัวมีลูกสาวอยางนอยครอบครัวละ 1 คน
(2) 50 ครอบครัวมีลูกสาวตั้งแต 3 คนขึ้นไป

คําถาม : คาของ x มากกวา 0 หรือไม
ขอมูล : (1) x4 - 16 = 0
(2) x3 - 8 =0

คําถาม : สมศรีทํางานใหกับบริษัทเอกชนแหงหนึ่งเปนเวลา 6 ปติดตอกัน สมศรีไดรับเงินเดือนเพิ่มขึ้น 200 บาทตอเดือนทุก ๆ สิ้นป
สมศรีไดเงินเดือนปแรกเดือนละเทาไร
ขอมูล : (1) เงินเดือนในปสุดทายของสมศรีมากเปน 1.2 เทาของเงินเดือนปแรก
(2) ในปที่ 4 สมศรีไดเงินเดือนเดือนละ 5600 บาท
25

คําถาม : รอยละ 50 ของประชากรเมืองนิวพอรต มีผมสีทองและนัยนตาสีฟา ประชากรเมืองนี้รอยละเทาไรมีนัยนตาสีฟาแตไมมีผมสี
ทอง
ขอมูล : (1) รอยละ 70 ของประชากรเมืองนี้มีผมสีทอง
(2) รอยละ 60 ของประชากรเมืองนี้มีนัยนตาสีฟา

คําถาม : วิทยุเครื่องหนึ่ง ติดราคาขายในเดือนแรก 3000 บาท ในเดือนตอมาราคาลดลง m เปอรเซ็นต และในเดือนที่ 3 ราคาวิทยุลดลง
มา อีก n เปอรเซ็นต นายประสิทธิ์ มีเงิน 2600 บาท ในเดือนที่ 3 นายประสิทธิ์มีเงินพอที่จะซื้อวิทยุ เครื่องนี้หรือไม
ขอมูล : (1) n = 10
(2) m = 15

คําถาม : ถาเปดทอระบายนํ้า A และ B พรอม ๆ กัน นํ้าจะไหลออกจากสระหมดภายใน 1 ชั่วโมง ถาเปดทอระบายนํ้า A เพียง
ทอเดียว จะใชเวลาเทาไร นํ้าจึงไหลออกหมดสระ
ขอมูล : (1) A ระบายนํ้าไดเร็วเปน 2 เทาของ B
(2) ถาเปด B เพียงทอเดียว นํ้าไหลออกหมดสระใน 3 ชั่วโมง
26

3. ความสามารถเชิงวิเคราะห (Analytical Ability)
การวิเคราะหเชิงภาษา (Verbal Analysis)
คําสั่ง จงอานขอความหรือคําบรรยายสถานการณตอไปนี้ และตอบคําถามที่ตามมา โดยเลือกคําตอบที่ทานเห็นวาถูกตองที่สุดจาก
ขอเลือกที่กําหนดให
สถานการณที่ 1
จากการศึกษาวิจัยในเร็ว ๆ นี้ ไดมีการพบวาอาชญากรรมที่รุนแรงมักจะเกิดขึ้นในหนารอนมากกวาในหนาหนาว ดังนั้นถาเราสามารถ
ควบคุมอุณหภูมิของอากาศโดยทั่วไปได ปญหาอาชญากรรมที่รุนแรงก็จะลดจํานวนลง
ขอ 1 ขอใดบางตอไปนี้เปนความเชื่อพื้นฐานของผูกลาวขอความขางตนนี้
ขอ 1. ความสัมพันธระหวางสภาพอากาศและอัตราการเกิดอาชญากรรมเปนเพียงเรื่องบังเอิญเทานั้น
ขอ 2. สภาพอากาศและอัตราการเกิดอาชญากรรมมีความสัมพันธเชิงเหตุและผลตอกัน
ขอ 3. ความสัมพันธระหวางสภาพอากาศและอัตราการเกิดอาชญากรรมเปนสิ่งที่สามารถควบคุมได
ก. ขอ 1. เทานั้น
ข. ขอ 1. และ ขอ 2. เทานั้น
ค. ขอ 2. เทานั้น
ง. ขอ 2 และ ขอ 3. เทานั้น
จ. ทั้ง ขอ 1. ขอ 2. และ ขอ 3.
ขอ 2 ขอใดตอไปนี้ ซึ่งหากเปนความจริง จะทําใหขออางในสถานการณขางตนนี้มีนํ้าหนักมากขึ้น
ก. อัตราการเกิดอาชญากรรมในประเทศแถบเสนศูนยสูตรสูงกวาประเทศแถบอบอุนอยางเดนชัด
ข. จากการทดลองในหองปฏิบัติการ พบวาการเพิ่มอุณหภูมิใหสูงขึ้น ระดับความกาวราวของตัวอยางที่ทดลองจะสูงขึ้นตามดวย
ค. ประเทศในเขตรอนสวนใหญเปนประเทศยากจน และความขาดแคลนมักจะเปนที่มาของปญหาโจรผูรายชุกชุม
ง. ดวยความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการควบคุมสภาพอากาศทั่วไปเปนสิ่งที่สามารถทําไดในอนาคตอันใกล
จ. การที่บรรยากาศชั้นโอโซนถูกทําลายลง ทําใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้นและฝนฟาไมตกตามฤดูกาล
สถานการณที่ 2
นักการทูต 5 คน คือ P, Q, R, S, และ T เขารวมประชุมที่องคการระหวางประเทศแหงหนึ่งจัดขึ้น ขอมูลทางดานภาษาของนักการทูต
ทั้ง 5 คน มีดังตอไปนี้
P สามารถใชภาษาอังกฤษ และ ภาษาเยอรมัน
Q สามารถใช 3 ภาษา คือ ฝรั่งเศส อิตาลี และสเปน
R สามารถใชภาษาเยอรมันเพียงภาษาเดียว
S สามารถใช 3 ภาษา คือ อังกฤษ อิตาลี และ สเปน
T สามารถใชภาษาฝรั่งเศส และ ภาษาเยอรมัน
27

ขอ 1 นักการทูตตอไปนี้สามารถพูดคุยกันไดโดยไมตองผานลามยกเวน คูใด
ก. P กับ R
ข. P กับ T
ค. Q กับ S
ง. Q กับ R
จ. R กับ T
ขอ 2 ในระหวางนักการทูตทั้ง 5 คนนี้ ภาษาใดใชสื่อสารกันไดมากที่สุด
ก. อังกฤษ
ข. ฝรั่งเศส
ค. เยอรมัน
ง. อิตาลี
จ. สเปน
ขอ 3 ถา S กับ T ตองเจรจากัน นักการทูตคนใดบางสามารถทําหนาที่เปนลามได
ขอ 1. P
ขอ 2. Q
ขอ 3. R
ก. ขอ 1. เทานั้น
ข. ขอ 2. เทานั้น
ค. ขอ 3. เทานั้น
ง. ขอ 1. และ ขอ 2. เทานั้น
จ. ทั้ง ขอ 1. ขอ 2. และ ขอ 3.
สถานการณที่ 3
มีสามีภรรยา 4 คู ฝายสามีไดแก P, Q, R, และ S สวนฝายภรรยา ไดแก T, U, V, และ W แตยังไมทราบวาใครเปนคูสมรสของใคร
ขอมูลเทาที่ทราบมีดังตอไปนี้
ภรรยาของ R อายุมากกวา U
ภรรยาของ S อายุมากกวา W
W เปนพี่นองทองเดียวกับ P
T เปนภรรยาที่มีอายุนอยที่สุด
R เปนเพื่อนเจาบาวในพิธีแตงงานของ W
28

ขอ 1 ถา Q และภรรยา มีบุตรชายดวยกัน ชื่อ Y ขอใดตอไปนี้ถูกตองที่สุด
ก. T เปนปาหรือนาของ Y
ข. V เปนปาหรือนาของ Y
ค. Y เปนหลานของ P
ง. U เปนมารดาของ Y
จ. ไมมีขอใดถูก
ขอ 2 ขอใดตอไปนี้ถูกตองตามขอมูลที่กําหนดใหในขางตน
ก. ภรรยาของ R อายุนอยกวา V
ข. ภรรยาของ R อายุนอยกวา W
ค. ภรรยาของ P อายุนอยกวา U
ง. ภรรยาของ S อายุมากกวา V
จ. ภรรยาของ Q อายุมากกวา U
ขอ 3 ถาสามีแตละคนอายุมากกวาภรรยาของตนเอง 2 ป ขอใดตอไปนี้ขัดแยงกับขอมูลที่กําหนดใหขางตน
ก. R อายุมากกวา U
ข. T อายุนอยที่สุดใน 8 คนนี้
ค. P อายุนอยกวา S
ง. Q อายุนอยกวา P
จ. V อายุนอยกวา R
ขอ 4 ถาฝายภรรยาอายุเรียงจากนอยไปหามาก คือ 28, 30, 32และ 34 ป สวนฝายอายุฝายสามี คือ P : 27 ป, Q : 29 ป,R : 31 ป และ S :
33 ป ขอใดตอไปนี้ไมเปนจริง
ก. T อายุมากกวาสามีตนเอง
ข. V อายุมากกวาสามีตนเอง
ค. U อายุนอยกวาสามีของ V
ง. W อายุนอยกวาสามีของ U
จ. T อายุนอยกวาสามีของ W
29

การวิเคราะหแผนภูมิเชิงตรรกะ (Logical Diagram)
คําสั่ง สําหรับปญหาแตละขอตอไปนี้ จงเลือกภาพ ก. ข. ค.ง. หรือ จ. ที่แสดงความสัมพันธระหวางคํา หรือกลุมคําที่กําหนดใหไดดี
ที่สุด

(เครื่องเขียน) (พัดลม) (ปากกา)

(ผลไม) (ทุเรียน) (ลําไย)

(นักเรียนชาย) (นักกีฬาของโรงเรียน) (นักเรียนชั้น ม.ตน)
30

(เครื่องนุมหม) (สินคานําเขา) (ปจจัย 4)

(เยาวชน) (วัยรุน) (ทารก)

(อาชญากร) (โจรปลนธนาคาร) (โจรถนัดซาย)

(นักบวช) (คนถือศีล) (คนที่มีศาสนา)
31

การวิเคราะหเชิงภาพและสัญลักษณ(Non-Verbal Analysis)
อุปมาอุปไมยดวยภาพ (Figural Analogy)
คําสั่ง ปญหาแตละขอตอไปนี้ โจทยจะกําหนดภาพให 3 ภาพจงพิจารณาหาความสัมพันธระหวาง 2 ภาพแรก และเลือกภาพจาก
ขอเลือกที่กําหนดใหเพียงภาพเดียวที่ทานเห็นวามีความสัมพันธกับภาพที่ 3 เหมือนความสัมพันธกับภาพที่ 3 เหมือนความสัมพันธใน
คูแรกมากที่สุด

อนุกรมภาพ (Figural Series)
คําสั่ง ในปญหาแตละขอตอไปนี้ จงศึกษาอนุกรมที่กําหนดใหแลวเลือกภาพจากขอเลือกที่กําหนดใหเพียงภาพเดียว ซึ่งมีความตอเนื่อง
กับภาพที่กําหนดใหเหมือนในอนุกรม
32

การจัดประเภทภาพ (Figural Classification)
คําสั่ง ในปญหาแตละขอตอไปนี้ จะมีภาพที่กําหนดให1 ภาพ ตามดวยกลุมภาพ 4 กลุม คือ ก. ข. ค. และง. แตละกลุมจะประกอบดวย
2 ภาพ จงวิเคราะหหากฎเกณฑที่ใชในการจัดกลุม แลวตัดสินวาภาพที่กําหนดใหในโจทยควรจะจัดเขากลุมใดไดอยางเหมาะสมที่สุด
33
34

อนุกรมภาพ 2 มิติ (Figural Matrices)
คําสั่ง ในปญหาตอไปนี้ โจทยจะกําหนดภาพให 3 แถว แถวละ 3 ภาพ โดยเวนภาพสุดทายในแนวลางไว ศึกษาภาพเหลานี้ แลวเลือก
ภาพจากขอที่กําหนดใหซึ่งทานคิดวาสามารถเติมลงในชองที่เวนวางไวไดอยางเหมาะสมที่สุด

More Related Content

Similar to รวมเล่ม ติว Sat ไม่ให้ sad

หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
Fern Baa
 
ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02
witthawat silad
 

Similar to รวมเล่ม ติว Sat ไม่ให้ sad (9)

หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
 
11111
1111111111
11111
 
ใบสมัครงาน ญวค.
ใบสมัครงาน ญวค.ใบสมัครงาน ญวค.
ใบสมัครงาน ญวค.
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
 
Test of relation
Test of relationTest of relation
Test of relation
 
ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02
 
เอกสารติว O-NET ม.6
เอกสารติว O-NET ม.6เอกสารติว O-NET ม.6
เอกสารติว O-NET ม.6
 
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysisการวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
 

More from Tanchanok Pps

นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์
Tanchanok Pps
 
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดี
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดีPortfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดี
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดี
Tanchanok Pps
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
Tanchanok Pps
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
Tanchanok Pps
 

More from Tanchanok Pps (16)

รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
 
Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
 
OPEC muge102
OPEC muge102OPEC muge102
OPEC muge102
 
นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์
 
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดี
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดีPortfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดี
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดี
 
Additional Vocabulary [Medical] Kru P'Nan
Additional Vocabulary [Medical] Kru P'Nan Additional Vocabulary [Medical] Kru P'Nan
Additional Vocabulary [Medical] Kru P'Nan
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
 
Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
 
Sat.vocab
Sat.vocabSat.vocab
Sat.vocab
 

รวมเล่ม ติว Sat ไม่ให้ sad

  • 1.
  • 2. 0 สารบาญ หนา คณะที่ใช SAT ในการสอบวัดความรู ผูสมัครเขาศึกษาตอระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร………...…………...…..1 SAT: Scholastic Aptitude Tests ความสามารถทางภาษา (Verbal Ability) ………………………………………………..…………………….…..….......3 การเติมขอความใหไดใจความสมบูรณ………………………..…………………..……………….……..….......3 อุปมาอุปไมยทางภาษา…………………………………………..…..………………………...............................5 การอานอยางมีวิจารณญาณ…………………………………….………..…………………………….....…........5 ความสามารถทางการคิดคํานวณ (Numerical Ability) …………….……………………………..…………….....….......6 ความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร……………………..…..………………………..………………….........6 ความสามารถดานการเปรียบเทียบเชิงปริมาณ…………….…………………………….……………......….......7 ความสามารถในการตีความขอมูล………………………………...……………………..………………..…......8 การประเมินความเพียงพอของขอมูล………………………..............…………………..………….….....….......9 ความสามารถเชิงวิเคราะห (Analytical Ability) ………………………………..…………………..…………..….….......10 การใชเหตุผลเชิงตรรกะและเชิงวิเคราะหทางภาษา……………….……………...…………………..…..…........10 การวิเคราะหแผนภูมิเชิงตรรกะ………………………………....…………………..……………...….................11 การวิเคราะหเชิงภาพหรือสัญลักษณ……………………….………...…………………..……………...….........12 แบบทดสอบ ความสามารถทางภาษา (Verbal Ability) …………………………………………………..…………………….…….....14 การเติมขอความใหไดใจความสมบูรณ…………………………..…………………..……………….……….....14 อุปมาอุปไมยทางภาษา………………………………………………....………………………...........................16 การอานอยางมีวิจารณญาณ………………………………………….……..…………………………...……......17 ความสามารถทางการคิดคํานวณ (Numerical Ability) …………………….………………………..…………….….......19 ความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร…………………..……………..………………..…,,…………...…........19 ความสามารถดานการเปรียบเทียบเชิงปริมาณ………………….………………………….…,,………....….......21 ความสามารถในการตีความขอมูล………………………………...………………………..…,,………...….......23 การประเมินความเพียงพอของขอมูล……………………………...…...…………………..……………....….....23 ความสามารถเชิงวิเคราะห (Analytical Ability) …………………………...……...…………………..…………..….......26 การใชเหตุผลเชิงตรรกะและเชิงวิเคราะหทางภาษา……………………………..…...………………..……........26 การวิเคราะหแผนภูมิเชิงตรรกะ…………………………………...……………..……..…………...…...............29 การวิเคราะหเชิงภาพหรือสัญลักษณ……………………...…………...…………………..……………...….......31
  • 3. 1 คณะที่ใช SAT ในการสอบวัดความรู ผูสมัครเขาศึกษาตอระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
  • 4. 2
  • 5. 3 SAT: Scholastic Aptitude Tests SAT หรือขอสอบความถนัดทางวิชาการ หรือขอสอบความถนัดเชิงวิชาการ หรือขอสอบความถนัดทางการเรียน วัด ความสามารถของผูเรียนใน 3 ดาน คือ 1. ความสามารถทางภาษา (Verbal Ability) ลักษณะขอสอบ การเติมขอความใหไดใจความสมบูรณ เปาหมาย ความรูความเขาใจความหมายและการใชศัพทและสํานวนภาษา ในประโยค หรือ ขอความที่กําหนด เพื่อใหไดใจความสมบูรณและสมเหตุสมผล ตัวอยางขอสอบ สํานักขาวรอยเตอรเปดเผยผลสํารวจสถาบันลงทุน และ บริษัทหลักทรัพยวายังใหความสนใจที่จะลงทุนในตลาดหุนเอเชีย แต_________ที่จะลงทุนในตลาดประเทศสหรัฐอเมริกาและยุโรป เพราะอยูตัวแลว ทั้งยังมีแนวโนมจะลดลงอีกดวย 1. เลือก 2. มั่นใจ 3. ลังเล 4. ตัดสินใจ 5. เปลี่ยนใจ คําตอบ ตัวเลือก 3 แนวคิด ความไมมั่นใจภาวการณของตลาดหุนในสหรัฐอเมริกา และทวีปยุโรป การใหหาวิธีการที่ถูกตอง ไมใชการ_______ โครงการเพราะไมเห็นดวยกับการแกปญหารถติด เราตองรีบลงมือทําอะไรที่เปนการแก ปญหาอยางจริงจัง เนื่องจากระบบขนสงมวลชน เปนวิธีการที่_____________ที่สุด 1. ยกเลิก ดี 2. ทักทวง ชี้ชัด 3. คัดงาง เขาทา 4. ขัดขวาง ถูกตอง 5. ทัดทาน เหมาะสม คําตอบ ตัวเลือก 5 แนวคิด เปนการเสนอแนะ และอธิบายเหตุผล
  • 6. 4 ลักษณะขอสอบ อุปมาอุปไมยทางภาษา เปาหมาย การวิเคราะหความสัมพันธระหวางคํา กลุมคํา หรือสํานวนที่กําหนดใหในโจทย ให พิจารณาวาลักษณะความสัมพันธนั้นอยูในรูปแบบใด เชน 1. ความสัมพันธเชิงหนาที่ 2. ความเหมือนหรือความคลายคลึง 3. ความขัดแยงหรือตรงกันขาม 4. ความสัมพันธระหวางสวนยอยและสวนใหญ 5. ความสัมพันธแบบลําดับตอเนื่องหรือพัฒนาการ 6. ความสัมพันธเชิงเหตุและผล ตัวอยางขอสอบ โรงเรียน : นักเรียน 1. แพทย : คนไข 2. วัด : เจาอาวาส 3. พรรคการเมือง : รัฐมนตรี 4. คลินิก : คนไข 5. รานอาหาร : บริกร คําตอบ ตัวเลือก 4 แนวคิด คําคูแรกที่กําหนด มีความสัมพันธกันเชิงหนาที่
  • 7. 5 ลักษณะขอสอบ การอานอยางมีวิจารณญาณ 1. 2. 3. 4. 5. 6. เปาหมาย การจับใจความหลักและเจตนารมณสําคัญ ความเขาใจขอมูลและขอเท็จจริงที่ระบุอยางชัดเจน ความเขาใจแนวความคิดที่พาดพิง แตไมไดระบุอยางชัดเจน การประยุกตใชแนวความคิดในบทความกับสถานการณอื่น ๆ วิเคราะหตรรกะ เหตุผล และเทคนิควิธีการนําเสนอที่ผูแตงใช วิเคราะหจุดยืน เจตคติ และอารมณความรูสึกของผูเขียน จากลักษณะ ภาษาที่ใช ตัวอยางขอสอบ อุทกภัยจากฝนตกน้ําทวมที่เกิดขึ้นในบานเมืองอื่นนั้นเปนอันตรายรายแรงมากกวาที่เกิดขึ้นในประเทศไทยหลายเทานัก แตเขายังทนสูกับอุปสรรคอยางแกรงกลา ขอใดแสดงใหเห็นถึงจุดประสงคหลักของผูเขียนไดถูกตองชัดเจนที่สุด 1. ใหกําลังใจผูที่ประสบอุทกภัย 2. เตือนใหระวังอุทกภัยในหนาฝน 3. ยั่วยุใหผูประสบภัยเกิดกําลังใจไมทอแท 4. ปลุกใจใหเขมแข็งในการตอสูภัยธรรมชาติ 5. ปลอบขวัญผูประสบชะตากรรมจากภัยธรรมชาติ คําตอบ ตัวเลือก 3 แนวคิด ผูเขียนเปรียบเทียบใหเห็นวาประเทศอื่นประสบภัยที่รายแรงกวาเรา ดังนั้น เราจึงไมควรทอแท
  • 8. 6 2. ความสามารถทางการคิดคํานวณ (Numerical Ability) ลักษณะขอสอบ ความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร เปาหมาย 1. ทักษะการใช Operations พื้นฐาน เชน การบวก ลบ คูณ หาร การถอดราก และการยกกําลัง และความสามารถในการตีความและแกปญหาโจทย ที่ต องอาศัยพื้นฐานความเขาใจในความคิดรวบยอด 2. หลักการในคณิตศาสตรระดับเบืองตน เชน เศษสวน ทศนิยม รอยละ กําไร/ขาดทุน ระยะทาง พื้นที่ ปริมาตร เวลา สมการ เรขาคณิตเบื้องตน พีชคณิตเชิงเสนขั้นพื้นฐาน และ กราฟ ตัวอยางขอสอบ กําหนด ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วที่มี AB = AC ,X มีคาเทากับกี่องศา 1. 35 2. 50 3. 55 4. 60 5. 70 คําตอบ ตัวเลือก 5 แนวคิด ใชสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว มุม B และ C เทากับ 55 และผลบวกของมุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา ดังนั้น X จึงมีคาเทากับ 180-110 = 70 องศา
  • 9. 7 ลักษณะขอสอบ ความสามารถดานการเปรียบเทียบเชิงปริมาณ เปาหมาย เปรียบเทียบ 2 ปริมาณที่กําหนดให ปริมาณแรกจะอยูในคอลัมน A และปริมาณ หลังอยูในคอลัมนB และตอบตามตัวเลือกดังนี้ เลือกตอบขอ 1 ถาปริมาณในคอลัมนA มากกวา ปริมาณในคอลัมนB เลือกตอบขอ 2 ถาปริมาณในคอลัมนA นอยกวา ปริมาณในคอลัมนB เลือกตอบขอ 3 ถาปริมาณในคอลัมนทั้งสองเทากัน เลือกตอบขอ 4 ถาขอมูลที่กําหนดใหไมเพียงพอที่จะสรุปได ตัวอยางขอสอบ คอลัมน A 1. คอลัมนB 2+5 (2)(5) 2. a 6 2a 1.คําตอบ เลือกคําตอบขอ 2 แนวคิด ปริมาณในคอลัมน A มีคานอยกวาปริมาณในคอลัมน B 2.คําตอบ เลือกคําตอบขอ 3 แนวคิด ปริมาณในคอลัมน A และในคอลัมนB มีคาเทากัน = b 4 3b
  • 10. 8 ลักษณะขอสอบ ความสามารถในการตีความขอมูล เปาหมาย การอาน และวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ ที่เสนอในรูปแบบตาง ๆ เชน ตาราง แผนภูมิ กราฟ สมการ หรือประโยคสัญลักษณทางคณิตศาสตร ตัวอยางขอสอบ การประเมินความเสียหายตอพืชผลเกษตรในป 2553 ประมาณการผลผลิต ความเสียหายตอป 2553 ราคาผลผลิต พืชเกษตร (ลานตัน) (ลานตัน) (บาทตอตัน) ม.ค.- มิ.ย. ก.ค.- ธ.ค. 53 53 ขาวนาป 19.07 19.96 0.6 4,585 ออยโรงงาน 12.50 10.65 1.8 580 มันสําปะหลัง 6.89 6.51 1.2 1,870 ขาวโพดเลี้ยงสัตว 4.12 3.98 0.2 4,963 ถั่วเหลือง 4.05 4.03 0.1 2,740 ถั่งลิสง 2.16 2.96 0.08 3,660 1. ผลผลิตทางการเกษตรชนิดใดมีมูลคาความเสียหายนอยที่สุดในป 2553 1. ออยโรงงาน 2. มันสําปะหลัง 3. ขาวโพดเลี้ยงสัตว 4. ถั่วเหลือง 5. ถั่วลิสง คําตอบ ตัวเลือก 5 แนวคิด ความเสียหายตอป 2553 ของถั่วลิสงอยูที่ 80,000 ตัน 2. พืชเกษตรชนิดใดบางเมื่อรวมกันแลวมีมูลคาความเสียหายไมถึงครึ่งหนึ่งของมูลคาความเสียหายทั้งหมด 1. ขาวนาป และมันสําปะหลัง 2. ขาวนาป ออยโรงงาน และถั่วลิสง 3. มันสําปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว ถั่วเหลือง และถั่วลิสง 4. ออยโรงงาน มันสําปะหลัง และถั่วเหลือง 5. ขาวโพดเลี้ยงสัตว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง และขาวนาป คําตอบ ตัวเลือก 1 แนวคิด มูลคาความเสียหายทั้งหมด คือ 3.98 ลานตัน ดังนั้นมูลคาความเสียหายครึ่งหนึ่ง คือ 1.99 ลานตัน ขาวนาป และมัน สําปะหลังมูลคาความเสียหายรวม 1.8 ลานตัน
  • 11. 9 ลักษณะขอสอบ การประเมินความเพียงพอของขอมูล เปาหมาย คําถาม 1 คําถาม และขอมูลที่กําหนดให 2 รายการ โดยมีอักษร (ก) และ (ข) กํากับ จะตองพิจารณาขอมูลแตละรายการวาเพียงพอสําหรับการตอบคําถามที่ กําหนดใหหรือไม การเลือกตอบใหทําตามเงื่อนไขตอไปนี้ เลือกตอบขอ 1 ถาขอมูลรายการ (ก) เปนขอมูลเดียวที่เพียงพอในการตอบคําถาม เลือกตอบขอ 2 ถาขอมูลรายการ (ข) เปนขอมูลเดียวที่เพียงพอในการตอบคําถาม เลือกตอบขอ 3 ถาตองการใชขอมูลทั้งสองรายการรวมกันจึงเพียงพอในการตอบ คําถาม เลือกตอบขอ 4 ถาขอมูลรายการ (ก) หรือ (ข) เพียงขอใดขอหนึ่งก็เพียงพอในการ ตอบคําถาม เลือกตอบขอ 5 ถาใชขอมูลทั้งสองรายการรวมกันแลว ยังไมเพียงพอในการตอบ คําถาม ตัวอยางขอสอบ คําถาม จากรูป ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน มีดานยาวดานละ 10 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABE ขอมูล (ก) AC = 16 ซ.ม. (ข) BD = 12 ซ.ม. คําตอบ เลือกตอบขอ 4 แนวคิด ถาใชขอมูลรายการ (ก) เพียงขอเดียวก็สามารถตอบคําถามได และถาขอมูลรายการ (ข) เพียงขอเดียวก็สามารถตอบคําถามได เชนกัน ดังนั้น ใชขอมูลรายการ (ก) หรือ (ข) เพียงขอใดขอหนึ่งก็เพียงพอในการตอบคําถาม
  • 12. 10 3. ความสามารถเชิงวิเคราะห (Analytical Ability) ลักษณะขอสอบ การใชเหตุผลเชิงตรรกะและเชิงวิเคราะหทาง ภาษา เปาหมาย ตอบคําถาม จากคําบรรยายสถานการณหรือกลุมขอความที่ใหขอมูลเกี่ยวกับสถาน การณ  ตัวอยางขอสอบ สถานการณ ตุกตา A B C D และ E วางเรียงกัน โดยที่ A วางอยูหลังสุด D อยูติดกับ B โดยอยูหนา B C อยูติดกับ B โดยอยูหนา E คําถาม ตุกตาตัวใดบางวางอยูหลังตุกตา B 1. E และ D 2. D และ A 3. D และ C 4. C E และ A 5. D C และ E คําตอบ ตัวเลือก 4 แนวคิด สถานการณที่กําหนดให สามารถเรียงลําดับตุกตาไดดังนี้ D B C E A และตุกตาที่อยูหลัง B มี C E A
  • 13. 11 ลักษณะขอสอบ การวิเคราะหแผนภูมิเชิงตรรกะ เปาหมาย ใหหาความสัมพันธระหวางวงกลมกับสิ่งที่กําหนดให ดังนี้ แทน ทั้งหมดของสิ่งหนึ่งเปนประเภทหนึ่งในอีกสิ่งหนึ่ง แทน ทั้งสองสิ่งมีบางสวนเปนประเภทเดียวกัน และมีบาง สวนเปนคนละประเภทกัน แทน ทั้งสองสิ่งเปนคนละประเภทกัน ตัวอยางขอสอบ สัตว วัว พืช คําตอบ แนวคิด วัวเปนสัตวประเภทหนึ่ง แตพืชเปนอีกประเภทหนึ่งซึ่งไมใชทั้งวัวหรือสัตว วัว สัตว พืช สิ่งมีชีวิต คําตอบ แนวคิด วัวเปนสัตวประเภทหนึ่ง พืชเปนอีกประเภทหนึ่ง แตทั้งวัว สัตว และพืช ตางก็เปนสิ่งมีชีวิต
  • 14. 12 ลักษณะขอสอบ การวิเคราะหเชิงภาพหรือสัญลักษณ เปาหมาย วิเคราะหความสัมพันธระหวางภาพหรือสัญลักษณ ตัวอยางขอสอบ อุปมาอุปไมยดวยรูปภาพ การตีความแตละภาพวิเคราะหความสัมพันธระหวางภาพที่กําหนดใหและใชความสัมพันธที่วิเคราะหไดกับ ภาพอื่น ๆ คําตอบ ตัวเลือก 4 แนวคิด ความสัมพันธรูปที่กําหนด คือ รูปหนึ่งเปนรูปเต็มและสวาง อีกรูปหนึ่งเปนรูปขนาดครึ่งหนึ่งของรูปเต็มและทึบ อนุกรมภาพ จะกําหนดอนุกรมภาพให 1 ชุด ซึ่งมี 3 ภาพ ระหวาง 3 ภาพนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะตอเนื่อง จากภาพหนึ่งไปอีก ภาพหนึ่ง ซึ่งจะตองวิเคราะหความตอเนื่องของอนุกรมภาพเพื่อหากฎเกณฑของความเปลี่ยนแปลง แลวใชกฎเกณฑนั้นไปพยากรณ ความเปลี่ยนแปลงของอนุกรมภาพชุดอื่น คําตอบ ตัวเลือก 2 แนวคิด การเปลี่ยนแปลงของตําแหนงสี่เหลี่ยมทึบทั้งหมด เปนการเปลี่ยนแปลงครั้งละหนึ่งตําแหนงเปลี่ยนตําแหนงตามเข็มนาฬิกา
  • 15. 13 การจัดประเภทภาพ การวิเคราะหองคประกอบของภาพที่กําหนดให เพื่อพิจารณาเลือกภาพที่มองคประกอบของภาพเหมือนกัน ี คําตอบ ตัวเลือก 1 แนวคิด องคประกอบภาพคือ มีวงกลมทึบ 2 วง อยูดานเดียวกันของเสนตรงและอยูหางกันตามความยาวของเสนตรง อนุกรมภาพ 2 มิติ การหาคําตอบโดดยพิจารณาหาความสัมพันธของภาพทั้งในแนวตั้ง และแนวนอน เมื่อพบความสัมพันธ แลวจึงเลือกภาพคําตอบที่เหมาะสม คําตอบ ตัวเลือก 3 แนวคิด พิจารณาหาความสัมพันธไดทั้ง 2 ทิศทาง คือ ทิศทางตามแนวตั้ง และทิศทางตามแนวนอน ความสัมพันธของภาพที่ ปรากฏในตัวอยาง คือเมื่อนําสองภาพแรกมารวมกันจะไดภาพที่สาม
  • 16. 14 แบบทดสอบ 1. ความสามารถทางภาษา (Verbal Ability) การเติมความใหสมบูรณ (Sentence Completion) คําสั่ง สําหรับปญหาแตละขอตอไปนี้ จงเลือกคําหรือกลุมคําที่จะทําใหขอความที่กําหนดใหมีใจความสมบูรณถูกตองที่สุด ขอ 1 _______ _______ ทางวิทยาการที่เปนอยูทุกวันนี้คงจะเกิดขึ้นไมไดถาหากปราศจาก _____ _______ ระหวางศาสตรสาขาตาง ๆ ก. ความคิดเห็น ... ความโนมเอียง ข. ความกาวหนา ... ความรวมมือ ค. อิทธิพล ... ความขัดแยง ง. ความลมเหลว ... การแขงขัน จ. ความชอบธรรม ... ความสมดุล ขอ 2 เอดส คือกลุมอาการที่เกิดจาก ระบบภูมิคุมกัน หรือ ___________ ตอตานเชื้อโรคของรางกายถูกทําลาย ทําใหความสามารถของ รางกาย ในการปองกันการติดเชื้อชนิดตาง ๆ ___ _______ หรือลดนอยลง ก. เงื่อนไข ... สึกหรอ ข. ปจจัย ... บั่นทอน ค. กลไก ... บกพรอง ง. ยุทธการ ... เพิ่มมากขึ้น จ. กระบวนการ ... สาบสูญ ขอ 3 การที่กลุมประเทศโอเปค ____ _______ ปริมาณนํ้ามันที่ผลิตในแตละวัน ทําใหเกิดภาวะขาดแคลนเชื้อเพลิงขึ้นในหลายภูมิภาคใน โลก จนรัฐบาลบางประเทศตองดําเนินมาตรการ ___________ นํ้ามัน โดยใหหนวยงานของรัฐเขาควบคุมธุรกิจการคานํ้ามันทั่วประเทศ ก. เปลี่ยนแปลง หมุนเวียน ข. รักษาระดับ ลดคุณภาพ ค. เปดเผย ประหยัด ง. จํากัด ปนสวน จ. ปกปด ลดราคา ขอ 4 แมวารัฐบาลหลายประเทศไดพยายามปรับปรุง ___________ สตรีใหดีขึ้นมาระดับหนึ่งก็ตาม แตปญหาดาน ___________ ทาง โอกาสความกาวหนาในอาชีพการงานของสตรียังมีอยูในทุกสังคม ก. คุณภาพ ... ความแปรปรวน ข. สถานภาพ ... ความไมเสมอภาค ค. เสรีภาพ ... ความเสียสละ ง. เสถียรภาพ ... ความลงตัว จ. เอกลักษณ ... ความคลองตัว
  • 17. 15 ขอ 5 ในรางพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ฉบับใหม ไดมีการ ___________ สิ่งบันทึกเสียงออกจากโสตทัศนวัสดุอยางชัดเจน และมิไดมี ขอความใดในรางพระราชบัญญัติที่ยินยอมใหผูประกอบการสถานเริงรมยใชสิ่งบันทึกเสียงโดยมิตองขออนุญาตจากเจาของ ___________ กอน ก. ตัดทอน ... อุปกรณ ข. ไถถอน ... สถานที่ ค. จําแนก ... กรรมสิทธิ์ ง. เคลื่อนยาย ... ผลประโยชน จ. คัดเลือก ... ทรัพยสิน ขอ 6 ภาคใตมีลักษณะทางภูมิศาสตรประการหนึ่งที่ ____ _______ ภาคอื่นคือเปนภาคเปด ขนาบดวยทะเลทั้งสองดาน ทําใหติดตอสัม พันธกับโลกภายนอกได อยาง ____ _______ มาตลอดประวัติศาสตร ก. แตกตางไปจาก ... ตอเนื่อง ข. เสียเปรียบ ... จํากัด ค. คลายคลึง ... สมํ่าเสมอ ง. เอาเปรียบ ... กวางขวาง จ. มีผลกระทบตอ ... เสรี
  • 18. 16 อุปมาอุปไมยทางภาษา (Word Analogy) คําสั่ง ในแตละปญหาตอไปนี้ โจทยจะกําหนดคําให 1 คู จงวิเคราะหความสัมพันธระหวางคูคําที่กําหนดให และเลือกคูคําจาก ขอเลือกที่ทานเห็นวามีความสัมพันธเหมือนหรือใกลเคียงกับคูคําหรือกลุมคําที่กําหนดให มากที่สุด ขอ 1 อากาศ : เครื่องบิน ก. แผนดิน : ไสเดือน ข. อุกาบาต : อวกาศ ค. ปากนํ้า : สันดอน ง. มหาสมุทร : เรือดํานํ้า จ. เพดาน : จิ้งจก ขอ 2 เครงเครียด : สันทนาการ ก. เศราโศก : นํ้าตา ข. หิว : งานเลี้ยง ค. ออนเพลีย : การพักผอน ง. เกียจคราน : ความยากจน จ. เปยกชื้น : ฤดูฝน ขอ 3 ปาฐกถา : อารัมภบท ก. รัฐมนตรี : นักการเมือง ข. บัณฑิต : เสื้อครุย ค. ปุจฉา : วิสัชนา ง. ตํารา : คํานํา จ. ปญญา : ปริศนา ขอ 4 ไพลิน : รัตนชาติ ก. จีวร : รัตนตรัย ข. อบเชย : เครื่องเทศ ค. ผลึกแกว : โปรงแสง ง. มรดก : พินัยกรรม จ. สินสอด : สมรส
  • 19. 17 การอานอยางมีวิจารณญาณ (Critical Reading) คําสั่ง จงอานขอความตอไปนี้ แลวตอบคําถามตาง ๆ ที่ตามมา โดยเลือกคําตอบที่ทานเห็นวาที่ถูกตองที่สุดจากขอเลือกที่กําหนดให คําถามเกี่ยวกับตรรกะและการใหเหตุผล ในการศึกษาถึงผลกระทบทั่วไปของความผันผวนของราคานํ้ามัน นักวิเคราะหหลายคนยืนยันวา การ เพิ่มขึ้นของราคานํ้ามันมีผลกระทบในทางลบตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจและเพิ่มการขาดดุลการคาของ ประเทศอุตสาหกรรมมากกวาประเทศโลกที่สาม ซึ่งมีอัตราเฉลี่ยการใชพลังงานตอคนตํ่ากวาประเทศ อุตสาหกรรม ขอ 1 ขอความใดตอไปนี้ ซึ่งถาหากเปนความจริง จะทําใหคํายืนยันของนักวิเคราะหมีนํ้าหนักนอยลง ก. การขึ้นลงอยางรวดเร็วของราคานํ้ามันทําใหนักลงทุนไมกลาลงทุนในธุรกิจแสวงหาแหลงนํ้ามันใหม ๆ เพราะการพยากรณผล กําไรจากการลงทุนกระทําไดยาก ข. ปริมาณการขาดดุลการคาสะสมของประเทศดอยพัฒนามีอัตราสูงกวาประเทศอุตสาหกรรมที่ตองอาศัยนํ้ามันนําเขาจาก ภายนอก ค. ประเทศผูผลิตนํ้ามันมีรายไดเขาประเทศลดนอยลง ทําใหกําลังซื้อสินคาจากประเทศอุตสาหกรรมและประเทศดอยพัฒนาลดลง ง. ประเทศโลกที่สามใชนํ้ามันเพื่อจุดประสงคที่จําเปนจริง ๆเทานั้น ดังนั้นจึงไมสามารถลดปริมาณการใชนํ้ามันลงจากที่เปนอยูได แมวาราคานํ้ามันในตลาดโลกจะเพิ่มสูงขึ้นก็ตาม จ. เมื่อราคานํ้ามันตกตํ่าลง บริษัทที่มีรายไดจากการผลิตนํ้ามันดิบมากกวาจากการกลั่นและจําหนายนํ้ามัน จะมีภาษีที่ตองชําระ ลดลง คําถามเกี่ยวกับการนําแนวความคิดหรือขอสรุปในบทความไปประยุกตใชในสถานการณอื่น ๆ ในป 1930 จํานวนผูอยูอาศัยตอ 1 ครัวเรือนโดยเฉลี่ยมีคาเทากับ 4.1 อัตราการอยูอาศัยตอครัวเรือนลด เหลือ 3.5 ในป 1950 และ 3.1 ในป 1970 และทุกวันนี้มีรายงานวาจํานวนผูอยูอาศัยในแตละครัวเรือนเหลือเพียง 2.8 คนเทานั้น ดูเหมือนวาแนวโนมของขนาดของครัวเรือนจะเล็กลงเรื่อย ๆ ขอ 2 ขอความตอไปนี้ ซึ่งถาหากเปนความจริง จะชวยอธิบายสาเหตุของแนวโนมดังกลาว ยกเวนขอใด ก. อัตราการหยารางไดเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ข. อัตราการเกิดไดลดนอยลงตามลําดับ ค. การสงคนแกเฒาไปอยูสถานสงเคราะหคนชราไดรับการยอมรับจากสังคมมากขึ้น ง. ผลประโยชนจากการลดหยอนภาษีสําหรับครอบครัวใหญลดนอยลง จ. จํานวนผูใชบริการสถานเลี้ยงดูเด็กเล็กระหวางเวลาทํางานไดเพิ่มมากขึ้น
  • 20. 18 คําถามเกี่ยวกับสาระหรือแนวความคิดที่เปนนัยพาดพิงของบทความ ในวงการธุรกิจ วิชาการ หรืออาชีพชั้นสูงอื่น ๆ ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางเปนเกียรติและศักดิ์ศรีที่ได รับความสําคัญมาก แตอยางไรก็ตาม นักเศรษฐศาสตรที่ดีจะตองมีความรูดานการปกครอง สังคมวิทยา และ จิตวิทยา นักเศรษฐศาสตรที่มีผลงานทางวิชาการที่มีลักษณะจํากัดในวงแคบ ยากที่จะเปนที่ยอมรับนับถือทั้งใน และนอกวงการ ขอ 3 ขอใดตอไปนี้แสดงถึงความเชื่อพื้นฐานของผูเขียนขอความขางตนนี้ ก. วงการอาชีพชั้นสูงทุกวันนี้ใหความสําคัญตอความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขามากเกินไป ข. นักศึกษาที่เลือกเรียนสาขาวิชา เศรษฐศาสตร โดยทั่วไปแลวจะมีพื้นฐานความรูในศาสตรสาขาอื่น ๆ ดวย ค. นักเศรษฐศาสตรที่ดีจะตองใหความสําคัญอันดับแรกตอเกียรติและศักดิ์ศรีที่ไดมาจากความสําเร็จในวิชาชีพ ง. ผูที่จะประกอบอาชีพดานการปกครอง สังคมวิทยา และจิตวิทยา ควรมีพื้นฐานความรูที่ดีทางเศรษฐศาสตรดวย จ. พัฒนาการในสาขาวิชาชีพชั้นสูงอื่น ๆ มีอิทธิพลสําคัญตอปญหาหรือปรากฏการณที่นักเศรษฐศาสตรศึกษา การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของผลผลิต ซึ่งวัดจากปริมาณของสินคาและการบริการที่ผลิตไดตอ 1 ชั่วโมง ของการวาจาง จะมีการเปรียบเทียบระหวางปตอป ในป 1982 ผลผลิตของแรงงานในภาคเอกชนที่ไมรวม การเกษตร มีปริมาณสูงกวาปที่ผานมารอยละ 5 ในขณะที่ผลผลิตในภาคเอกชนในภาพรวมของป 1982 ไดเพิ่ม ขึ้นรอยละ 4.8 จากป 1981 ซึ่งเทากับ 2 เทาของการเพิ่มขึ้นจากปกอนหนานั้น ขอ 4 ถาขอความขางตนนี้เปนขอมูลที่ถูกตอง ขอใดตอไปนี้เปนจริง ก. คนงานในภาคเกษตรเอกชนที่เปลี่ยนอาชีพไปทํางานอยางอื่น ในป 1981 มีจํานวนนอยกวาในป 1982 ข. อัตราคาจางตอชั่วโมงของแรงงานในภาคเอกชนที่ไมรวมเกษตรกรรมในป 1982 สูงกวาป 1981 ค. ผลผลิตภาคเกษตรเอกชนในป 1982 เพิ่มขึ้น จากป 1981 ไมถึงรอยละ 4.8 ง. การเพิ่มของผลกําไรจากผลผลิตในธุรกิจเอกชนนอกภาคเกษตร มีคานอยกวาการเพิ่มผลกําไรที่ไดจากภาคเกษตร ในป 1982 จ. ในธุรกิจเอกชนในป 1982 การเพิ่มผลผลิตในภาคเกษตรมีปริมาณสูงกวาการเพิ่มของนอกภาคเกษตร
  • 21. 19 2. ความสามารถทางการคิดคํานวณ (Numerical Ability) ความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร(Basic Mathematical Ability) คําสั่ง สําหรับปญหาแตละขอตอไปนี้ จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดจากขอเลือกที่กําหนดให
  • 22. 20
  • 23. 21 คําสั่ง ชุดตัวเลขที่กําหนดใหในปญหาแตละขอตอไปนี้ จะประกอบดวยตัวเลข 6 จํานวน โดยจะเวนตัวเลขในอันดับที่สามไว จง พิจารณาขอเลือกที่กําหนดใหวาขอใดจะเติมแทนที่ ชองวางไดอยางเหมาะสมที่สุด การเปรียบเทียบเชิงปริมาณ (Quantitative Comparison) คําสั่ง ในปญหาแตละขอตอไปนี้ จะมีปริมาณที่กําหนดให2 จํานวน ปริมาณแรกจะอยูใน คอลัมม A และอีกปริมาณอยูใน คอลัมม B จงเปรียบเทียบ 2 ปริมาณนี้และตอบโดยเลือกดังนี้ เลือก ก. ถาปริมาณใน คอลัมม A มีขนาดใหญกวา เลือก ข. ถาปริมาณใน คอลัมม B มีขนาดใหญกวา เลือก ค. ถาปริมาณทั้งสองมีขนาดเทากัน เลือก ง. ถาขอมูลที่กําหนดใหไมเพียงพอที่จะเปรียบเทียบ
  • 24. 22 การตีความขอมูล (Data Interpretation) คําสั่ง จงศึกษาตารางตอไปนี้และตอบคําถามที่ตามมาโดยการเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด จากขอเลือกที่กําหนดให ประเทศใดบางที่มีมูลคาการสงออกนํ้ามันในป 1974 เพิ่มขึ้นจากป 1973 นอยกวา 300 % ก. เวเนซูเอลา คูเวต แอลจีเรีย และ ลิเบีย ข. แอลจีเรีย ลิ เบีย อินโดนีเซีย และ คูเวต ค. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส อินโดนีเซีย และ แอลจีเรีย ง. แอลจีเรีย เวเนซูเอลา และลิเบีย จ. ลิเบีย คูเวต และ อินโดนีเซีย
  • 25. 23 ในป 1975 ประเทศใดบางมีมูลคาการสงออกนํ้ามันรวมกันแลว มีคามากกวาครึ่งหนึ่งของมูลคาการสงออกนํ้ามันของประเทศกลุม โอเปคทั้งหมด ก. ซาอุดิอาราเบีย อิรัค และเวเนซูเอลา ข. อิหราน อิรัค และเวเนซูเอลา ค. อิหราน อิรัค และซาอุดิอาราเบีย ง. คูเวต สหรัฐอาหรับเอมิเรตส๎ไนจี เรีย และลิเบีย จ. แอลจีเรีย ลิ เบีย คูเวต และอิรัค ขอสรุปขอใดตอไปนี้สอดคลองกับขอมูลในตารางที่สุด ก. ทุกประเทศในกลุมโอเปคมีรายไดเพิ่มจากการสงออกนํ้ามันในป 1974 แตประเทศสวนใหญมีรายไดจากการสงออกนํ้ามันลดลง ในป 1975 ข. อัตราการเพิ่มของรายไดจากการสงออกนํ้ามันของประเทศกลุมโอเปคบางประเทศในป 1975 สูงกวาที่เพิ่มขึ้นในป 1974 ค. รายไดจากการสงออกนํ้ามันของประเทศกลุมโอเปคในป 1974 มีมูลคามากวารายไดในป 1973 และป 1975 รวมกัน ง. ประเทศสวนใหญในกลุมโอเปคมีรายไดจากการสงออกนํ้ามันเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่องทุกป จ. ประเทศในกลุมโอเปคมีรายไดจากการสงออกนํ้ามันโดยเฉลี่ยในรอบ 3 ป ไมแตกตางกันมากนัก การประเมินความเพียงพอของขอมูล (Evaluation ofData Sufficiency) คําสั่ง ปญหาแตละขอตอไปนี้จะประกอบดวยคําถาม 1 คําถามและขอมูลที่กําหนดให 2 รายการโดยมีหมายเลข (1) และ (2) กํากับ จงพิจารณาขอมูลแตละรายการวาเพียงพอตอการตอบคําถามที่กําหนดใหหรือไม การเลือกตอบใหทํา ตามเงื่อนไขตอไปนี้ เลือกขอ ก. ถาขอมูลรายการที่ (1) เพียงขอเดียวเทานั้นเพียงพอตอการตอบคําถาม เลือกขอ ข. ถาขอมูลรายการที่ (2) เพียงขอเดียวเทานั้นเพียงพอตอการตอบคําถาม เลือกขอ ค. ถาตองใชขอมูลทั้งสองรายการรวมกัน จึงเพียงพอตอการตอบคําถาม เลือกขอ ง. ถาขอมูลรายการที่ (1) หรือ (2) เพียงอันใดอันหนึ่งก็เพียงพอตอการตอบคําถาม เลือกขอ จ. ถาขอมูลทั้งสองรายการรวมกันแลว ยังไมเพียงพอตอการตอบคําถาม คําถาม : คาของ x เทากับเทาไร ขอมูล : (1) y - x = 7 (2) 3x + y = 39
  • 26. 24 คําถาม : ถา a, b, และ c เปนจํานวนเต็ม ทั้งสามจะเปนจํานวนที่เรียงติดตอกันหรือไม ขอมูล : (1) a + b + c = 15 (2) a(b + c) = ab + ac คําถาม : ลวดเสนหนึ่งยาว 22 เมตร ตัดเปน 3 ทอนทอนที่ยาวที่สุดจะมีความยาวเทาไร ขอมูล : (1) ทอนที่ยาวที่สุดยาวกวาทอนที่เหลือทอนละ1 เมตร (2) มีทอนหนึ่งยาว 7 เมตร คําถาม : ตําบลนางามมีประชากร 200 ครอบครัว มีกี่ครอบครัวที่มีลูกสาว 2 คนพอดี ขอมูล : (1) 150 ครอบครัวมีลูกสาวอยางนอยครอบครัวละ 1 คน (2) 50 ครอบครัวมีลูกสาวตั้งแต 3 คนขึ้นไป คําถาม : คาของ x มากกวา 0 หรือไม ขอมูล : (1) x4 - 16 = 0 (2) x3 - 8 =0 คําถาม : สมศรีทํางานใหกับบริษัทเอกชนแหงหนึ่งเปนเวลา 6 ปติดตอกัน สมศรีไดรับเงินเดือนเพิ่มขึ้น 200 บาทตอเดือนทุก ๆ สิ้นป สมศรีไดเงินเดือนปแรกเดือนละเทาไร ขอมูล : (1) เงินเดือนในปสุดทายของสมศรีมากเปน 1.2 เทาของเงินเดือนปแรก (2) ในปที่ 4 สมศรีไดเงินเดือนเดือนละ 5600 บาท
  • 27. 25 คําถาม : รอยละ 50 ของประชากรเมืองนิวพอรต มีผมสีทองและนัยนตาสีฟา ประชากรเมืองนี้รอยละเทาไรมีนัยนตาสีฟาแตไมมีผมสี ทอง ขอมูล : (1) รอยละ 70 ของประชากรเมืองนี้มีผมสีทอง (2) รอยละ 60 ของประชากรเมืองนี้มีนัยนตาสีฟา คําถาม : วิทยุเครื่องหนึ่ง ติดราคาขายในเดือนแรก 3000 บาท ในเดือนตอมาราคาลดลง m เปอรเซ็นต และในเดือนที่ 3 ราคาวิทยุลดลง มา อีก n เปอรเซ็นต นายประสิทธิ์ มีเงิน 2600 บาท ในเดือนที่ 3 นายประสิทธิ์มีเงินพอที่จะซื้อวิทยุ เครื่องนี้หรือไม ขอมูล : (1) n = 10 (2) m = 15 คําถาม : ถาเปดทอระบายนํ้า A และ B พรอม ๆ กัน นํ้าจะไหลออกจากสระหมดภายใน 1 ชั่วโมง ถาเปดทอระบายนํ้า A เพียง ทอเดียว จะใชเวลาเทาไร นํ้าจึงไหลออกหมดสระ ขอมูล : (1) A ระบายนํ้าไดเร็วเปน 2 เทาของ B (2) ถาเปด B เพียงทอเดียว นํ้าไหลออกหมดสระใน 3 ชั่วโมง
  • 28. 26 3. ความสามารถเชิงวิเคราะห (Analytical Ability) การวิเคราะหเชิงภาษา (Verbal Analysis) คําสั่ง จงอานขอความหรือคําบรรยายสถานการณตอไปนี้ และตอบคําถามที่ตามมา โดยเลือกคําตอบที่ทานเห็นวาถูกตองที่สุดจาก ขอเลือกที่กําหนดให สถานการณที่ 1 จากการศึกษาวิจัยในเร็ว ๆ นี้ ไดมีการพบวาอาชญากรรมที่รุนแรงมักจะเกิดขึ้นในหนารอนมากกวาในหนาหนาว ดังนั้นถาเราสามารถ ควบคุมอุณหภูมิของอากาศโดยทั่วไปได ปญหาอาชญากรรมที่รุนแรงก็จะลดจํานวนลง ขอ 1 ขอใดบางตอไปนี้เปนความเชื่อพื้นฐานของผูกลาวขอความขางตนนี้ ขอ 1. ความสัมพันธระหวางสภาพอากาศและอัตราการเกิดอาชญากรรมเปนเพียงเรื่องบังเอิญเทานั้น ขอ 2. สภาพอากาศและอัตราการเกิดอาชญากรรมมีความสัมพันธเชิงเหตุและผลตอกัน ขอ 3. ความสัมพันธระหวางสภาพอากาศและอัตราการเกิดอาชญากรรมเปนสิ่งที่สามารถควบคุมได ก. ขอ 1. เทานั้น ข. ขอ 1. และ ขอ 2. เทานั้น ค. ขอ 2. เทานั้น ง. ขอ 2 และ ขอ 3. เทานั้น จ. ทั้ง ขอ 1. ขอ 2. และ ขอ 3. ขอ 2 ขอใดตอไปนี้ ซึ่งหากเปนความจริง จะทําใหขออางในสถานการณขางตนนี้มีนํ้าหนักมากขึ้น ก. อัตราการเกิดอาชญากรรมในประเทศแถบเสนศูนยสูตรสูงกวาประเทศแถบอบอุนอยางเดนชัด ข. จากการทดลองในหองปฏิบัติการ พบวาการเพิ่มอุณหภูมิใหสูงขึ้น ระดับความกาวราวของตัวอยางที่ทดลองจะสูงขึ้นตามดวย ค. ประเทศในเขตรอนสวนใหญเปนประเทศยากจน และความขาดแคลนมักจะเปนที่มาของปญหาโจรผูรายชุกชุม ง. ดวยความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการควบคุมสภาพอากาศทั่วไปเปนสิ่งที่สามารถทําไดในอนาคตอันใกล จ. การที่บรรยากาศชั้นโอโซนถูกทําลายลง ทําใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้นและฝนฟาไมตกตามฤดูกาล สถานการณที่ 2 นักการทูต 5 คน คือ P, Q, R, S, และ T เขารวมประชุมที่องคการระหวางประเทศแหงหนึ่งจัดขึ้น ขอมูลทางดานภาษาของนักการทูต ทั้ง 5 คน มีดังตอไปนี้ P สามารถใชภาษาอังกฤษ และ ภาษาเยอรมัน Q สามารถใช 3 ภาษา คือ ฝรั่งเศส อิตาลี และสเปน R สามารถใชภาษาเยอรมันเพียงภาษาเดียว S สามารถใช 3 ภาษา คือ อังกฤษ อิตาลี และ สเปน T สามารถใชภาษาฝรั่งเศส และ ภาษาเยอรมัน
  • 29. 27 ขอ 1 นักการทูตตอไปนี้สามารถพูดคุยกันไดโดยไมตองผานลามยกเวน คูใด ก. P กับ R ข. P กับ T ค. Q กับ S ง. Q กับ R จ. R กับ T ขอ 2 ในระหวางนักการทูตทั้ง 5 คนนี้ ภาษาใดใชสื่อสารกันไดมากที่สุด ก. อังกฤษ ข. ฝรั่งเศส ค. เยอรมัน ง. อิตาลี จ. สเปน ขอ 3 ถา S กับ T ตองเจรจากัน นักการทูตคนใดบางสามารถทําหนาที่เปนลามได ขอ 1. P ขอ 2. Q ขอ 3. R ก. ขอ 1. เทานั้น ข. ขอ 2. เทานั้น ค. ขอ 3. เทานั้น ง. ขอ 1. และ ขอ 2. เทานั้น จ. ทั้ง ขอ 1. ขอ 2. และ ขอ 3. สถานการณที่ 3 มีสามีภรรยา 4 คู ฝายสามีไดแก P, Q, R, และ S สวนฝายภรรยา ไดแก T, U, V, และ W แตยังไมทราบวาใครเปนคูสมรสของใคร ขอมูลเทาที่ทราบมีดังตอไปนี้ ภรรยาของ R อายุมากกวา U ภรรยาของ S อายุมากกวา W W เปนพี่นองทองเดียวกับ P T เปนภรรยาที่มีอายุนอยที่สุด R เปนเพื่อนเจาบาวในพิธีแตงงานของ W
  • 30. 28 ขอ 1 ถา Q และภรรยา มีบุตรชายดวยกัน ชื่อ Y ขอใดตอไปนี้ถูกตองที่สุด ก. T เปนปาหรือนาของ Y ข. V เปนปาหรือนาของ Y ค. Y เปนหลานของ P ง. U เปนมารดาของ Y จ. ไมมีขอใดถูก ขอ 2 ขอใดตอไปนี้ถูกตองตามขอมูลที่กําหนดใหในขางตน ก. ภรรยาของ R อายุนอยกวา V ข. ภรรยาของ R อายุนอยกวา W ค. ภรรยาของ P อายุนอยกวา U ง. ภรรยาของ S อายุมากกวา V จ. ภรรยาของ Q อายุมากกวา U ขอ 3 ถาสามีแตละคนอายุมากกวาภรรยาของตนเอง 2 ป ขอใดตอไปนี้ขัดแยงกับขอมูลที่กําหนดใหขางตน ก. R อายุมากกวา U ข. T อายุนอยที่สุดใน 8 คนนี้ ค. P อายุนอยกวา S ง. Q อายุนอยกวา P จ. V อายุนอยกวา R ขอ 4 ถาฝายภรรยาอายุเรียงจากนอยไปหามาก คือ 28, 30, 32และ 34 ป สวนฝายอายุฝายสามี คือ P : 27 ป, Q : 29 ป,R : 31 ป และ S : 33 ป ขอใดตอไปนี้ไมเปนจริง ก. T อายุมากกวาสามีตนเอง ข. V อายุมากกวาสามีตนเอง ค. U อายุนอยกวาสามีของ V ง. W อายุนอยกวาสามีของ U จ. T อายุนอยกวาสามีของ W
  • 31. 29 การวิเคราะหแผนภูมิเชิงตรรกะ (Logical Diagram) คําสั่ง สําหรับปญหาแตละขอตอไปนี้ จงเลือกภาพ ก. ข. ค.ง. หรือ จ. ที่แสดงความสัมพันธระหวางคํา หรือกลุมคําที่กําหนดใหไดดี ที่สุด (เครื่องเขียน) (พัดลม) (ปากกา) (ผลไม) (ทุเรียน) (ลําไย) (นักเรียนชาย) (นักกีฬาของโรงเรียน) (นักเรียนชั้น ม.ตน)
  • 32. 30 (เครื่องนุมหม) (สินคานําเขา) (ปจจัย 4) (เยาวชน) (วัยรุน) (ทารก) (อาชญากร) (โจรปลนธนาคาร) (โจรถนัดซาย) (นักบวช) (คนถือศีล) (คนที่มีศาสนา)
  • 33. 31 การวิเคราะหเชิงภาพและสัญลักษณ(Non-Verbal Analysis) อุปมาอุปไมยดวยภาพ (Figural Analogy) คําสั่ง ปญหาแตละขอตอไปนี้ โจทยจะกําหนดภาพให 3 ภาพจงพิจารณาหาความสัมพันธระหวาง 2 ภาพแรก และเลือกภาพจาก ขอเลือกที่กําหนดใหเพียงภาพเดียวที่ทานเห็นวามีความสัมพันธกับภาพที่ 3 เหมือนความสัมพันธกับภาพที่ 3 เหมือนความสัมพันธใน คูแรกมากที่สุด อนุกรมภาพ (Figural Series) คําสั่ง ในปญหาแตละขอตอไปนี้ จงศึกษาอนุกรมที่กําหนดใหแลวเลือกภาพจากขอเลือกที่กําหนดใหเพียงภาพเดียว ซึ่งมีความตอเนื่อง กับภาพที่กําหนดใหเหมือนในอนุกรม
  • 34. 32 การจัดประเภทภาพ (Figural Classification) คําสั่ง ในปญหาแตละขอตอไปนี้ จะมีภาพที่กําหนดให1 ภาพ ตามดวยกลุมภาพ 4 กลุม คือ ก. ข. ค. และง. แตละกลุมจะประกอบดวย 2 ภาพ จงวิเคราะหหากฎเกณฑที่ใชในการจัดกลุม แลวตัดสินวาภาพที่กําหนดใหในโจทยควรจะจัดเขากลุมใดไดอยางเหมาะสมที่สุด
  • 35. 33
  • 36. 34 อนุกรมภาพ 2 มิติ (Figural Matrices) คําสั่ง ในปญหาตอไปนี้ โจทยจะกําหนดภาพให 3 แถว แถวละ 3 ภาพ โดยเวนภาพสุดทายในแนวลางไว ศึกษาภาพเหลานี้ แลวเลือก ภาพจากขอที่กําหนดใหซึ่งทานคิดวาสามารถเติมลงในชองที่เวนวางไวไดอยางเหมาะสมที่สุด