SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
6
พันธสัญญาของพระเจ้า
ต่ออับราฮัม :
ปฐมกาล 12-25
วั ตถุประสงค์
การศึกษาบทเรียนบทนี้ช่วยให้ผู้เรียน :
•• ตระหนักถึงการต่อเนื่องกันและความสัมพันธ์กันระหว่าง
เรื่องราวของการเริ่มต้นกับเรื่องราวของบรรพบุรุษผู้น�ำของ
ชาวยิว
•• สามารถระบุส่วนส�ำคัญ ในเรื่องราวของบรรพบุรุษผู้น�ำ
ของชาวยิวได้
•• อธิบายประวัติศาสตร์ความเป็นมาของบรรพบุรุษของชาว
ยิวได้
•• พิจารณาหาความหมายส�ำคัญทางศาสนศาสตร์ในการทรง
เรียกของพระเจ้าที่มีต่ออับราฮัม ซึ่งเกี่ยวข้องกับแผนการ
ทั้งสิ้นในประวัติศาสตร์พระคัมภีร์
•• สามารถวิเคราะห์การด�ำเนินชีวิตในความเชื่อ และใช้
ตัวอย่างจากเหตุการณ์ในชีวิตของอับราฮัม
คำ� ที่ควรรู้จัก
อับราฮัม
เมืองเออร์
ชาวอาโมไรต์
ชาวฮีบรู
ฮาบีรู
เทราห์
ซาราห์
โลท
ฮาราน
เหล่าผู้น�ำของอิสราเอล
เมลคีเซเดค
เอล เอลยอน – พระเจ้าผู้ทรงสูงสุด
พันธสัญญา
ฮาการ์
เอล โรอิ – พระเจ้าผู้ทรงเห็น
ข้าพเจ้า
อิชมาเอล
เอล ชัดดาย – พระเจ้าผู้ทรง
มหิทธิฤทธิ์
พิธีเข้าสุหนัต
เอล โอลาม – พระเจ้าผู้ทรง
นิรันดร์กาล
อิสอัค
แคว้นโมริยาห์
เยโฮวายิเรห์ – พระเจ้าผู้ทรง
จัดเตรียม
การถวายอิสอัคเป็นเครื่องบูชา
เรเบคาห์
ค�ำถามประกอบการเรียน :
1.	 เหตุใดจึงเป็นสิ่งส�ำคัญที่แต่ละคนจะต้องเข้าใจ
อย่างกระจ่างแจ้งเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และ
ขนบธรรมเนียมประเพณีในอดีตเกี่ยวกับความเชื่อ
ของคนเหล่านั้น (โดยไม่ต้องค�ำนึงถึงเบื้องหลัง
ของความเชื่อคนแต่ละคน)
2.	 หากมีคนขอให้ท่านอธิบายหลักความเชื่อของท่าน
ท่านจะใช้เหตุการณ์ใดในการเริ่มต้นการอธิบาย
75
UNIT_2_06.indd 75 28/3/2011 19:19:34
สำ�รวจเบญจบรรณ76
เรื่องราวที่บันทึกในพระคัมภีร์ที่ต่อเนื่องมาจากเรื่องหอ
บาเบลนั้นจะให้ความส�ำคัญต่อการที่พระเจ้าทรงเสด็จลงมา
พบกับอับราฮัม เรื่องราวในพันธสัญญาเดิมของอิสราเอลนี้
เริ่มต้นด้วยสิ่งที่ปฏิบัติต่อกันมาของอับราฮัมและครอบครัว
ของท่านกับสัมพันธภาพพิเศษที่มีกับพระเจ้า เราจะไปสู่เรื่อง
ราวการเริ่มต้นของอิสราเอล ณ บัดนี้
เบื้องหลัง
เรื่องราวของผู้น�ำที่เป็นบรรพบุรุษนี้อยู่ใน
ตอนแรก ๆ ของช่วงสองพันปีก่อนคริสตกาล
เมื่อชาวอาโมไรต์ได้เข้าปกครองในดินแดนส่วน
ใหญ่ของเมโสโปเตเมียและซีเรีย-ปาเลสไตน์
(1950-1700ปีก่อนคริสตกาล) เราอาจประมาณ
คร่าว ๆ ถึงช่วงเวลาของอับราฮัมซึ่งน่าจะอยู่
ประมาณ1900-1800ปีก่อนคริสตกาลอับราฮัม
เป็นเชื้อสายของเชมบุตรชายหนึ่งในสามของโน
อาห์ (ปฐมกาล 10:1) อับราฮัมมีบ้านเกิดอยู่ที่
เมืองเออร์ เป็นชนบทที่อยู่ในใจกลางของทาง
ตอนใต้ของดินแดนเมโสโปเตเมีย(11:31) ท่าน
อยู่ในท่ามกลางกลุ่มชนอาโมไรต์/อารัม (ดู
เฉลยธรรมบัญญัติ26:5) ซึ่งชาวฮีบรูอาจจะเป็น
เพียงชนกลุ่มน้อยเท่านั้น(ปฐมกาล14:13) นัก
วิชาการบางท่านคิดว่าชาวฮีบรูเป็นกลุ่มสังคม
ชนชั้นที่ต�่ำกว่า ในดินแดนตะวันออกใกล้
โบราณนี้ ที่เรียกกันว่า ฮาบีรู
เทราห์ บิดาของอับราฮัม ได้พาครอบครัว
ย้ายจากเมืองเออร์และเดินทางมุ่งหน้าไปคานา
อัน(11:31) ทุกคนในครอบครัวรวมทั้งอับราฮัม
และภรรยา คือ นางซาราห์ และโลท หลาน
ชาย พวกเขาหยุดพักการเดินทางที่เมืองฮาราน
ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเมโสโปเตเมีย
ซึ่งเป็นที่ที่พวกเขาตั้งรกรากอาศัยอยู่
ของอับราฮัม อิสอัค และยาโคบ ทั้งสามเป็น
บรรพบุรุษที่ยิ่งใหญ่ของชนชาติอิสราเอลโครง
ร่างคร่าว ๆ ของพระธรรมปฐมกาลส่วนนี้ เป็น
ดังนี้ :
1.	 เรื่องราวของอับราฮัม (12:1-25:18)
2.	 เรื่องราวของยาโคบ (25:19-50:26)
เรื่องราวของยาโคบนี้รวมเอาเรื่องราวของ
อิสอัค ซึ่งบิดาของยาโคบ (บทที่ 26) และรวม
ทั้ง โยเซฟ บุตรของยาโคบ (บทที่ 37-50)
เรื่องราวของอับราฮัมเริ่มต้นด้วยพระบัญชา
ของพระเจ้า (การทรงเรียกของอับราฮัม) ซึ่งมา
ถึงอับรามในขณะที่ท่านอยู่ที่เมืองฮาราน(12:1-
4) พระเจ้าทรงบัญชาให้อับราม (ผู้ซึ่งต่อมา คือ
อับราฮัม[ดู17:5]) ให้ออกจากบ้านและเดินทาง
ไปยังดินแดนที่พระเจ้าจะทรงบอกให้รู้ สิ่งที่
ตามมาก็คือ พันธสัญญาของพระเจ้าที่ทรง
กระท�ำกับอับราฮัม ที่จะให้ท่านเป็นชนชาติใหญ่
และคนทั่วโลกจะได้พรเพราะอับราฮัม อับรา
ฮัมเชื่อฟังและท�ำตามพระบัญชา โดยออกจาก
เมืองฮารานเมื่อท่านอายุได้ 75 ปี อับราฮัมได้
พาภรรยาคือนางซาราห์โลทซึ่งเป็นหลานชาย
และบรรดาทรัพย์สิ่งของทั้งหมดไปกับท่าน อับ
ราฮัมเดินทางถึงเมืองเชเคมในคานาอัน พระเจ้า
ทรงส�ำแดงแก่อับราฮัมที่นั่น และสัญญาที่จะให้
ดินแดนแห่งนี้แก่พงศ์พันธุ์ของอับราฮัม จาก
เชเคม อับราฮัมเดินทางต่อลงไปทางใต้และตั้ง
เต็นท์ใกล้กับเบธเอล และต่อมาที่เนเกบ อับรา
ฮัมได้ตั้งแท่นบูชาในทุกที่ที่ท่านหยุดการเดิน
ทางเพื่อนมัสการพระเจ้า ผู้ทรงส�ำแดงพระองค์
อยู่เสมอ
การกันดารอาหารในคานาอันท�ำให้อับรา
ฮัมและครอบครัวต้องเดินทางลงทางใต้ไปยัง
อียิปต์ (12:10-20) เมื่อพวกเขาเข้าไปยังอียิปต์
อับราฮัมก็ท�ำการปลอมตัวเป็นพี่ชายของซาราห์
ฟาโรห์ทรงให้พานางซาราห์เข้ามาในวังและ
เนื้อหา
เรื่องราวของบรรพบุรุษของชาวยิว (ปฐม
กาล 12-50) เป็นบันทึกสรุปเหตุการณ์ในชีวิต
อับราฮัม : จากฮารานสู่
คานาอัน (12:1 – 14:24)
UNIT_2_06.indd 76 28/3/2011 19:19:34
พันธสัญญาของพระเจ้าต่ออับราฮัม : ปฐมกาล 12-25 77
มอบฝูงสัตว์จ�ำนวนมากพร้อมทั้งคนรับใช้ให้แก่
อับราฮัม อย่างไรก็ตาม พระเจ้าทรงท�ำให้เกิด
ภัยพิบัติร้ายแรงแก่ฟาโรห์และครอบครัว เหตุ
เพราะนางซาราห์ ฟาโรห์ได้รู้ความจริงเกี่ยว
กับนางซาราห์และทรงตรัสสั่งให้พวกเขาที่จะ
ออกไปจากเมืองพร้อมด้วยทรัพย์สมบัติทั้งหมด
ของพวกเขา
หลังจากอับราฮัมเดินทางกลับมายังคานา
อัน ท่านได้ท�ำข้อตกลงกับโลทเพื่อที่จะแยกไป
คนละทาง(13:1-18) อับราฮัมยินยอมให้หลาน
ชายที่จะเลือกดินแดนที่อุดมสมบูรณ์และมีน�้ำ
บริบูรณ์ใกล้กับแม่น�้ำจอร์แดน โลทตั้งเต็นท์
ใกล้เมืองโสโดม ส่วนอับราฮัมตั้งเต็นท์ที่คานา
“การก้าวออกไปของพระกิตติคุณ”
พระเจ้าได้ทรงสัญญาที่จะให้อับราฮัมเป็นพร“ให้แก่ทุกคนบน
แผ่นดิน” (12:3) พันธสัญญานี้มีความหมายต่อการเชื่อฟังและ
การวางใจของอับราฮัมในพระเจ้าที่จะน�ำไปสู่ชีวิตใหม่ส�ำหรับทุก
คนบนแผ่นดินโลก ค�ำอวยพรของอับราฮัมจะเป็นแรงดลใจให้
ชนชาติแสวงหาพระพรของพระเจ้าส�ำหรับชีวิตของพวกเขาเองโดย
ผ่านทางความเชื่อและการท�ำตาม อัครทูตเปาโลพบว่านี่เป็น
“แผนงานของการก้าวออกไปของพระกิตติคุณ” ซึ่งได้เชิญชวนให้
ทุกชนชาติที่จะแบ่งปันพระพรของอับราฮัมนี้โดยการติดตามแบบ
อย่างของท่าน (กาลาเทีย 3:8-9) จากมุมมองพระคัมภีร์ในเรื่อง
ความเชื่อ พันธสัญญาของพระเจ้าต่ออับราฮัมนับเป็นปัจจัยที่
ส�ำคัญที่สุดเพราะเป็นสิ่งที่มีความหมายต่อทั่วโลกด้วย
การเดินทางของอับราฮัมจากเมืองเออร์ไปยังคานาอันและการพักชั่วคราวในอียิปต์
ศ
UNIT_2_06.indd 77 28/3/2011 19:19:35
สำ�รวจเบญจบรรณ78
การท�ำพันธสัญญา
การท�ำพันธสัญญาเป็นข้อตกลงอย่างเป็นทางการและถูก
ต้องตามกฏหมายระหว่างสองฝ่าย พิธีกรรมการท�ำพันธสัญญา
ประกอบด้วยการท�ำสัตย์ปฏิญาณของทั้งสองฝ่าย พิธีกรรมการ
ถวายเครื่องบูชา และการรับประทานอาหารร่วมกันเพื่อเป็น
เครื่องหมายของการท�ำสัญญา พิธีกรรมการถวายเครื่องบูชานั้น
บางครั้งก็มีการแบ่งฝูงสัตว์ออกเป็นสองส่วน ตัวอย่างที่พบเห็น
ได้ในพระคัมภีร์ส�ำหรับการท�ำพิธีกรรมการท�ำพันธสัญญา
ระหว่างกลุ่มคนสองกลุ่มในสังคม ซึ่งเรียกว่า พันธสัญญาแห่ง
ความเสมอภาค (ดู ปฐมกาล 21:22-34; 26:17-33; 31:43-54)
พันธสัญญาของพระเจ้าซึ่งเน้นที่การเป็นพันธสัญญาที่ศักดิ์สิทธิ์
(พันธสัญญาที่พระเจ้าทรงกระท�ำกับ โนอาห์ อับราฮัม และดา
วิด) อาจจะเรียกได้ว่าเป็นพันธสัญญาที่มีก�ำหนด พันธสัญญา
ของพระเจ้าที่มีต่อชนชาติอิสราเอลที่ภูเขาซีนายให้ความส�ำคัญ
ในเงื่อนไขที่พระองค์ทรงแสดงออกเพื่อสร้างสัมพันธภาพกับ
ชนชาติของพระองค์ พันธสัญญาที่มีเงื่อนไขนั้น จ�ำเป็นต้องให้
ผู้ที่ได้รับประโยชน์จากพันธสัญญานั้นแสดงความสัตย์ซื่อและ
ความจงรักภักดีต่อผู้ท�ำพันธสัญญา
อันและเมืองเฮโบรนก็ได้เป็นบ้านของท่าน ต่อ
มา ด้วยความพยายามอย่างกล้าหาญ ท่านได้
พาโลทและบรรดาประชาชนของท่านกลับมา
จากกษัตริย์ต่างชาติที่มารุกรานเมืองโสโดม
(14:1-24) การกลับมาด้วยชัยชนะอับราฮัมก็ได้
พบกับเมลคีเซเดค ผู้เป็นทั้งกษัตริย์ของซาเลม
และปุโรหิตของพระเจ้าสูงสุด (14:18-20) เมล
คีเซเดคได้อวยพรอับราฮัมในพระนามของ
พระเจ้าสูงสุดผู้ทรงสร้างฟ้าสวรรค์และแผ่นดิน
โลก
พระเจ้าได้ทรงกระท�ำพันธสัญญากับอับรา
ฮัม และสัญญาที่จะให้พงศ์พันธ์ของท่านทวีคูณ
เหมือนดวงดาวบนท้องฟ้า อับราฮัมก็เชื่อ
พระเจ้า [ความเชื่อนั้น] พระองค์ทรงนับเป็น
ความชอบธรรมแก่ท่าน (ข้อ 6) พระเจ้าทรง
ความชอบธรรมโดยทาง
ความเชื่อ
“อับราฮัมก็เชื่อพระเจ้า ความเชื่อนั้น
พระองค์ทรงนับว่าเป็นความชอบธรรมแก่
ท่าน” (ปฐมกาล15:6) ประโยคนี้นับว่าเป็น
แนวทางส�ำหรับการด�ำเนินชีวิตตามพันธ
สัญญาและการท�ำให้ส�ำเร็จ
พระเจ้าทรงยอมรับว่าอับราฮัมเป็นคน
ชอบธรรม เนื่องด้วยท่านเชื่อในพระองค์
ความเชื่อได้น�ำความชอบธรรมมาจ�ำเพาะ
พระพักตร์พระเจ้า ความชอบธรรมนี้มีความ
หมายมากกว่าการเป็นคนดี แต่หมายถึงการ
รักษาความสัมพันธ์ที่ถูกต้องต่อพระเจ้า ชีวิต
ที่ชอบธรรมเป็นชีวิตที่อยู่ในเวลาของพระเจ้า
ในการเชื่อฟังน�้ำพระทัยพระองค์ และ
แผนการของพระองค์ในชีวิตของแต่ละคน
อับราฮัมไม่ได้แค่ฟังค�ำแห่งพันธสัญญา
เท่านั้น แต่น�ำมาใช้ให้เป็นจริงในชีวิตของ
ท่านและพงศ์พันธุ์ในอนาคต ท่านเชื่อใน
พระเจ้าผู้ทรงให้ค�ำสัญญาและพระองค์จะทรง
รักษาสัญญาเช่นกัน
พันธสัญญาที่พระเจ้าทรง
กระท�ำกับอับราฮัม (15:1-21)
ยืนยันพระสัญญาของพระองค์ด้วยพันธสัญญา
ของพิธีการถวายบูชา (ข้อ 7-17) พันธสัญญา
นี้ลงท้ายด้วยพระสัญญาของพระเจ้าที่จะทรง
มอบดินแดนระหว่างแม่น�้ำไนล์และแม่น�้ำ
ยูเฟรติสให้แก่พงศ์พันธุ์ของอับราฮัม
ด้วยเหตุที่บุตรชายที่ควรจะเกิดแก่นางซา
ราห์นั้นยังไม่มีท�ำให้นางซาราห์อนุญาตให้นาง
ฮาการ์ สาวใช้จากอียิปต์ มาเป็นภรรยาของอับ
ราฮัม เพื่อให้นางมีบุตรแก่อับราฮัม การเริ่ม
อิจฉาและขัดแย้งกันของนางซาราห์กับนางฮา
การ์นั้น ได้ท�ำให้นางซาราห์ท�ำไม่ดีต่อสาวใช้
ของนาง ท้ายที่สุด นางฮาการ์ได้หนีไป อย่างไร
ก็ตามพระเจ้าได้ทรงส�ำแดงกับนางและให้พันธ
สัญญาว่าบุตรชายของนางจะเป็นพงศ์พันธ์ที่ยิ่ง
ฮาการ์และอิชมาเอล (16:1-16)
ศ
ว
UNIT_2_06.indd 78 28/3/2011 19:19:35
พันธสัญญาของพระเจ้าต่ออับราฮัม : ปฐมกาล 12-25 79
การเข้าสุหนัต
พิธีการเข้าสุหนัตซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นเครื่องหมายแห่งพันธสัญญาที่สามารถเห็นได้ภายนอกนั้น ได้มีความหมาย
ในทางจิตวิญญาณในช่วงเวลาของพระคัมภีร์ต่อมา โมเสสได้ท้าทายให้ชนชาติอิสราเอลที่จะเข้าสุหนัต “ใจ” (เฉลย
ธรรมบัญญัติ 10:16) และท่านได้ให้สัญญาว่าพระเจ้าจะทรงท�ำสุหนัตหัวใจของพงศ์พันธุ์ของพวกเขา (เฉลยธรรม
บัญญัติ30:6 และดูเพิ่มเติมที่ เยเรมีห์4:4;9:26) การช�ำระใจและยอมที่จะด�ำเนินชีวิตในพระเจ้าเป็นความนัยส�ำคัญ
ของข้อความที่กล่าวมาข้างต้น1
หลักข้อเชื่อของเวสเล่ย์เกี่ยวกับการช่วยให้พ้นจากบาปนั้นพบว่าสิ่งนี้เป็นรูปแบบและ
พันธสัญญาที่เกิดขึ้นในพันธสัญญาเดิม
ในพันธสัญญาใหม่ อาจารย์เปาโลได้แสดงให้เห็นถึงการเข้าสุหนัตที่แท้จริงคือ“การเข้าสุหนัตใจ”เป็นสิ่งยืนยัน
ในความเชื่อและท�ำตามในการด�ำเนินชีวิต (โรม2:29โคโลสี2:11-12;3:11) ดังนั้น การเข้าสุหนัตในฝ่ายจิตวิญญาณ
นั้นหมายถึงการที่เราได้รับการปลดปล่อยและช�ำระให้พ้นจากธรรมชาติของการดื้อดึงและไม่เชื่อฟัง การที่พระองค์
ทรงช�ำระใจของเราซึ่งเป็นคนบาปนั้นได้ให้นิสัยใหม่ และการยอมที่จะด�ำเนินชีวิตด้วยสิ้นสุดจิตใจต่อพระเจ้าและต่อ
มนุษยชาติด้วย
ใหญ่ นางนมัสการพระเจ้าโดยเรียกพระองค์ว่า
“พระเจ้าผู้ทรงเห็นข้าพเจ้า” (El Roi) นางฮา
การ์ได้กลับไป และให้ก�ำเนิดบุตรชาย คือ
อิชมาเอล ขณะนั้นอับราฮัมอายุได้ 86 ปี
อีกครั้งที่พระเจ้าทรงสำ�แดงต่ออับราฮัมและ
ยืนยันพระองค์เองว่าเป็น “พระเจ้าผู้ทรง
มหิทธิฤทธิ์” (El Shaddai) พระเจ้าทรงบัญชา
แก่อับราฮัม ให้ดำ�เนินชีวิตอย่างคนดีพร้อม ดี
พร้อมหมายถึง ยอมจำ�นนต่อพระเจ้าและ
ดำ�เนินชีวิตด้วยการรับรู้ถึงการทรงสถิตของ
พระเจ้าในทุกทางของชีวิต พระเจ้าทรงเปลี่ยน
ชื่อของท่าน จาก อับราม เป็น อับราฮัม และ
ซาราย เป็น ซาราห์ นี่ไม่ได้เป็นเพียงการ
เปลี่ยนชื่อเท่านั้น แต่เป็นการเริ่มต้น
สัมพันธภาพใหม่ระหว่างพระเจ้ากับทั้งสองคน
ด้วย พระองค์ทรงสัญญาว่าอับราฮัมจะเป็น
“บิดาของประชาชาติมากมาย” และนางซาราห์
จะให้กำ�เนิดบุตรชายแก่อับราฮัม
ในการตอบสนองต่อพันธสัญญาของ
พระเจ้า พระองค์ทรงให้อับราฮัมเริ่มต้นพิธีการ
เข้าสุหนัต เพื่อเป็นเครื่องหมายสำ�หรับเชื้อสาย
ที่จะสืบทอดต่อไป อับราฮัมจึงได้ทำ�พิธีสุหนัต
ให้แก่ชายทุกคนในครัวเรือนของท่าน รวมทั้ง
ตัวท่านเองและอิชมาเอลด้วย ในส่วนของอับ
ราฮัมการเข้าพิธีสุหนัตเป็นลักษณะการกระทำ�
ด้วยความเชื่อที่เครื่องหมายภายนอกที่มองเห็น
ได้และไม่ลบเลือน เครื่องหมายนี้เองได้ทำ�ให้
อับราฮัมเป็นมีความเชื่อและได้รับคำ�สัญญาของ
พระเจ้า ในเวลาต่อมา การเข้าพิธีสุหนัตได้ถูก
เปรียบเทียบให้หมายถึงการยอมจำ�นนในความ
เชื่อซึ่งเริ่มต้นจากภายในของผู้นั้นเอง
พระเจ้าทรงสำ�แดงแก่อับราฮัมอีกครั้งเมื่อ
ท่านอายุได้ 99 ปี เพื่อจะยืนยันในพระสัญญา
ของพระองค์เรื่องการให้กำ�เนิดของนางซาราห์
ในปีถัดไป (18:1-15) ในระหว่างการทรง
สำ�แดงนั้น พระเจ้าได้แจ้งแผนการของพระองค์
ที่จะทรงทำ�ลายเมืองโสโดมและโกโมราห์ที่เต็ม
ไปด้วยความชั่วช้าแก่อับราฮัม แม้ว่าอับราฮัม
พยายามไกล่เกลี่ยเพื่อรักษาเมืองนั้นไว้แต่ไม่มี
คนชอบธรรมถึง10คนในเมืองนั้นเลย พระเจ้า
จึงทรงกระทำ�ตามแผนการพิพากษาของ
พระองค์ (18:16-19:29) โลทและครัวเรือนได้
หนีออกมาจากเหตุการณ์การทำ�ลายเมือง
พิธีเข้าสุหนัต (17:1-27)
โสโดม และโกโมราห์
(18:1-19:38)
ศ
UNIT_2_06.indd 79 28/3/2011 19:19:35
สำ�รวจเบญจบรรณ80
โสโดมนี้ แต่อย่างไรก็ตาม ภรรยาของโลท ไม่
สนใจพระบัญชาที่ห้ามไม่ได้หันกลับไปดูการ
ทำ�ลายขณะกำ�ลังหนีโดยการหันกลับไปมอง
และนางก็กลายเป็นเสาเกลือ เรื่องราวนี้เป็นต้น
กำ�เนิดของชาวโมอับและอาโมไรต์โดยทางบุตร
สาวของโลท
ช่วงเวลาที่อับราฮัมอยู่ที่เนเกบ ท่านได้
โกหกอีกครั้งหนึ่งว่านางซาราห์เป็นน้องสาว
เนื่องด้วยความกลัวในชีวิตของตนเอง อาบีเม
เลค กษัตริย์ของเมืองเก-ราร์ ซึ่งได้พานางซา
ราห์ไป แต่อาบีเมเลคก็ต้องส่งตัวนางคืนให้กับ
อับราฮัมเพราะพระเจ้าได้ทรงเปิดเผยความจริง
เกี่ยวกับอับราฮัมและนางซาราห์ ต่อมา อาบีเม
เลคและอับราฮัมได้ท�ำพันธสัญญาที่จะอยู่ด้วย
กันอย่างสงบ ทั้งคู่ปฏิญาณว่าจะไม่หักหลังกัน
และจะภักดีต่อกัน (ดู 21:22-34) หลังจากที่
พันธสัญญานี้ได้กระท�ำที่เบเออร์เชบา อับราฮัม
ได้นมัสการพระเจ้าด้วยพระนาม“พระเจ้าผู้ทรง
เกลือที่ปกคลุมอยู่
บนหินเป็นสิ่งที่พบ
เห็นได้ทั่วไปที่
ทะเลตาย ในเมือง
โสโดมและโกโมราห์
ในอดีต
วิหารหลังคารูป
ทรงโค้งที่ภูเขา
พระวิหาร--ตั้งอยู
่บนภูเขาโมริยาห์
อัมบราฮัมและอาบีเมเลค
(20:1-18)
UNIT_2_06.indd 80 28/3/2011 19:19:37
พันธสัญญาของพระเจ้าต่ออับราฮัม : ปฐมกาล 12-25 81
นิรันดร์กาล”
นางซาราห์ได้ให้ก�ำเนิดบุตรชายแก่อับรา
ฮัมเมื่อท่านอายุได้ 100 ปี และพวกเขาตั้งชื่อ
บุตรชายว่า อิสอัค (แปลว่า “เขาหัวเราะ”) ชื่อ
นี้หมายถึงการที่พระเจ้าทรงเป็นผู้หัวเราะใน
ตอนสุดท้ายเพราะอับราฮัมและนางซาราห์ได้
หัวเราะในพระสัญญาที่พระเจ้าทรงมีต่อพวก
เขา(17:17-19;18:12-15) การให้ก�ำเนิดบุตร
ชายตามพระสัญญาของพระเจ้าได้ท�ำให้นางซา
ราห์กระท�ำการต่อต้านนางฮาการ์และอิชมาเอล
ด้วยการยืนกรานของนางซาราห์ อับราฮัมจึง
ต้องให้นางฮาการ์และลูกออกไปในถิ่น
ทุรกันดาร อย่างไรก็ตาม พระเจ้าทรงช่วยเหลือ
นางฮาการ์และอิชมาเอลโดยจัดเตรียมชีวิตของ
พวกเขาและสัญญาที่จะให้พงศ์พันธุ์ของอิชมา
เอลเป็นชนชาติใหญ่ชาติหนึ่ง (21:1-21)
พระบัญชาของพระเจ้าที่ให้อับราฮัมถวาย
อิสอัคเป็นเครื่องบูชาแด่พระเจ้านั้นนับเป็น
การถวายอิสอัคเป็นเครื่องบูชา
พระบัญชาของพระเจ้าที่ให้ถวายอิสอัคเป็นเครื่องบูชาซึ่งเรียกว่า การถวายอิสอัคเป็นเครื่องบูชา (Akedeh ใน
ธรรมเนียมของชาวยิว)
พระบัญชาของพระเจ้านี้เป็นการทดสอบซึ่งเป็นการทดสอบเพื่อพระเจ้าจะได้รู้ว่าอับราฮัมนั้นย�ำเกรงพระเจ้าอย่าง
แท้จริง อีกทั้งยังเป็นการทดสอบให้อับราฮัมได้เรียนรู้ในการวางใจในพระเจ้าด้วย ตามหลักพระคัมภีร์ ความย�ำเกรง
ในพระเจ้าเป็นการแสดงถึงการยอมรับในสิทธิอ�ำนาจของพระเจ้า อับราฮัมมีการเชื่อฟังโดยปราศจากข้อสงสัยและ
การรีรอใด ๆ ในพันธสัญญาของพระเจ้า การเชื่อฟังนี้ไม่ต้องการหลักฐานหรือข้อพิสูจน์หรือค�ำสัญญาใด ๆ เพราะ
ว่าการเชื่อฟังนี้พบได้ในความเชื่อ แบบอย่างของความเชื่อที่แท้จริงในพระคัมภีร์ คือ การเชื่อว่าพระองค์ทรงเป็น
พระเจ้า เรื่องนี้ยุติเมื่อพระเจ้าทรงรักษาความสัตย์ซื่อในพันธสัญญาของพระองค์และอับราฮัมยังคงได้รับพระสัญญา
ของพระเจ้าอีกครั้งเพราะท่านได้เชื่อฟังในพระสุรเสียงของพระเจ้า (22:17-19) พระเจ้าทรงพิสูจน์ให้อับราฮัมเห็นว่า
พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าผู้ทรงสัตย์ซื่อ ทั้งพระเจ้าและอับราฮัมได้ผ่านข้อพิสูจน์นี้
การถวายอิสอัคเป็น
เครื่องบูชา (22:1-24)
เหตุการณ์ที่ส�ำคัญที่สุดในเรื่องราวที่เกี่ยวข้อง
กับอับราฮัม(ข้อ1-19) อับราฮัมได้น�ำบุตรชาย
ของท่านไปยังภูเขาลูกหนึ่งที่ชื่อว่า ภูเขาโมรี
ยาห์ (ซึ่งเป็นภูเขาที่กษัตริย์ซาโลมอนได้สร้าง
พระวิหารในกรุงเยรูซาเล็ม ปัจจุบันรู้จักกันใน
นาม ภูเขาพระวิหาร) และก็เกือบจะท�ำส�ำเร็จ
แล้ว แต่พระเจ้าก็ทรงสั่งให้หยุดการท�ำพิธีนั้น
และพระองค์ทรงจัดเตรียมลูกแกะไว้แทน ภูเขา
ลูกนั้นจึงเป็นเหมือนเครื่องเตือนใจในความจริง
ที่ว่า “พระเจ้าผู้ทรงจัดเตรียม” เยโฮวาห์ยิเรห์
ซึ่งเป็นอีกพระนามหนึ่งของพระเจ้า
ถ�้ำมัค-เปลาห์ ที่ซึ่ง
เป็นที่ฝังศพของ
บรรพบุรุษผู้น�ำของ
อิสราเอล
การให้ก�ำเนิดอิสอัคและการ
ขับไล่อิชมาเอล (21:1-34)
ศ
UNIT_2_06.indd 81 28/3/2011 19:19:37
สำ�รวจเบญจบรรณ82
นางซาราห์อายุได้127ปีเมื่อนางเสียชีวิตใน
ขณะที่อับราฮัมยังคงมีชีวิตอยู่ในดินแดนแห่ง
พันธสัญญาเป็นเหมือนดั่ง“คนต่างด้าว”(23:4)
ท่านได้ซื้อถ�้ำมัค-เปลาห์ในหุบเขาเฮโบรนซึ่ง
เป็นดินแดนคนฮิตไทต์เพื่อฝังศพภรรยาของ
ท่าน (ข้อ 1-20) การกระท�ำนี้แสดงให้เห็นถึง
ความหวังและความวางใจของท่านที่เชื่อว่าดิน
แดนแห่งพันธสัญญานี้จะกลายมาเป็นที่อาศัย
ของครอบครัวแห่งพันธสัญญาของท่าน ถ�้ำนี้
กลายเป็นที่ฝังศพของอับราฮัม อิสอัค ภรรยา
ของอิสอัคคือนางเรเบคาห์บุตรชายของอิสอัค
คือ ยาโคบ และภรรยาของยาโคบ คือ นาง
เลอาห์ บรรพบุรุษเหล่านี้ได้ถูกฝังร่วมกันที่ดิน
แดนแห่งพันธสัญญานี้ และในความตายนี้พวก
ท่านได้เป็นทายาทของดินแดนนี้
อับราฮัมได้ส่งคนรับใช้ที่ซื่อสัตย์ไปยังบ้าน
เกิดของท่านในเมโสโปเตเมียเพื่อหาภรรยาให้
กับอิสอัค คนรับใช้ได้พานางเรเบคาห์ ซึ่งเป็น
หลานสาวของน้องชายอับราฮัมที่ชื่อนาโฮร์ เพื่อ
มาเป็นภรรยาของอิสอัค (ปฐมกาล 24) คนรับ
ใช้คนนี้เป็นนักอธิษฐานผู้ซึ่งเป็นแบบอย่างของ
ผู้มีศรัทธาในช่วงเวลานั้น การอธิษฐานเพื่อขอ
การทรงน�ำ (ข้อ 12-14) และการสรรเสริญ
ประเพณีและขนบธรรมเนียมในสมัยบรรพบุรุษของชาวยิว
ขนบธรรมเนียมที่เกี่ยวเนื่องกับบรรพบุรุษของชาวยิวนี้ได้ท�ำให้เรามองเห็นวิถีชีวิตและการนมัสการในอดีต พวก
เขามีชีวิตกึ่งเร่ร่อน เดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง หาทุ่งหญ้าและแหล่งน�้ำ อาศัยอยู่ในเต็นท์ เลี้ยงแกะและสัตว์
อื่น ๆ บ่อยครั้งที่มีการท�ำสัญญากับดินแดนเพื่อนบ้านและด�ำรงชีวิตอย่างสงบสุขในดินแดนซึ่งพระเจ้าทรงสัญญาไว้
(21:22-34; 26:26-31)
ครัวเรือนของพวกเขารวมทั้งบรรดาลูกหลานและคนรับใช้ในบ้าน หัวหน้าครอบครัวจะเป็นผู้น�ำของครัวเรือน
ด้วย การช่วยเหลือโลทของอับราฮัมแสดงให้เห็นว่าคนรับใช้ของครัวเรือนเป็นเหมือน“กองทัพ”ของครัวเรือนที่คอย
ปกป้อง ป้องกัน หรือแม้แต่ช่วยเหลือครัวเรือนเมื่อเจอปัญหา (บทที่ 14) การแต่งงานถูกจัดเตรียมขึ้นโดยฝ่ายเจ้า
บ่าวและครอบครัวของเจ้าบ่าว ประเพณีการแต่งงานนี้รวมถึงการให้สินสอดจากเจ้าบ่าวหรือครอบครัวเจ้าบ่าวในรูป
แบบของทองค�ำหรือเงินหรือการให้คนงานด้วย (24:52-53;29:16-30) ภรรยามีสิทธิ์โดยชอบธรรมในการเลือกคน
รับใช้ให้เป็นผู้ที่ตั้งท้องแทนนางได้ ในกรณีที่ทั้งคู่ไม่มีบุตรเป็นของตนเอง ทั้งคู่สามารถรับบุตรที่เกิดจากนางรับใช้
มาเป็นทายาทได้ (15:2-3)
พวกเขานมัสการพระเจ้าโดยการสร้างแท่นบูชา ณ สถานที่ที่พระเจ้าทรงส�ำแดงต่อพวกเขา (เชเคม เบธเอล
เบเออร์เชบาและเฮโบรน) พวกเขายังกลับมาเยี่ยมสถานที่เหล่านั้นเพื่อระลึกถึงการทรงส�ำแดงของพระเจ้า ยังไม่มี
ปุโรหิตหรือพิธีที่ซับซ้อนในเวลานั้น พวกเขาเรียกพระนามของพระเจ้าในชื่อต่าง ๆ พระนามเหล่านี้สื่อความหมาย
ถึงความเข้าใจของพวกเขาในฤทธิ์อ�ำนาจของพระเจ้าในหลาย ๆ ทาง ในประวัติศาสตร์ของอิสราเอลต่อมา สถานที่
ที่บรรพบุรุษเหล่านี้ได้ตั้งแท่นบูชาได้กลายเป็นสถานที่ส�ำคัญทางศาสนาและเป็นสถานที่ในการจาริกฝ่ายจิตวิญญาณ
เต็นท์แบบชาว
เบดูอินในอิสรา
เอลสมัยใหม่
อับราฮัมเคย
อาศัยอยู่ในเต็นท์
ขณะท่านพักแรม
อยู่ในดินแดน
คานาอัน
ความตายของนางซาราห์และ
การแต่งงานของอิสอัค
(23:1-24:67)
ว
UNIT_2_06.indd 82 28/3/2011 19:19:38
พันธสัญญาของพระเจ้าต่ออับราฮัม : ปฐมกาล 12-25 83
ขอบพระคุณส�ำหรับการทรงน�ำของพระเจ้า (ข้อ 26-27)
เป็นตัวอย่างธรรมชาติของบุคคลที่มีความสัมพันธ์โดย
ความเชื่อต่อพระเจ้าในพระคัมภีร์
บทสรุปของตอนนี้เป็นการกล่าวถึงการแต่งงานของ
อับราฮัมกับนางเคทูราห์ ซึ่งนางได้ให้ก�ำเนิดบุตรหลาย
คนแก่ท่าน ไม่ว่าจะเป็นมีเดียนซึ่งกลายเป็นบรรพบุรุษ
ของชาวมีเดียน ก็เป็นหนึ่งในบุตรชายของอับราฮัม
เรื่องราวของอับราฮัมจบลงด้วยการบันทึกถึงการ
มรณกรรมของท่านเมื่ออายุได้ 175 ปี (ข้อ 7-11) การ
ตายนี้เองท�ำให้อิสอัคได้พบกับอิชมาเอลซึ่งเป็นบุตรนอก
พันธสัญญาได้ร่วมกันฝังศพของบิดาของพวกเขาที่ถ�้ำ
มัค-เปลาห์ และท้ายสุดของเรื่องราวเป็นการกล่าวถึง
ทายาทของอิชมาเอลที่อาศัยอยู่ในทะเลทรายอาราเบีย
เรื่องราวในส่วนต่อไปเป็นการเน้นไปที่ประวัติศาสตร์
พงศ์พันธุ์ของอับราฮัมและการท�ำงานของพระองค์
ท่ามกลางพวกเขาในการสรรค์สร้างพวกเขาให้เป็น
เครื่องมือเพื่อการด�ำรงความยุติธรรมและความชอบธรรม
ในโลก เราจะมาเรียนรู้เรื่องนี้กันต่อไป
•• เรื่องราวของบรรพบุรุษของอิสราเอลเป็นเรื่องราวของอับราฮัม อิสอัค และยาโคบ
•• เรื่องราวของบรรพบุรุษของอิสราเอลเป็นส่วนหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงต้นสองพันปีก่อนคริสตกาล
•• พระเจ้าทรงเรียกอับราฮัมให้เป็นพระพรแก่ทุกครัวเรือนบนแผ่นดินโลก
•• พระเจ้าทรงท�ำพันธสัญญาแก่อับราฮัมที่จะมอบดินแดนแห่งพันธสัญญาและให้ท่านเป็นประชาชาติที่ยิ่ง
ใหญ่
•• อับราฮัมตอบสนองต่อการทรงเรียกของพระเจ้าและพันธสัญญาด้วยการเชื่อฟังและไว้วางใจ
•• อับราฮัมเป็นตัวอย่างของความเชื่อและความชอบธรรม เพราะเหตุการณ์ในชีวิตของท่านแสดงให้เห็นถึง
การคงไว้ซึ่งการรับรู้ในฤทธิ์อ�ำนาจของพระเจ้า แม้แต่ในช่วงที่มีสถานการณ์ยุ่งยากในชีวิตเกิดขึ้นก็ตาม
1.	 สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการเติบโตทางจิตวิญญาณและการเป็นผู้ใหญ่ฝ่ายวิญญาณ จากข้อพิสูจน์ที่เราพบ
ในเรื่องราวของอับราฮัมคืออะไร
2.	 ท่านได้รับบทเรียนอะไรเกี่ยวกับการเอาชนะอุปสรรคนั้นจากเรื่องราวของอับราฮัม
3.	 เขียนคุณสมบัติฝ่ายจิตวิญญาณที่พบจากเหตุการณ์ในชีวิตแห่งความเชื่อและการท�ำตามของอับราฮัม
ออกมาเป็นข้อ ๆ
4.	 อภิปรายว่าเราสามารถด�ำเนินชีวิตเพื่อเป็นพระพรให้แก่ผู้อื่นในโลกปัจจุบันที่เราอยู่ได้อย่างไร (ใช้
ตัวอย่างจากเหตุการณ์ในชีวิตของอับราฮัม)
Brueggemann, Walter. Interpretation: A Bible Commentary for Teaching and Preaching: Genesis. Atlanta:
	 John Knox Press, 1982. Pages 105-203.
Hamilton, Victor. The Book of Genesis: Chapter 1-17. New International Commentary on the Old Testament.
	 Grand Rapids: Eerdmans, 1990. Pages 369-483.
--------------. The Book of Genesis: Chapters 18-50. New International Commentary on the Old Testament.
	 Grands Rapids: Eerdmans, 1995. Pages 3-169.
Fretheim, Terence E. The Book of Genesis: Introduction, Commentary, and Reflections. Vol. 1 of The New
	 Interpreter’s Bible. Nashville: Abingdon Press, 1994. Pages 417-515.
บทสรุปย่อ
คำ�ถามเพื่อการศึกษา
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
ช่วงสุดท้ายของอับราฮัม (25:1-18)
UNIT_2_06.indd 83 28/3/2011 19:19:38
UNIT_2_06.indd 84 28/3/2011 19:19:42

More Related Content

Viewers also liked

ท่องเที่ยวไทย ใครรับผิดชอบ (final)
ท่องเที่ยวไทย ใครรับผิดชอบ (final)ท่องเที่ยวไทย ใครรับผิดชอบ (final)
ท่องเที่ยวไทย ใครรับผิดชอบ (final)
nattatira
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guide
chickyshare
 
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Korawan Sangkakorn
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
praphol
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
chickyshare
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
Bordin Sirikase
 
สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทย
pongpangud13
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
Tonkao Limsila
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
재 민 Praew 김
 

Viewers also liked (20)

3.นทท.
3.นทท.3.นทท.
3.นทท.
 
ท่องเที่ยวไทย ใครรับผิดชอบ (final)
ท่องเที่ยวไทย ใครรับผิดชอบ (final)ท่องเที่ยวไทย ใครรับผิดชอบ (final)
ท่องเที่ยวไทย ใครรับผิดชอบ (final)
 
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
 
ทฤษฏีการเรียนรู้
ทฤษฏีการเรียนรู้ทฤษฏีการเรียนรู้
ทฤษฏีการเรียนรู้
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guide
 
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
 
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสนศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
 
สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทย
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 

Ex_Discovery_OT

  • 1. 6 พันธสัญญาของพระเจ้า ต่ออับราฮัม : ปฐมกาล 12-25 วั ตถุประสงค์ การศึกษาบทเรียนบทนี้ช่วยให้ผู้เรียน : •• ตระหนักถึงการต่อเนื่องกันและความสัมพันธ์กันระหว่าง เรื่องราวของการเริ่มต้นกับเรื่องราวของบรรพบุรุษผู้น�ำของ ชาวยิว •• สามารถระบุส่วนส�ำคัญ ในเรื่องราวของบรรพบุรุษผู้น�ำ ของชาวยิวได้ •• อธิบายประวัติศาสตร์ความเป็นมาของบรรพบุรุษของชาว ยิวได้ •• พิจารณาหาความหมายส�ำคัญทางศาสนศาสตร์ในการทรง เรียกของพระเจ้าที่มีต่ออับราฮัม ซึ่งเกี่ยวข้องกับแผนการ ทั้งสิ้นในประวัติศาสตร์พระคัมภีร์ •• สามารถวิเคราะห์การด�ำเนินชีวิตในความเชื่อ และใช้ ตัวอย่างจากเหตุการณ์ในชีวิตของอับราฮัม คำ� ที่ควรรู้จัก อับราฮัม เมืองเออร์ ชาวอาโมไรต์ ชาวฮีบรู ฮาบีรู เทราห์ ซาราห์ โลท ฮาราน เหล่าผู้น�ำของอิสราเอล เมลคีเซเดค เอล เอลยอน – พระเจ้าผู้ทรงสูงสุด พันธสัญญา ฮาการ์ เอล โรอิ – พระเจ้าผู้ทรงเห็น ข้าพเจ้า อิชมาเอล เอล ชัดดาย – พระเจ้าผู้ทรง มหิทธิฤทธิ์ พิธีเข้าสุหนัต เอล โอลาม – พระเจ้าผู้ทรง นิรันดร์กาล อิสอัค แคว้นโมริยาห์ เยโฮวายิเรห์ – พระเจ้าผู้ทรง จัดเตรียม การถวายอิสอัคเป็นเครื่องบูชา เรเบคาห์ ค�ำถามประกอบการเรียน : 1. เหตุใดจึงเป็นสิ่งส�ำคัญที่แต่ละคนจะต้องเข้าใจ อย่างกระจ่างแจ้งเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และ ขนบธรรมเนียมประเพณีในอดีตเกี่ยวกับความเชื่อ ของคนเหล่านั้น (โดยไม่ต้องค�ำนึงถึงเบื้องหลัง ของความเชื่อคนแต่ละคน) 2. หากมีคนขอให้ท่านอธิบายหลักความเชื่อของท่าน ท่านจะใช้เหตุการณ์ใดในการเริ่มต้นการอธิบาย 75 UNIT_2_06.indd 75 28/3/2011 19:19:34
  • 2. สำ�รวจเบญจบรรณ76 เรื่องราวที่บันทึกในพระคัมภีร์ที่ต่อเนื่องมาจากเรื่องหอ บาเบลนั้นจะให้ความส�ำคัญต่อการที่พระเจ้าทรงเสด็จลงมา พบกับอับราฮัม เรื่องราวในพันธสัญญาเดิมของอิสราเอลนี้ เริ่มต้นด้วยสิ่งที่ปฏิบัติต่อกันมาของอับราฮัมและครอบครัว ของท่านกับสัมพันธภาพพิเศษที่มีกับพระเจ้า เราจะไปสู่เรื่อง ราวการเริ่มต้นของอิสราเอล ณ บัดนี้ เบื้องหลัง เรื่องราวของผู้น�ำที่เป็นบรรพบุรุษนี้อยู่ใน ตอนแรก ๆ ของช่วงสองพันปีก่อนคริสตกาล เมื่อชาวอาโมไรต์ได้เข้าปกครองในดินแดนส่วน ใหญ่ของเมโสโปเตเมียและซีเรีย-ปาเลสไตน์ (1950-1700ปีก่อนคริสตกาล) เราอาจประมาณ คร่าว ๆ ถึงช่วงเวลาของอับราฮัมซึ่งน่าจะอยู่ ประมาณ1900-1800ปีก่อนคริสตกาลอับราฮัม เป็นเชื้อสายของเชมบุตรชายหนึ่งในสามของโน อาห์ (ปฐมกาล 10:1) อับราฮัมมีบ้านเกิดอยู่ที่ เมืองเออร์ เป็นชนบทที่อยู่ในใจกลางของทาง ตอนใต้ของดินแดนเมโสโปเตเมีย(11:31) ท่าน อยู่ในท่ามกลางกลุ่มชนอาโมไรต์/อารัม (ดู เฉลยธรรมบัญญัติ26:5) ซึ่งชาวฮีบรูอาจจะเป็น เพียงชนกลุ่มน้อยเท่านั้น(ปฐมกาล14:13) นัก วิชาการบางท่านคิดว่าชาวฮีบรูเป็นกลุ่มสังคม ชนชั้นที่ต�่ำกว่า ในดินแดนตะวันออกใกล้ โบราณนี้ ที่เรียกกันว่า ฮาบีรู เทราห์ บิดาของอับราฮัม ได้พาครอบครัว ย้ายจากเมืองเออร์และเดินทางมุ่งหน้าไปคานา อัน(11:31) ทุกคนในครอบครัวรวมทั้งอับราฮัม และภรรยา คือ นางซาราห์ และโลท หลาน ชาย พวกเขาหยุดพักการเดินทางที่เมืองฮาราน ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเมโสโปเตเมีย ซึ่งเป็นที่ที่พวกเขาตั้งรกรากอาศัยอยู่ ของอับราฮัม อิสอัค และยาโคบ ทั้งสามเป็น บรรพบุรุษที่ยิ่งใหญ่ของชนชาติอิสราเอลโครง ร่างคร่าว ๆ ของพระธรรมปฐมกาลส่วนนี้ เป็น ดังนี้ : 1. เรื่องราวของอับราฮัม (12:1-25:18) 2. เรื่องราวของยาโคบ (25:19-50:26) เรื่องราวของยาโคบนี้รวมเอาเรื่องราวของ อิสอัค ซึ่งบิดาของยาโคบ (บทที่ 26) และรวม ทั้ง โยเซฟ บุตรของยาโคบ (บทที่ 37-50) เรื่องราวของอับราฮัมเริ่มต้นด้วยพระบัญชา ของพระเจ้า (การทรงเรียกของอับราฮัม) ซึ่งมา ถึงอับรามในขณะที่ท่านอยู่ที่เมืองฮาราน(12:1- 4) พระเจ้าทรงบัญชาให้อับราม (ผู้ซึ่งต่อมา คือ อับราฮัม[ดู17:5]) ให้ออกจากบ้านและเดินทาง ไปยังดินแดนที่พระเจ้าจะทรงบอกให้รู้ สิ่งที่ ตามมาก็คือ พันธสัญญาของพระเจ้าที่ทรง กระท�ำกับอับราฮัม ที่จะให้ท่านเป็นชนชาติใหญ่ และคนทั่วโลกจะได้พรเพราะอับราฮัม อับรา ฮัมเชื่อฟังและท�ำตามพระบัญชา โดยออกจาก เมืองฮารานเมื่อท่านอายุได้ 75 ปี อับราฮัมได้ พาภรรยาคือนางซาราห์โลทซึ่งเป็นหลานชาย และบรรดาทรัพย์สิ่งของทั้งหมดไปกับท่าน อับ ราฮัมเดินทางถึงเมืองเชเคมในคานาอัน พระเจ้า ทรงส�ำแดงแก่อับราฮัมที่นั่น และสัญญาที่จะให้ ดินแดนแห่งนี้แก่พงศ์พันธุ์ของอับราฮัม จาก เชเคม อับราฮัมเดินทางต่อลงไปทางใต้และตั้ง เต็นท์ใกล้กับเบธเอล และต่อมาที่เนเกบ อับรา ฮัมได้ตั้งแท่นบูชาในทุกที่ที่ท่านหยุดการเดิน ทางเพื่อนมัสการพระเจ้า ผู้ทรงส�ำแดงพระองค์ อยู่เสมอ การกันดารอาหารในคานาอันท�ำให้อับรา ฮัมและครอบครัวต้องเดินทางลงทางใต้ไปยัง อียิปต์ (12:10-20) เมื่อพวกเขาเข้าไปยังอียิปต์ อับราฮัมก็ท�ำการปลอมตัวเป็นพี่ชายของซาราห์ ฟาโรห์ทรงให้พานางซาราห์เข้ามาในวังและ เนื้อหา เรื่องราวของบรรพบุรุษของชาวยิว (ปฐม กาล 12-50) เป็นบันทึกสรุปเหตุการณ์ในชีวิต อับราฮัม : จากฮารานสู่ คานาอัน (12:1 – 14:24) UNIT_2_06.indd 76 28/3/2011 19:19:34
  • 3. พันธสัญญาของพระเจ้าต่ออับราฮัม : ปฐมกาล 12-25 77 มอบฝูงสัตว์จ�ำนวนมากพร้อมทั้งคนรับใช้ให้แก่ อับราฮัม อย่างไรก็ตาม พระเจ้าทรงท�ำให้เกิด ภัยพิบัติร้ายแรงแก่ฟาโรห์และครอบครัว เหตุ เพราะนางซาราห์ ฟาโรห์ได้รู้ความจริงเกี่ยว กับนางซาราห์และทรงตรัสสั่งให้พวกเขาที่จะ ออกไปจากเมืองพร้อมด้วยทรัพย์สมบัติทั้งหมด ของพวกเขา หลังจากอับราฮัมเดินทางกลับมายังคานา อัน ท่านได้ท�ำข้อตกลงกับโลทเพื่อที่จะแยกไป คนละทาง(13:1-18) อับราฮัมยินยอมให้หลาน ชายที่จะเลือกดินแดนที่อุดมสมบูรณ์และมีน�้ำ บริบูรณ์ใกล้กับแม่น�้ำจอร์แดน โลทตั้งเต็นท์ ใกล้เมืองโสโดม ส่วนอับราฮัมตั้งเต็นท์ที่คานา “การก้าวออกไปของพระกิตติคุณ” พระเจ้าได้ทรงสัญญาที่จะให้อับราฮัมเป็นพร“ให้แก่ทุกคนบน แผ่นดิน” (12:3) พันธสัญญานี้มีความหมายต่อการเชื่อฟังและ การวางใจของอับราฮัมในพระเจ้าที่จะน�ำไปสู่ชีวิตใหม่ส�ำหรับทุก คนบนแผ่นดินโลก ค�ำอวยพรของอับราฮัมจะเป็นแรงดลใจให้ ชนชาติแสวงหาพระพรของพระเจ้าส�ำหรับชีวิตของพวกเขาเองโดย ผ่านทางความเชื่อและการท�ำตาม อัครทูตเปาโลพบว่านี่เป็น “แผนงานของการก้าวออกไปของพระกิตติคุณ” ซึ่งได้เชิญชวนให้ ทุกชนชาติที่จะแบ่งปันพระพรของอับราฮัมนี้โดยการติดตามแบบ อย่างของท่าน (กาลาเทีย 3:8-9) จากมุมมองพระคัมภีร์ในเรื่อง ความเชื่อ พันธสัญญาของพระเจ้าต่ออับราฮัมนับเป็นปัจจัยที่ ส�ำคัญที่สุดเพราะเป็นสิ่งที่มีความหมายต่อทั่วโลกด้วย การเดินทางของอับราฮัมจากเมืองเออร์ไปยังคานาอันและการพักชั่วคราวในอียิปต์ ศ UNIT_2_06.indd 77 28/3/2011 19:19:35
  • 4. สำ�รวจเบญจบรรณ78 การท�ำพันธสัญญา การท�ำพันธสัญญาเป็นข้อตกลงอย่างเป็นทางการและถูก ต้องตามกฏหมายระหว่างสองฝ่าย พิธีกรรมการท�ำพันธสัญญา ประกอบด้วยการท�ำสัตย์ปฏิญาณของทั้งสองฝ่าย พิธีกรรมการ ถวายเครื่องบูชา และการรับประทานอาหารร่วมกันเพื่อเป็น เครื่องหมายของการท�ำสัญญา พิธีกรรมการถวายเครื่องบูชานั้น บางครั้งก็มีการแบ่งฝูงสัตว์ออกเป็นสองส่วน ตัวอย่างที่พบเห็น ได้ในพระคัมภีร์ส�ำหรับการท�ำพิธีกรรมการท�ำพันธสัญญา ระหว่างกลุ่มคนสองกลุ่มในสังคม ซึ่งเรียกว่า พันธสัญญาแห่ง ความเสมอภาค (ดู ปฐมกาล 21:22-34; 26:17-33; 31:43-54) พันธสัญญาของพระเจ้าซึ่งเน้นที่การเป็นพันธสัญญาที่ศักดิ์สิทธิ์ (พันธสัญญาที่พระเจ้าทรงกระท�ำกับ โนอาห์ อับราฮัม และดา วิด) อาจจะเรียกได้ว่าเป็นพันธสัญญาที่มีก�ำหนด พันธสัญญา ของพระเจ้าที่มีต่อชนชาติอิสราเอลที่ภูเขาซีนายให้ความส�ำคัญ ในเงื่อนไขที่พระองค์ทรงแสดงออกเพื่อสร้างสัมพันธภาพกับ ชนชาติของพระองค์ พันธสัญญาที่มีเงื่อนไขนั้น จ�ำเป็นต้องให้ ผู้ที่ได้รับประโยชน์จากพันธสัญญานั้นแสดงความสัตย์ซื่อและ ความจงรักภักดีต่อผู้ท�ำพันธสัญญา อันและเมืองเฮโบรนก็ได้เป็นบ้านของท่าน ต่อ มา ด้วยความพยายามอย่างกล้าหาญ ท่านได้ พาโลทและบรรดาประชาชนของท่านกลับมา จากกษัตริย์ต่างชาติที่มารุกรานเมืองโสโดม (14:1-24) การกลับมาด้วยชัยชนะอับราฮัมก็ได้ พบกับเมลคีเซเดค ผู้เป็นทั้งกษัตริย์ของซาเลม และปุโรหิตของพระเจ้าสูงสุด (14:18-20) เมล คีเซเดคได้อวยพรอับราฮัมในพระนามของ พระเจ้าสูงสุดผู้ทรงสร้างฟ้าสวรรค์และแผ่นดิน โลก พระเจ้าได้ทรงกระท�ำพันธสัญญากับอับรา ฮัม และสัญญาที่จะให้พงศ์พันธ์ของท่านทวีคูณ เหมือนดวงดาวบนท้องฟ้า อับราฮัมก็เชื่อ พระเจ้า [ความเชื่อนั้น] พระองค์ทรงนับเป็น ความชอบธรรมแก่ท่าน (ข้อ 6) พระเจ้าทรง ความชอบธรรมโดยทาง ความเชื่อ “อับราฮัมก็เชื่อพระเจ้า ความเชื่อนั้น พระองค์ทรงนับว่าเป็นความชอบธรรมแก่ ท่าน” (ปฐมกาล15:6) ประโยคนี้นับว่าเป็น แนวทางส�ำหรับการด�ำเนินชีวิตตามพันธ สัญญาและการท�ำให้ส�ำเร็จ พระเจ้าทรงยอมรับว่าอับราฮัมเป็นคน ชอบธรรม เนื่องด้วยท่านเชื่อในพระองค์ ความเชื่อได้น�ำความชอบธรรมมาจ�ำเพาะ พระพักตร์พระเจ้า ความชอบธรรมนี้มีความ หมายมากกว่าการเป็นคนดี แต่หมายถึงการ รักษาความสัมพันธ์ที่ถูกต้องต่อพระเจ้า ชีวิต ที่ชอบธรรมเป็นชีวิตที่อยู่ในเวลาของพระเจ้า ในการเชื่อฟังน�้ำพระทัยพระองค์ และ แผนการของพระองค์ในชีวิตของแต่ละคน อับราฮัมไม่ได้แค่ฟังค�ำแห่งพันธสัญญา เท่านั้น แต่น�ำมาใช้ให้เป็นจริงในชีวิตของ ท่านและพงศ์พันธุ์ในอนาคต ท่านเชื่อใน พระเจ้าผู้ทรงให้ค�ำสัญญาและพระองค์จะทรง รักษาสัญญาเช่นกัน พันธสัญญาที่พระเจ้าทรง กระท�ำกับอับราฮัม (15:1-21) ยืนยันพระสัญญาของพระองค์ด้วยพันธสัญญา ของพิธีการถวายบูชา (ข้อ 7-17) พันธสัญญา นี้ลงท้ายด้วยพระสัญญาของพระเจ้าที่จะทรง มอบดินแดนระหว่างแม่น�้ำไนล์และแม่น�้ำ ยูเฟรติสให้แก่พงศ์พันธุ์ของอับราฮัม ด้วยเหตุที่บุตรชายที่ควรจะเกิดแก่นางซา ราห์นั้นยังไม่มีท�ำให้นางซาราห์อนุญาตให้นาง ฮาการ์ สาวใช้จากอียิปต์ มาเป็นภรรยาของอับ ราฮัม เพื่อให้นางมีบุตรแก่อับราฮัม การเริ่ม อิจฉาและขัดแย้งกันของนางซาราห์กับนางฮา การ์นั้น ได้ท�ำให้นางซาราห์ท�ำไม่ดีต่อสาวใช้ ของนาง ท้ายที่สุด นางฮาการ์ได้หนีไป อย่างไร ก็ตามพระเจ้าได้ทรงส�ำแดงกับนางและให้พันธ สัญญาว่าบุตรชายของนางจะเป็นพงศ์พันธ์ที่ยิ่ง ฮาการ์และอิชมาเอล (16:1-16) ศ ว UNIT_2_06.indd 78 28/3/2011 19:19:35
  • 5. พันธสัญญาของพระเจ้าต่ออับราฮัม : ปฐมกาล 12-25 79 การเข้าสุหนัต พิธีการเข้าสุหนัตซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นเครื่องหมายแห่งพันธสัญญาที่สามารถเห็นได้ภายนอกนั้น ได้มีความหมาย ในทางจิตวิญญาณในช่วงเวลาของพระคัมภีร์ต่อมา โมเสสได้ท้าทายให้ชนชาติอิสราเอลที่จะเข้าสุหนัต “ใจ” (เฉลย ธรรมบัญญัติ 10:16) และท่านได้ให้สัญญาว่าพระเจ้าจะทรงท�ำสุหนัตหัวใจของพงศ์พันธุ์ของพวกเขา (เฉลยธรรม บัญญัติ30:6 และดูเพิ่มเติมที่ เยเรมีห์4:4;9:26) การช�ำระใจและยอมที่จะด�ำเนินชีวิตในพระเจ้าเป็นความนัยส�ำคัญ ของข้อความที่กล่าวมาข้างต้น1 หลักข้อเชื่อของเวสเล่ย์เกี่ยวกับการช่วยให้พ้นจากบาปนั้นพบว่าสิ่งนี้เป็นรูปแบบและ พันธสัญญาที่เกิดขึ้นในพันธสัญญาเดิม ในพันธสัญญาใหม่ อาจารย์เปาโลได้แสดงให้เห็นถึงการเข้าสุหนัตที่แท้จริงคือ“การเข้าสุหนัตใจ”เป็นสิ่งยืนยัน ในความเชื่อและท�ำตามในการด�ำเนินชีวิต (โรม2:29โคโลสี2:11-12;3:11) ดังนั้น การเข้าสุหนัตในฝ่ายจิตวิญญาณ นั้นหมายถึงการที่เราได้รับการปลดปล่อยและช�ำระให้พ้นจากธรรมชาติของการดื้อดึงและไม่เชื่อฟัง การที่พระองค์ ทรงช�ำระใจของเราซึ่งเป็นคนบาปนั้นได้ให้นิสัยใหม่ และการยอมที่จะด�ำเนินชีวิตด้วยสิ้นสุดจิตใจต่อพระเจ้าและต่อ มนุษยชาติด้วย ใหญ่ นางนมัสการพระเจ้าโดยเรียกพระองค์ว่า “พระเจ้าผู้ทรงเห็นข้าพเจ้า” (El Roi) นางฮา การ์ได้กลับไป และให้ก�ำเนิดบุตรชาย คือ อิชมาเอล ขณะนั้นอับราฮัมอายุได้ 86 ปี อีกครั้งที่พระเจ้าทรงสำ�แดงต่ออับราฮัมและ ยืนยันพระองค์เองว่าเป็น “พระเจ้าผู้ทรง มหิทธิฤทธิ์” (El Shaddai) พระเจ้าทรงบัญชา แก่อับราฮัม ให้ดำ�เนินชีวิตอย่างคนดีพร้อม ดี พร้อมหมายถึง ยอมจำ�นนต่อพระเจ้าและ ดำ�เนินชีวิตด้วยการรับรู้ถึงการทรงสถิตของ พระเจ้าในทุกทางของชีวิต พระเจ้าทรงเปลี่ยน ชื่อของท่าน จาก อับราม เป็น อับราฮัม และ ซาราย เป็น ซาราห์ นี่ไม่ได้เป็นเพียงการ เปลี่ยนชื่อเท่านั้น แต่เป็นการเริ่มต้น สัมพันธภาพใหม่ระหว่างพระเจ้ากับทั้งสองคน ด้วย พระองค์ทรงสัญญาว่าอับราฮัมจะเป็น “บิดาของประชาชาติมากมาย” และนางซาราห์ จะให้กำ�เนิดบุตรชายแก่อับราฮัม ในการตอบสนองต่อพันธสัญญาของ พระเจ้า พระองค์ทรงให้อับราฮัมเริ่มต้นพิธีการ เข้าสุหนัต เพื่อเป็นเครื่องหมายสำ�หรับเชื้อสาย ที่จะสืบทอดต่อไป อับราฮัมจึงได้ทำ�พิธีสุหนัต ให้แก่ชายทุกคนในครัวเรือนของท่าน รวมทั้ง ตัวท่านเองและอิชมาเอลด้วย ในส่วนของอับ ราฮัมการเข้าพิธีสุหนัตเป็นลักษณะการกระทำ� ด้วยความเชื่อที่เครื่องหมายภายนอกที่มองเห็น ได้และไม่ลบเลือน เครื่องหมายนี้เองได้ทำ�ให้ อับราฮัมเป็นมีความเชื่อและได้รับคำ�สัญญาของ พระเจ้า ในเวลาต่อมา การเข้าพิธีสุหนัตได้ถูก เปรียบเทียบให้หมายถึงการยอมจำ�นนในความ เชื่อซึ่งเริ่มต้นจากภายในของผู้นั้นเอง พระเจ้าทรงสำ�แดงแก่อับราฮัมอีกครั้งเมื่อ ท่านอายุได้ 99 ปี เพื่อจะยืนยันในพระสัญญา ของพระองค์เรื่องการให้กำ�เนิดของนางซาราห์ ในปีถัดไป (18:1-15) ในระหว่างการทรง สำ�แดงนั้น พระเจ้าได้แจ้งแผนการของพระองค์ ที่จะทรงทำ�ลายเมืองโสโดมและโกโมราห์ที่เต็ม ไปด้วยความชั่วช้าแก่อับราฮัม แม้ว่าอับราฮัม พยายามไกล่เกลี่ยเพื่อรักษาเมืองนั้นไว้แต่ไม่มี คนชอบธรรมถึง10คนในเมืองนั้นเลย พระเจ้า จึงทรงกระทำ�ตามแผนการพิพากษาของ พระองค์ (18:16-19:29) โลทและครัวเรือนได้ หนีออกมาจากเหตุการณ์การทำ�ลายเมือง พิธีเข้าสุหนัต (17:1-27) โสโดม และโกโมราห์ (18:1-19:38) ศ UNIT_2_06.indd 79 28/3/2011 19:19:35
  • 6. สำ�รวจเบญจบรรณ80 โสโดมนี้ แต่อย่างไรก็ตาม ภรรยาของโลท ไม่ สนใจพระบัญชาที่ห้ามไม่ได้หันกลับไปดูการ ทำ�ลายขณะกำ�ลังหนีโดยการหันกลับไปมอง และนางก็กลายเป็นเสาเกลือ เรื่องราวนี้เป็นต้น กำ�เนิดของชาวโมอับและอาโมไรต์โดยทางบุตร สาวของโลท ช่วงเวลาที่อับราฮัมอยู่ที่เนเกบ ท่านได้ โกหกอีกครั้งหนึ่งว่านางซาราห์เป็นน้องสาว เนื่องด้วยความกลัวในชีวิตของตนเอง อาบีเม เลค กษัตริย์ของเมืองเก-ราร์ ซึ่งได้พานางซา ราห์ไป แต่อาบีเมเลคก็ต้องส่งตัวนางคืนให้กับ อับราฮัมเพราะพระเจ้าได้ทรงเปิดเผยความจริง เกี่ยวกับอับราฮัมและนางซาราห์ ต่อมา อาบีเม เลคและอับราฮัมได้ท�ำพันธสัญญาที่จะอยู่ด้วย กันอย่างสงบ ทั้งคู่ปฏิญาณว่าจะไม่หักหลังกัน และจะภักดีต่อกัน (ดู 21:22-34) หลังจากที่ พันธสัญญานี้ได้กระท�ำที่เบเออร์เชบา อับราฮัม ได้นมัสการพระเจ้าด้วยพระนาม“พระเจ้าผู้ทรง เกลือที่ปกคลุมอยู่ บนหินเป็นสิ่งที่พบ เห็นได้ทั่วไปที่ ทะเลตาย ในเมือง โสโดมและโกโมราห์ ในอดีต วิหารหลังคารูป ทรงโค้งที่ภูเขา พระวิหาร--ตั้งอยู ่บนภูเขาโมริยาห์ อัมบราฮัมและอาบีเมเลค (20:1-18) UNIT_2_06.indd 80 28/3/2011 19:19:37
  • 7. พันธสัญญาของพระเจ้าต่ออับราฮัม : ปฐมกาล 12-25 81 นิรันดร์กาล” นางซาราห์ได้ให้ก�ำเนิดบุตรชายแก่อับรา ฮัมเมื่อท่านอายุได้ 100 ปี และพวกเขาตั้งชื่อ บุตรชายว่า อิสอัค (แปลว่า “เขาหัวเราะ”) ชื่อ นี้หมายถึงการที่พระเจ้าทรงเป็นผู้หัวเราะใน ตอนสุดท้ายเพราะอับราฮัมและนางซาราห์ได้ หัวเราะในพระสัญญาที่พระเจ้าทรงมีต่อพวก เขา(17:17-19;18:12-15) การให้ก�ำเนิดบุตร ชายตามพระสัญญาของพระเจ้าได้ท�ำให้นางซา ราห์กระท�ำการต่อต้านนางฮาการ์และอิชมาเอล ด้วยการยืนกรานของนางซาราห์ อับราฮัมจึง ต้องให้นางฮาการ์และลูกออกไปในถิ่น ทุรกันดาร อย่างไรก็ตาม พระเจ้าทรงช่วยเหลือ นางฮาการ์และอิชมาเอลโดยจัดเตรียมชีวิตของ พวกเขาและสัญญาที่จะให้พงศ์พันธุ์ของอิชมา เอลเป็นชนชาติใหญ่ชาติหนึ่ง (21:1-21) พระบัญชาของพระเจ้าที่ให้อับราฮัมถวาย อิสอัคเป็นเครื่องบูชาแด่พระเจ้านั้นนับเป็น การถวายอิสอัคเป็นเครื่องบูชา พระบัญชาของพระเจ้าที่ให้ถวายอิสอัคเป็นเครื่องบูชาซึ่งเรียกว่า การถวายอิสอัคเป็นเครื่องบูชา (Akedeh ใน ธรรมเนียมของชาวยิว) พระบัญชาของพระเจ้านี้เป็นการทดสอบซึ่งเป็นการทดสอบเพื่อพระเจ้าจะได้รู้ว่าอับราฮัมนั้นย�ำเกรงพระเจ้าอย่าง แท้จริง อีกทั้งยังเป็นการทดสอบให้อับราฮัมได้เรียนรู้ในการวางใจในพระเจ้าด้วย ตามหลักพระคัมภีร์ ความย�ำเกรง ในพระเจ้าเป็นการแสดงถึงการยอมรับในสิทธิอ�ำนาจของพระเจ้า อับราฮัมมีการเชื่อฟังโดยปราศจากข้อสงสัยและ การรีรอใด ๆ ในพันธสัญญาของพระเจ้า การเชื่อฟังนี้ไม่ต้องการหลักฐานหรือข้อพิสูจน์หรือค�ำสัญญาใด ๆ เพราะ ว่าการเชื่อฟังนี้พบได้ในความเชื่อ แบบอย่างของความเชื่อที่แท้จริงในพระคัมภีร์ คือ การเชื่อว่าพระองค์ทรงเป็น พระเจ้า เรื่องนี้ยุติเมื่อพระเจ้าทรงรักษาความสัตย์ซื่อในพันธสัญญาของพระองค์และอับราฮัมยังคงได้รับพระสัญญา ของพระเจ้าอีกครั้งเพราะท่านได้เชื่อฟังในพระสุรเสียงของพระเจ้า (22:17-19) พระเจ้าทรงพิสูจน์ให้อับราฮัมเห็นว่า พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าผู้ทรงสัตย์ซื่อ ทั้งพระเจ้าและอับราฮัมได้ผ่านข้อพิสูจน์นี้ การถวายอิสอัคเป็น เครื่องบูชา (22:1-24) เหตุการณ์ที่ส�ำคัญที่สุดในเรื่องราวที่เกี่ยวข้อง กับอับราฮัม(ข้อ1-19) อับราฮัมได้น�ำบุตรชาย ของท่านไปยังภูเขาลูกหนึ่งที่ชื่อว่า ภูเขาโมรี ยาห์ (ซึ่งเป็นภูเขาที่กษัตริย์ซาโลมอนได้สร้าง พระวิหารในกรุงเยรูซาเล็ม ปัจจุบันรู้จักกันใน นาม ภูเขาพระวิหาร) และก็เกือบจะท�ำส�ำเร็จ แล้ว แต่พระเจ้าก็ทรงสั่งให้หยุดการท�ำพิธีนั้น และพระองค์ทรงจัดเตรียมลูกแกะไว้แทน ภูเขา ลูกนั้นจึงเป็นเหมือนเครื่องเตือนใจในความจริง ที่ว่า “พระเจ้าผู้ทรงจัดเตรียม” เยโฮวาห์ยิเรห์ ซึ่งเป็นอีกพระนามหนึ่งของพระเจ้า ถ�้ำมัค-เปลาห์ ที่ซึ่ง เป็นที่ฝังศพของ บรรพบุรุษผู้น�ำของ อิสราเอล การให้ก�ำเนิดอิสอัคและการ ขับไล่อิชมาเอล (21:1-34) ศ UNIT_2_06.indd 81 28/3/2011 19:19:37
  • 8. สำ�รวจเบญจบรรณ82 นางซาราห์อายุได้127ปีเมื่อนางเสียชีวิตใน ขณะที่อับราฮัมยังคงมีชีวิตอยู่ในดินแดนแห่ง พันธสัญญาเป็นเหมือนดั่ง“คนต่างด้าว”(23:4) ท่านได้ซื้อถ�้ำมัค-เปลาห์ในหุบเขาเฮโบรนซึ่ง เป็นดินแดนคนฮิตไทต์เพื่อฝังศพภรรยาของ ท่าน (ข้อ 1-20) การกระท�ำนี้แสดงให้เห็นถึง ความหวังและความวางใจของท่านที่เชื่อว่าดิน แดนแห่งพันธสัญญานี้จะกลายมาเป็นที่อาศัย ของครอบครัวแห่งพันธสัญญาของท่าน ถ�้ำนี้ กลายเป็นที่ฝังศพของอับราฮัม อิสอัค ภรรยา ของอิสอัคคือนางเรเบคาห์บุตรชายของอิสอัค คือ ยาโคบ และภรรยาของยาโคบ คือ นาง เลอาห์ บรรพบุรุษเหล่านี้ได้ถูกฝังร่วมกันที่ดิน แดนแห่งพันธสัญญานี้ และในความตายนี้พวก ท่านได้เป็นทายาทของดินแดนนี้ อับราฮัมได้ส่งคนรับใช้ที่ซื่อสัตย์ไปยังบ้าน เกิดของท่านในเมโสโปเตเมียเพื่อหาภรรยาให้ กับอิสอัค คนรับใช้ได้พานางเรเบคาห์ ซึ่งเป็น หลานสาวของน้องชายอับราฮัมที่ชื่อนาโฮร์ เพื่อ มาเป็นภรรยาของอิสอัค (ปฐมกาล 24) คนรับ ใช้คนนี้เป็นนักอธิษฐานผู้ซึ่งเป็นแบบอย่างของ ผู้มีศรัทธาในช่วงเวลานั้น การอธิษฐานเพื่อขอ การทรงน�ำ (ข้อ 12-14) และการสรรเสริญ ประเพณีและขนบธรรมเนียมในสมัยบรรพบุรุษของชาวยิว ขนบธรรมเนียมที่เกี่ยวเนื่องกับบรรพบุรุษของชาวยิวนี้ได้ท�ำให้เรามองเห็นวิถีชีวิตและการนมัสการในอดีต พวก เขามีชีวิตกึ่งเร่ร่อน เดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง หาทุ่งหญ้าและแหล่งน�้ำ อาศัยอยู่ในเต็นท์ เลี้ยงแกะและสัตว์ อื่น ๆ บ่อยครั้งที่มีการท�ำสัญญากับดินแดนเพื่อนบ้านและด�ำรงชีวิตอย่างสงบสุขในดินแดนซึ่งพระเจ้าทรงสัญญาไว้ (21:22-34; 26:26-31) ครัวเรือนของพวกเขารวมทั้งบรรดาลูกหลานและคนรับใช้ในบ้าน หัวหน้าครอบครัวจะเป็นผู้น�ำของครัวเรือน ด้วย การช่วยเหลือโลทของอับราฮัมแสดงให้เห็นว่าคนรับใช้ของครัวเรือนเป็นเหมือน“กองทัพ”ของครัวเรือนที่คอย ปกป้อง ป้องกัน หรือแม้แต่ช่วยเหลือครัวเรือนเมื่อเจอปัญหา (บทที่ 14) การแต่งงานถูกจัดเตรียมขึ้นโดยฝ่ายเจ้า บ่าวและครอบครัวของเจ้าบ่าว ประเพณีการแต่งงานนี้รวมถึงการให้สินสอดจากเจ้าบ่าวหรือครอบครัวเจ้าบ่าวในรูป แบบของทองค�ำหรือเงินหรือการให้คนงานด้วย (24:52-53;29:16-30) ภรรยามีสิทธิ์โดยชอบธรรมในการเลือกคน รับใช้ให้เป็นผู้ที่ตั้งท้องแทนนางได้ ในกรณีที่ทั้งคู่ไม่มีบุตรเป็นของตนเอง ทั้งคู่สามารถรับบุตรที่เกิดจากนางรับใช้ มาเป็นทายาทได้ (15:2-3) พวกเขานมัสการพระเจ้าโดยการสร้างแท่นบูชา ณ สถานที่ที่พระเจ้าทรงส�ำแดงต่อพวกเขา (เชเคม เบธเอล เบเออร์เชบาและเฮโบรน) พวกเขายังกลับมาเยี่ยมสถานที่เหล่านั้นเพื่อระลึกถึงการทรงส�ำแดงของพระเจ้า ยังไม่มี ปุโรหิตหรือพิธีที่ซับซ้อนในเวลานั้น พวกเขาเรียกพระนามของพระเจ้าในชื่อต่าง ๆ พระนามเหล่านี้สื่อความหมาย ถึงความเข้าใจของพวกเขาในฤทธิ์อ�ำนาจของพระเจ้าในหลาย ๆ ทาง ในประวัติศาสตร์ของอิสราเอลต่อมา สถานที่ ที่บรรพบุรุษเหล่านี้ได้ตั้งแท่นบูชาได้กลายเป็นสถานที่ส�ำคัญทางศาสนาและเป็นสถานที่ในการจาริกฝ่ายจิตวิญญาณ เต็นท์แบบชาว เบดูอินในอิสรา เอลสมัยใหม่ อับราฮัมเคย อาศัยอยู่ในเต็นท์ ขณะท่านพักแรม อยู่ในดินแดน คานาอัน ความตายของนางซาราห์และ การแต่งงานของอิสอัค (23:1-24:67) ว UNIT_2_06.indd 82 28/3/2011 19:19:38
  • 9. พันธสัญญาของพระเจ้าต่ออับราฮัม : ปฐมกาล 12-25 83 ขอบพระคุณส�ำหรับการทรงน�ำของพระเจ้า (ข้อ 26-27) เป็นตัวอย่างธรรมชาติของบุคคลที่มีความสัมพันธ์โดย ความเชื่อต่อพระเจ้าในพระคัมภีร์ บทสรุปของตอนนี้เป็นการกล่าวถึงการแต่งงานของ อับราฮัมกับนางเคทูราห์ ซึ่งนางได้ให้ก�ำเนิดบุตรหลาย คนแก่ท่าน ไม่ว่าจะเป็นมีเดียนซึ่งกลายเป็นบรรพบุรุษ ของชาวมีเดียน ก็เป็นหนึ่งในบุตรชายของอับราฮัม เรื่องราวของอับราฮัมจบลงด้วยการบันทึกถึงการ มรณกรรมของท่านเมื่ออายุได้ 175 ปี (ข้อ 7-11) การ ตายนี้เองท�ำให้อิสอัคได้พบกับอิชมาเอลซึ่งเป็นบุตรนอก พันธสัญญาได้ร่วมกันฝังศพของบิดาของพวกเขาที่ถ�้ำ มัค-เปลาห์ และท้ายสุดของเรื่องราวเป็นการกล่าวถึง ทายาทของอิชมาเอลที่อาศัยอยู่ในทะเลทรายอาราเบีย เรื่องราวในส่วนต่อไปเป็นการเน้นไปที่ประวัติศาสตร์ พงศ์พันธุ์ของอับราฮัมและการท�ำงานของพระองค์ ท่ามกลางพวกเขาในการสรรค์สร้างพวกเขาให้เป็น เครื่องมือเพื่อการด�ำรงความยุติธรรมและความชอบธรรม ในโลก เราจะมาเรียนรู้เรื่องนี้กันต่อไป •• เรื่องราวของบรรพบุรุษของอิสราเอลเป็นเรื่องราวของอับราฮัม อิสอัค และยาโคบ •• เรื่องราวของบรรพบุรุษของอิสราเอลเป็นส่วนหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงต้นสองพันปีก่อนคริสตกาล •• พระเจ้าทรงเรียกอับราฮัมให้เป็นพระพรแก่ทุกครัวเรือนบนแผ่นดินโลก •• พระเจ้าทรงท�ำพันธสัญญาแก่อับราฮัมที่จะมอบดินแดนแห่งพันธสัญญาและให้ท่านเป็นประชาชาติที่ยิ่ง ใหญ่ •• อับราฮัมตอบสนองต่อการทรงเรียกของพระเจ้าและพันธสัญญาด้วยการเชื่อฟังและไว้วางใจ •• อับราฮัมเป็นตัวอย่างของความเชื่อและความชอบธรรม เพราะเหตุการณ์ในชีวิตของท่านแสดงให้เห็นถึง การคงไว้ซึ่งการรับรู้ในฤทธิ์อ�ำนาจของพระเจ้า แม้แต่ในช่วงที่มีสถานการณ์ยุ่งยากในชีวิตเกิดขึ้นก็ตาม 1. สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการเติบโตทางจิตวิญญาณและการเป็นผู้ใหญ่ฝ่ายวิญญาณ จากข้อพิสูจน์ที่เราพบ ในเรื่องราวของอับราฮัมคืออะไร 2. ท่านได้รับบทเรียนอะไรเกี่ยวกับการเอาชนะอุปสรรคนั้นจากเรื่องราวของอับราฮัม 3. เขียนคุณสมบัติฝ่ายจิตวิญญาณที่พบจากเหตุการณ์ในชีวิตแห่งความเชื่อและการท�ำตามของอับราฮัม ออกมาเป็นข้อ ๆ 4. อภิปรายว่าเราสามารถด�ำเนินชีวิตเพื่อเป็นพระพรให้แก่ผู้อื่นในโลกปัจจุบันที่เราอยู่ได้อย่างไร (ใช้ ตัวอย่างจากเหตุการณ์ในชีวิตของอับราฮัม) Brueggemann, Walter. Interpretation: A Bible Commentary for Teaching and Preaching: Genesis. Atlanta: John Knox Press, 1982. Pages 105-203. Hamilton, Victor. The Book of Genesis: Chapter 1-17. New International Commentary on the Old Testament. Grand Rapids: Eerdmans, 1990. Pages 369-483. --------------. The Book of Genesis: Chapters 18-50. New International Commentary on the Old Testament. Grands Rapids: Eerdmans, 1995. Pages 3-169. Fretheim, Terence E. The Book of Genesis: Introduction, Commentary, and Reflections. Vol. 1 of The New Interpreter’s Bible. Nashville: Abingdon Press, 1994. Pages 417-515. บทสรุปย่อ คำ�ถามเพื่อการศึกษา หนังสืออ่านเพิ่มเติม ช่วงสุดท้ายของอับราฮัม (25:1-18) UNIT_2_06.indd 83 28/3/2011 19:19:38