SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
13 เมษายน 2556
ปี ที 1,ฉบับบที 1
สมองสาร
สมองสารเป็ นสือเพือบุคลากรในแวดวง
อุดมศึกษา มีเจตนาเพือนําเสนอข่าวสาร
ในประเทศ และต่างประเทศ โดยเลือกจับ
ประเด็นสําคัญๆ อันเป็ นประโยชน์และมี
ผลกระทบต่อระบบอุดมศึกษาของไทย
ด ้วยสภาพอันหลากหลายและซับซ ้อนของ
ระบบอุดมศึกษา บุคลากรจําเป็นต ้องมีข ้อมูล
ข่าวสารอันทันสมัยและรอบด ้าน เพื+อให ้ทันต่อ
กระแสการเปลี+ยนแปลงที+เกิดขึ.นอย่างรวดเร็ว
ข ้อเท็จจริงที+ปรากฏอยู่ตามสื+อสาธารณะต่างๆ
สะท ้อนให ้เห็นว่าอุดมศึกษาไทยได ้หมักหมม
ปัญหาต่างๆ นานาไว ้อย่างมากมาย ไม่ว่าจะ
เรื+องคุณภาพการศึกษา ปัญหาการคัดเลือก
เยาวชนเข ้าสู่มหาวิทยาลัย ขีดจํากัดในการ
สรรสร ้างนวัตกรรมและงานวิจัย ความสามารถ
ในการแข่งขันระดับสากล ความไม่สอดคล ้อง
กับความต ้องการของตลาดแรงงาน ตลอดจน
ปัญหาธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
อย่างไรก็ตาม เนื.อหาด ้านการศึกษาที+ปรากฏ
อยู่ในหนังสือพิมพ์มักมีลักษณะผิวเผิน หรือ
คลาดเคลื+อนต่อสภาพความเป็นจริงบางอย่าง
ไปเนื+องจากเป็นการมองจากบุคคลภายนอก
ยังไม่ปรากฏว่าจะมีสื+อมวลชนใดที+สามารถให ้
ข ้อมูลที+มีลักษณะมุมมองของบุคลากรภายใน
มหาวิทยาลัย มุมมองที+จะสะท ้อนทัศนคติ
“สมองสาร” สาระเพือคนอุดมศึกษา
‘ตูน “แก่นธรรม”
สารบัญ
บก. แถลง 1
‘ตูน “แก่นธรรม” 1
ปัญหาค่าเล่าเรียนแพง 2
แวดวงอุดมศึกษาไทย 3
แนวโน้มการศึกษาไทย 4
และความต ้องการของผู้คนในแวดวง
มหาวิทยาลัยเอง
ด ้วยเหตุดังกล่าว สมองสาร จึงนําเสนอ
เนื.อหาข่าวที+สั.น กระชับ เหมาะสําหรับ
ผู้อ่านที+ไม่มีเวลามากนัก อย่างเช่นผู้ที+
เกี+ยวข ้องกับงานบริหาร หรือการกําหนด
นโยบายของมหาวิทยาลัย (บางครั.งอาจ
ต ้องใช ้เนื.อหาที+ห ้วนสั.นผิดจากงานเอกสาร
วิชาการทั+วๆ ไป)
สมองสารจะสรุปประเด็นข่าวสารต่างๆ ด ้าน
การอุดมศึกษาทั.งในระดับสากลและ
ระดับประเทศ ออกตีพิมพ์เผยแพร่เดือนละ
1 ฉบับ โดยมุ่งหวังให ้ข่าวสารดังกล่าว
สร ้าง ผล กร ะทบเ ชิง บวกใ ห ้แก่ระบบ
อุดมศึกษาไทยโดยรวม
กองบรรณธิการสมองสารปรารถนาที+จะทํา
หน ้าที+เป็นสื+อเล็กๆ ซึ+งช่วยเติมเต็มข ้อมูล
ด ้านการอุดมศึกษาให ้สังคม ตลอดจน
ปวารณาตนในการทําหน้าที+เป็ นหูเป็ นตา
เป็ นปากเป็ นเสียงให ้กับบุคลากรในแวดวง
อุดมศึกษา จึงหวังเป็นอย่างยิ+งว่าจะได ้รับ
การต ้อนรับเป็นอย่างดีจากท่านผู้อ่าน ด ้วย
การส่งจดหมายหรือข ้อความแนะนํากลับมา
ยังกองบรรณาธิการที+อีเมลล์ (E-mail
address)
สาระเพือคนอุดมศึกษา
ก้าวทันโลก เพือประโยชน์ชาติ
สถาบันคลังสมอง
Street Address
Address 2
City, ST ZIP Code
Phone:
(555) 555-0125
Fax:
(555) 555-0145
E-mail:
E-mail address
จากข ้อมูลของคณะกรรมการรับสมัคร
นักสมัครนักศึกษาใหม่ฤดูใบไม ้ร่วงของสหรัฐฯ
(Law School Admission Council) ยอด
สมัครคณะนิติศาสตร์ 200 แห่งทั+วประเทศมี
เพียง 38,000 คน ตํ+ากว่าปีที+แล ้วถึง 20%
(หรือ 38% หากคิดเทียบย ้อนกลับไปสองปี,
2010) และหากคิดจํานวนผู้สมัครตลอดทั.งปี
ก็คาดว่าน่าจะมีตัวเลขประมาณ 54,000 ราย
หรือมีจํานวนเพียงครึ+งเดียวของจํานวนผู้สมัคร
ในปี 2004 เป็ นสภาพที+ตกตํ+าที+สุดของ
บรรดาคณะนิติศาสตร์ในสหรัฐฯ นับตั.งแต่ปี
1977 เป็นต ้นมา
ปัญหาขาดแคลนนักศึกษาใหม่ด ้าน
กฏหมายกําลังแผ่กระจายไปทั+วอเมริกา มี
มหาวิทยาลัยเพียง 4 ที+มีจํานวนผู้สมัคร
เ พิ+ม ขึ.น ทั.ง ที+ค ณ ะ นิติศ า สต ร์แ ล ะค ณ ะ
บริหารธุรกิจเคยเป็นคณะที+ได ้รับความนิยมสูง
จากหนุ่มสาวอเมริกัน เนื+องจากเป็ นช่องทาง
สร ้างความมั+งคั+งอันรวดเร็วให ้แก่บัณฑิต
ความตกตํ+าในจํานวนผู้สมัครทําให ้หลายๆ
มหาวิทยาลัยจําเป็ นต ้องตัดงบประมาณ
สนับสนุนคณะนิติศาสตร์ของตนลง อย่าง
คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยเวอร์ม ้อนท์ต ้อง
เลิกจ ้างแ ละจ ้างออกบุคล ากรบ าง ส่วน
มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ใช ้วิธีลดค่าเล่าเรียน
เพื+อจูงใจผู้สมัคร หรือบางมหาวิทยาลัยอาจจะ
เลือกลดเกณฑ์ความเข ้มข ้นในคัดเลือกผู้สมัคร
ลง
Brian Leiter แห่งมหาวิทยาลัยชิคาโก ้
ผู้ซึ+งมีบทความเผยแพร่อยู่ในอินเทอร์เน็ตคาด
ว่าน่าจะมีคณะนิติศาสตร์จํานวนไม่น้อยกว่า 10
แห่งต ้องปิดตัวเองลงภายในสิบปีข ้างหน้านี.
บรรดามหาวิทยาลัยที+เหลืออีกกว่าครึ+งก็
จะต ้องลดขนาดชั.นเรียนกฏหมายลง และลด
จํานวนบุคลากร
สาเหตุสําคัญที+ทําให ้ความนิยมในการ
เรียนกฏหมายในอเมริกาลดตํ+าลง เนื+องจาก
ปริมาณการจ้างงานที+หดตัวลง หลายๆ
ตําแหน่งงานที+เคยมีอยู่ได ้สูญไปภายใต ้สภาพ
สังคมยุคใหม่ ยุคที+อินเทอร์เน็ตได ้เข ้ามามี
บทบาทในการทํางานมากขึ.น แบบฟอร์ม
ข ้อตกลงสัญญาต่างๆ มีเผยแพร่อยู่มากมาย
ในอินเทอร์เน็ต การกรอกเอกสารทาง
กฏหมายบางอย่างไม่จําเป็ นต ้องอาศัยผู้มี
ความรู้ระดับปริญญาด ้านกฏหมาย การสืบค ้น
ข ้อมูล การวิจัยต่างๆ สามารถทําได ้สะดวก
รวดเร็วด ้วยปริมาณแรงงานน้อยลง สํานักงาน
ทนายความต่างลดจํานวนนักกฏหมายลง
หรือเลือกจ่ายงานออกไปให ้บุคคลภายนอก
(outsource) เพื+อลดค่าใช ้จ่าย
นอกจากนี. ยังเป็นที+รับรู้กันโดยทั+วไปว่า
นักเรียนกฏหมายยุคใหม่ต ้องเผชิญกับปัญหา
ปัญหาค่าเล่าเรียนแพง!!! ป่ วนวงการนิติศาสตร์อเมริกัน
จํานวนผู้สมัครเรียนคณะ
นิติศาสตร์ทั+วอเมริกาลด
ตํ+าสุดในรอบ 30 ปี สะท ้อน
ภาวะค่าเล่าเรียนแพงกระฉูด
ผูกพันหนี.มหาศาลหลังสําเร็จ
ปริญญา แถมอัตราการจ้าง
งานนิติบัณฑิตยังตํ+ามากอีก
ต่างหาก
คณะนิติศาสตร์ในอเมริกา
ต ้องมีการปรับตัวกันขนาน
ใหญ่ นอกจากการปรับลด
ค่าใช ้จ่าย ลดค่าเล่าเรียน
แล ้ว ยังหาทางปรับหลักสูตร
รูปแบบการเรียนการสอนให ้มี
ความทันสมัยสอดคล ้องกับ
ความต ้องการของตลาดมาก
ขึ.น
เช่นใช ้การฝึกงานในสถานที+
ทํางานจริงมากขึ.น หาทาง
ร่นเวลาที+ต ้องใช ้ในการสอบ
ใบประกอบวิชาชีพหลังจาก
สําเร็จการศึกษาลงจาก 3 ปี
เหลือ 2 ปี
หน้า 2 สมองสาร
หนี.สินจํานวนมากจากการเรียน และยังหางาน
ยากหลังจากสําเร็จการศึกษา มีบัณฑิตจาก
มหาวิทยาลัยชั.นนําเพียงไม่กี+แห่งเท่านั.นที+เป็น
ต ้องการขององค์กรในเมืองใหญ่ที+มีชื+อเสียง
และค่าแรงสูง เมื+อปลายปี ที+แล ้ว สมาคม
ทนายความอเมริกัน (the American Bar
Association) ได ้มีงานวิจัยระบุว่ามีบัณฑิต
จํานวน 55% เท่านั.นที+ได ้งานเต็มเวลาภายใน
9 เดือนหลังสําเร็จการศึกษา และสามารถ
สอบใบประกอบวิชาชีพทนายความ (bar
exam) ได ้ เนื+องจากการทํางานเต็มเวลานั.น
เป็นเงื+อนไขสําคัญอย่างหนึ+งในการสมัครสอบ
เยาวชนอเมริกันทั+วไปต่างตระหนักถึง
ความคุ้มค่าของเวลาที+ต ้องใช ้และจํานวนเงิน
กู้ยืม เนื+องจากผู้ปกครองอเมริกันส่วนใหญ่ไม่
นิยมส่งลูกเรียนมหาวิทยาลัย กว่า 90% ของ
นักศึกษาจึงต ้องกู้ยืมเรียนในอัตราของค่าเล่า
เรียนที+เพิ+มขึ.นทุกปี ตามอัตราเงินเฟ้อ (แม ้
ภายหลังอัตราเงินเฟ้อจะไม่เพิ+มขึ.นมากแต่ค่า
เล่าเรียนยังปรับขึ.นตลอด) ค่าเรียนนิติศาสตร์
ในมหาวิทยาลัยเอกชนมีค่าเฉลี+ย $23,000
ในปี 2001 ได ้เพิ+มเป็ น $40,500 ในปี 2012
ส่วนค่าเรียนในมหาวิทยาลัยของรัฐก็เพิ+มจาก
$8,500 เป็ น $23,600 (ค่าเล่าเรียนสําหรับ
นักศึกษาข ้ามรัฐ หรือนักศึกษาต่างชาติมีราคา
แพงกว่านี.) ส่งผลให ้หนี.จากการศึกษา
กฏหมายที+เคยมีค่าประมาณ $70,000 (2 ล ้าน
บาทเศษ) ในปี 2001 ได ้เพิ+มขึ.นมาเป็ น
$125,000 (เกือบ 4 ล ้านบาท) ในปี 2011
ยังไม่นับรวมค่าใช ้จ่ายอื+นๆ อย่างค่าอาหาร
แล ะ ค่า ที+พั ก ซึ+ง หา กพัก อา ศัยใ น เ ข ต
เศรษฐกิจอย่างนิวยอร์คอาจจะต ้องมีค่าใช ้จ่าย
เพื+อการเรียนกฏหมายสูงถึงปีละ $80,000 เลย
ทีเดียว
ปั ญหาค่าใช ้จ่ายในการเรียนไม่ได ้
กระทบเฉพาะจํานวนผู้เรียนนิติศาสตร์ แต่มีผล
แทบจะทุกสาขาวิชาชีพ (ยกเว ้นสาขาแพทยที่
ยังคงมีอัตราการเติบโตเพิ+มขึ.นอย่างต่อเนื+อง
มาตลอดช่วงระยะเวลาสิบปี) เพียงแต่คณะ
นิติศาสตร์ดูจะได ้รับผลกระทบมากที+สุด เมื+อ
เทียบกับสาขาวิชาระดับบัณฑิตศึกษาที+เคย
ได ้รับ ความ นิยม สูสีกัน มาใ น อดีต อย่าง
บริหารธุรกิจ (MBA) ก็พบว่าได ้รับผลกระทบ
น้อยกว่ามาก เนื+องจากจํานวนผู้เรียน MBA
ยังคงมีปริมาณค่อนข ้างคงที+ (เพิ+ม 0.8% ในปี
2011) และได ้รับความนิยมจากนักเรียน
ต่างชาติ (เพิ+มขึ.น 13%) ทั.งนี. นักเรียน
ต่างชาติมักไม่สนใจเรียนกฏหมายของอเมริกา
เนื+องจากไม่สามารถนําไปประยุกต์ใช ้กับการ
ทํางานในบ ้านเมืองของตนเองได ้
อุดมศึกษาต่างประเทศ
สุภาพชนสามัคคีกัน
แต่ไม่สมคบกัน
คนถ่อยสมคบกันแต่
ไม่สามัคคีกัน
.
ขงจือ
Page 3สมองสาร แวดวงอุดมศึกษาไทย
ยินดีกับบุคลากรอุดมศึกษาที่ไดเสนาบดีทานใหม
“พงศเทพ เทพกาญจนา” ซึ่งมีความเขาอก
เขาใจในแวดวงอุดมศึกษามาคอนขางดี ดวยเคย
ดํารงตําแหนงนายสภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย
อลงกรณมากอน แตหากทานนั่งเปนรัฐมนตรีแค
3 – 8 เดือนเหมือนทานที่ผานๆ มา งาน
อุดมศึกษาก็คงจะไมคืบหนาไปไหน ... เพราะ
งานปลูกฝงความรูใหกับเยาวชนนั้นเปรียบไดกับ
การปลูกไมยืนตน หากรัฐมนตรีมาแบบการเมือง
แบบสมบัติผลัดกันชม คงทําไดแตนโยบายหา
เสียงสั้นๆ เหมือนปลูกดอกไมประดับ อนาคต
ของเยาวชนไทยก็คงเปนอยางผลการทดสอบของ
PISA ที่ต่ําตอยนอยหนาเพื่อนบานอาเซียนทุก
ประเทศ ทั้งที่ลงทุนงบประมาณดานการศึกษาสูง
ที่สุด จึงหวังวาทาน รมว. ศธ. จะเสียสละทํางาน
สรางอนาคตใหกับประเทศไทยจนครบวาระของ
รัฐบาล …… ดวยการศึกษาของไทยนั้น
หมักหมมไวดวยปญหาสารพัน นับตั้งแตการ
ปฏิรูปการศึกษารอบแรกตั้งแตป 2542 มีการ
ควบรวมระบบการศึกษาทุกระดับเขามาไวภายใน
กระทรวงเดียวกัน เพื่อใหการจัดการศึกษา
เชื่อมตอกันอยางไรรอยตอ แตผานมากกวา 20
ปแลวก็ยังดูเหมือนวาจะตางคนตางอยูเปนแทงๆ
เอกเทศ ตางคนตางมีปรัชญา แนวทาง และ
งานวิจัยของตนเอง ... ยกตัวอยางแทง
อุดมศึกษา ภายใตการดูแลของ สกอ. นั้นนับวา
ยอบแยบย่ําแยกวาแทงอื่นๆ เพราะเคยยิ่งใหญ
ระดับทบวงมหาวิทยาลัยทั้งที่มีมหาวิทยาลัยให
ดูแลแคไมถึง 30 แหง แตพอวันที่ประเทศไทยมี
สถาบันอุดมศึกษาใหดูแลมากถึงเกือบ 300 แหง
กลับใหอยูในสถานะของหนวยงานระดับเทียบเทา
กรม ดวยเหตุผลวางานบริหารสวนใหญไปอยูใน
อํานาจของสภามหาวิทยาลัยหมดแลว แตพอมี
ปญหาทุจริต การศึกษาไมมีคุณภาพ การบริหาร
ไมโปรงใส ไรธรรมาภิบาล ฯลฯ สกอ. กลับตอง
สรุปโดย .... มีนลัคน พฤหัสกุม
เขาไปแบกรับปญหาเอาไวเสียหมด ไมกลุมตอนนี้แลวจะ
ไปกลุมตอนไหน ... ความย่ําแยของอุดมศึกษายัง
สะทอนจากความไมพอใจของบรรดาอาจารยมหาวิทยาลัย
ทั้งหลายที่รอคอยการปรับขึ้นเงินเดือน 8% + 5% ที่
รมว.ศธ. ชินวรณ บุณยเกียรติ เอาใจเฉพาะครูประถม
และมัธยมที่เปนฐานคะแนนเสียงนักการเมืองไปตั้งแต
เมื่อ 2 ปที่แลว .... ทําเอากูรูของการบริหาร
อุดมศึกษาอยาง รศ.ดร. วันชัย ศิริชนะ อดีตปลัดทบวงฯ
และอดีตเลขาธิการ สกอ. ศ.(พิเศษ) ดร. ภาวิช ทอง
โรจน และ ศ.(พิเศษ) มณฑล สงวนเสริมศรี อธิการบดี
ม.พะเยา ออกมาประสานเสียงวาควรแยก สกอ. มารวม
กับหนวยงานดานสนับสนุนงานวิจัย อยาง สกว. วช. วว.
สวทช. เพื่อจัดตั้งเปนกระทรวงอุดมศึกษาและงานวิจัย
จะไดชวยพลิกฟนสภาพอันย่ําแยของระบบการอุดมศึกษา
และการวิจัยของประเทศไทยใหกลับมาโชติชวงชัชวาลยได
อีกครั้งเหมือนดังอดีต …. อยางไรก็ตาม ขอเสนอ
ของกูรูเหลานี้คงตองคางเติ่งไปอีกหลายปแนๆ เพราะ
ฝายพรรคการเมืองเขาเผยไตออกมาแลววา แนวทางตั้ง
กระทรวงน้ําดูจะนาสนใจกวา ตอนนี้พรรคที่บริหาร
ประเทศเขาสนใจที่จะแยกหนวยงาน กศน. ออกมาเปน
แทงการศึกษาแทงใหมใน ศธ. มากกวา เพราะตองดูแล
การศึกษานอกระบบของประชาชนไทยจํานวนหลายลาน
คน แคนับหัวของฐานคะแนนเสียงก็มากกวาพวกที่อยูใน
อุดมศึกษาหลายเทาแลว ยังไมนับโอกาสทาง
งบประมาณที่จะตามมาอีกตางหาก .......กระทรวงใหญ
ขนาดนี้ งานรับผิดชอบมีอยูมากมายมหาศาล ทุกอยาง
ลวนเปนเรื่องเรงดวนไปหมด ไดแตเอาใจชวย รมว. พงศ
เทพ เทพกาญจนา ใหไดอยูชวยสรางผลงานเพื่อชาติ
บานเมืองใหมีชื่อจารึกไวใหลูกหลานไดชื่นชมกันบาง
… ขาวดี การแตงตั้ง ศ.ดร.ไพฑูรย สินลารัตน มา
เปนประธานกรรมการคุรุสภาฯ หวังวาปญหายุงๆ
เกี่ยวกับคุณครูทั้งหลายจะคลี่คลายไปไดในทางดีเพราะได
ผูเชี่ยวชาญมาดูแล ในขณะที่ ดร. อนุสรณ แสงนิ่มนวล
มาเปนประธานบอรดอาชีวศึกษา นาจะไดคนที่เขาใจ
ตลาดแรงงานและโลกอุตสาหกรรมไดดีมาชวยดูแล
โอกาสทางการศึกษาของประชาชน
o ประชาชนในวัย 21 ปี ถึง 64 ปี ใน
กลุ่มประเทศสมาชิกของ OECD กว่า
31% ได ้รับโอกาสเข ้าอุดมศึกษา
(อเมริกา 42%) แต่หากเจาะลึกลงไป
ในกลุ่มหนุ่มสาว อายุ 25 – 34 ปี จะ
พบว่าประเทศแถบเอเชียมีสัดส่วนของ
ผู้เข ้าอุดมศึกษาสูงกว่าประเทศทาง
ยุโรปมาก เช่น ในเกาหลีใต ้นั.นมีหนุ่ม
สาวระดับอุดมศึกษาสูงถึง 65% (ชาติ
ยุโรปรวมทั.งอเมริกามีค่าเฉลี+ย 38% )
ในขณะที+คนสูงวัย (55 – 64 ปี) ของ
ช า ติต ะ วั น ต ก มีเ ป อ ร์เ ซ น ต์ผ่ า น
การศึกษาในระดับอุดมศึกษาสูงถึง
23% (คนสูงวัยในเกาหลีใต ้มีเพียง
13%)
o นักศึกษาหญิงเพิ+มแซงหน้าจํานวน
นักศึกษาชายในกลุ่มประเทศสมาชิก
OECD ด ้วยปริมาณ 60% ในปี 2548
และ 69% ในปี 2553 ในขณะที+
จํานวนนักศึกษาชายมีเพียง 48% ในปี
2548 และ 55% ในปี 2553 แถม
สตรียังสําเร็จการศึกษาด ้วยเกรดเฉลี+ย
สูงกว่า และสตรียังรุกคืบเข ้าไปใน
สาขาวิชาที+เคยถือเป็ นความถนัดของ
เพศชายอย่าง วิศวกรรม อุตสาหกรรม
และคอมพิวเตอร์ ฯลฯ อีกด ้วย
o เศรษฐานะยังถือเป็ นปัจจัยหลักใน
โอกาสในการเข ้าสู่อุดมศึกษา ในกลุ่ม
ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิก ข อ ง OECD นั.น
เยาวชนที+มีผู้ปกครองวุฒิการศึกษาตํ+า
จะมีโอกาสเพียง 0.49 % ในการเข ้า
ศึก ษ า ต่อ ใ น ส ถ า บั น อุ ด ม ศึก ษ า
ในขณะที+เยาวชนที+มีผู้ปกครองสําเร็จ
การศึกษาสูงกว่าระดับมัธยมจะมี
โอกาส 1.9
o ประเทศสมาชิกของ OECD หลายๆ
แ ห่ง ไ ด ้เ ริ+ม มีก า ร ป ฏิรูป ก า ร เ งิน
อุดมศึกษามาตั.งแต่ปี พ.ศ. 2538 มี
การลดสัดส่วนงบประมาณสนับสนุน
สถาบันอุดมศึกษาจากภาครัฐ ทําให ้
จําเป็นต ้องมีการแสวงหาเงินสนับสนุน
จากภาคเอกชนมากขึ.น นําไปสู่การ
เพิ+มค่าเล่าเรียนด ้วยแนวคิดพื.นฐานว่า
“บัณฑิตเป็ นผู้ได ้รับประโยชน์จาก
อุดมศึกษาโดย ตรง ผู้เรียนและ
ผู้ปกครองจึงควรเข ้ามามีส่วนร่วมกับ
ต ้นทุนในการจัดการศึกษาเพิ+มมากขึ.น”
การศึกษา กับสภาพถดถอยทางเศรษฐกิจ
o ผู้สําเร็จอุดมศึกษาในกลุ่มประเทศสมาชิกของ
OECD มีอัตราการว่างงานตํ+ากว่าผู้สําเร็จ
มัธยมศึกษา โดยผู้ว่างงานที+มีวุฒิอุดมศึกษา
มีอัตราเพิ+มขึ.นจาก 3.3 % ในปี พ.ศ. 2550
ไปเป็น 4.7% .ในปี 2553 ในขณะที+ผู้
ว่างงานที+มีวุฒิมัธยมศึกษาเพิ+มขึ.นจาก 4.9
% ไปเป็น 7.6 %
o ช่องว่างรายได ้ระหว่างผู้สําเร็จอุดมศึกษากับ
ผู้สําเร็จมัธยมศึกษามีแนวโน้มเพิ+มขึ.นจากเดิม
โดยในปี 2551 นั.น แรงงานวุฒิ
ระดับอุดมศึกษามีรายได ้มากกว่าผู้สําเร็จ
การศึกษาระดับมัธยมกว่า 50% (เพศชาย
58% ,เพศหญิง 54%) โดยประเทศที+มีส่วน
ต่างรายได ้สูงสุดคือประเทศบราซิล
การศึกษาข้ามชาติ
o ในปี 2553 นักศึกษาข ้ามชาติซึ+งพิจารณาจาก
การลงทะเบียนในสถาบันอุดมศึกษาซึ+งมิได ้มี
ตั.งอยู่ในประเทศซึ+งตนเองถือสัญชาติ มี
จํานวนมากกว่า 4.1 ล ้านคน เพิ+มสูงขึ.น 99
% เมื+อเทียบกับสิบปีที+แล ้ว (ปี 2543) และ
เพิ+มขึ.น 500% เมื+อเทียบกับจํานวนนักศึกษา
ข ้ามชาติ 8 แสนคนเมื+อ 35 ปี ที+แล ้ว (ปี
2518)
o ในบรรดานักศึกษาข ้ามชาติจํานวนมากกว่า
4.1 ล ้านคนนั.น มากกว่า 52% มาจาก
ประเทศในภาคพื.นทวีปเอเชีย
o ประเทศที+ได ้รับความนิยมจากนักศึกษาข ้าม
ชาติสูงสุดมาตลอดหลายทศวรรษยังคงเป็ น
ประเทศสหรัฐอเมริกา (17% และเคยสูงถึง
2 3 % ใ น ปี 2 5 4 3 ) ร อ ง ล ง ม า คื อ
สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย ฝรั+งเศส
และเยอรมัน
แนวโน้มการศึกษาโลกในรอบปีทีผ่านมา
รายงานประจําปี 2555 เกี+ยวกับ “สภาพ
การศึกษาโดยสังเขป (Education at a
Glance ) ขององค์การเพื+อความร่วมมือ
ทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD)
ตีพิมพ์เผยแพร่ในเดือนกันยายน 2555 มี
การระบุถึงข ้อมูลสถิติที+น่าสนใจของ
สภาพการศึกษาทั.งภายในและภายนอก
กลุ่มประเทศสมาชิกของ OECD
ข้อสังเกตุเรืองความน่าเชือถือใน
รายงานของ OECD
รายงานประจําปี พ.ศ. 2555
ข อ ง OECD เ กี+ ย ว กั บ “ส ภ า พ
การศึกษาโดยสังเขป (Education at
a Glance ) ได ้นํามาซึ+งความตื+นตัว
ใ น แ ว ด ว ง ก า ร ศึ ก ษ า ทั+ ว โ ล ก
โดยเฉพาะประเทศเยอรมันซึ+งมี
ความก ้าวหน้าทั.งในเชิงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และเชิงเศรษฐกิจ ซึ+งด ้
รับ การ ป ร ะ เ มินว่ามีโอ กา สท า ง
การศึกษาค่อนข ้างตํ+า โดยระบุว่า มี
เยาวชนเยอรมัน อายุ 25 ปี ถึง 34 ปี
เ พีย ง 42% ที+ได ้มีโ อก าสเ ข ้า สู่
อุดมศึกษา (ประเทศสมาชิก OECD
มีค่าเฉลี+ย 62%) และมีเยาวชน
เยอรมันเพียง 22% ที+ได ้รับ
การศึกษาสูงกว่าบุพการีของตน
(โดยเฉลี+ยแล ้ว 37% ของเยาวชน
ในประเทศสมาชิก OECD ได ้รับ
การศึกษาสูงกว่าบุพการี มีเพียง
13% ที+ได ้รับการศึกษาตํ+ากว่า
บุพการี) ทําให ้ประเทศเยอรมันถูก
จัดว่ามีโอกาสทางการศึกษาแทบจะ
ตํ+าที+สุดใ นกลุ่มป ระเ ท ศสมาชิก
OECD ยกเว ้น สโลวัก และเอสโต
เนีย
ผลการศึกษาของ OECD
ขัด กับ ข ้อ มูล ท า ง สถิติจ า ก ฝ่ า ย
นโยบายการศึกษาของประเทศ
เยอรมันที+ระบุว่ามีเยาวชนเพียง 14%
ที+ได ้รับการศึกษาตํ+ากว่าบุพการี
เนื+องจากวิธีการประเมินของ OECD
ละเลยระบบการศึกษาแบบคู่ขนาน
(dual system) ที+ใช ้การฝึกงานใน
ระบบอาชีวศึกษา (vocational
training) กระทรวงศึกษาธิการ
เยอรมันระบุว่าการเปรียบเทียบระดับ
การศึกษาภายใต ้ระบบที+แตกต่างกัน
นั.นไม่ต่างอะไรกับการเปรียบเทียบ
แอปเปิ.ลกับส ้ม และระบบการศึกษา
คู่ขนานของเยอรมันได ้รับความชื+อถือ
นําไปปฏิบัติในหลายๆ ประเทศ ซึ+ง
ต ้องการปฏิรูประบบการศึกษาให ้มี
ประสิทธิภาพมากขึ.น เนื+องจากสังคม
อุตสาหกรรมสมัยใหม่นั.นต ้องการ
แรงงานวิชาชีพคุณภาพเพื+อเพิ+ม
โอกาสในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
ในระดับโลก

More Related Content

Viewers also liked

Basic Concepts of Inferential statistics
Basic Concepts of Inferential statisticsBasic Concepts of Inferential statistics
Basic Concepts of Inferential statisticsStatistics Consultation
 
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)Surapol Sriboonsong
 
internet dan intranet
internet dan intranetinternet dan intranet
internet dan intranetayu_meyda
 
pengertian internet
pengertian internetpengertian internet
pengertian internetayu_meyda
 
Juicio ejecutivo mercantil
Juicio ejecutivo mercantilJuicio ejecutivo mercantil
Juicio ejecutivo mercantilAstrid Soto
 
Ayu dan anisa 9a
Ayu dan anisa 9aAyu dan anisa 9a
Ayu dan anisa 9aayu_meyda
 
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ ความเป็นมา
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ  ความเป็นมา01 มหาวิทยาลัยในกำกับ  ความเป็นมา
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ ความเป็นมาSurapol Sriboonsong
 
02 มหาวิทยาลัยในกำกับ พรบ และการเตรียมความพร้อม
02 มหาวิทยาลัยในกำกับ  พรบ และการเตรียมความพร้อม02 มหาวิทยาลัยในกำกับ  พรบ และการเตรียมความพร้อม
02 มหาวิทยาลัยในกำกับ พรบ และการเตรียมความพร้อมSurapol Sriboonsong
 
Active Network Service Composition
Active Network Service CompositionActive Network Service Composition
Active Network Service CompositionIJERD Editor
 
présentation Déjeuner buffet et visite de l'espace d'exposition - FWT15 Pari...
présentation  Déjeuner buffet et visite de l'espace d'exposition - FWT15 Pari...présentation  Déjeuner buffet et visite de l'espace d'exposition - FWT15 Pari...
présentation Déjeuner buffet et visite de l'espace d'exposition - FWT15 Pari...Fujitsu France
 
農業委員會:「農藥管理法」部分條文修正草案
農業委員會:「農藥管理法」部分條文修正草案農業委員會:「農藥管理法」部分條文修正草案
農業委員會:「農藥管理法」部分條文修正草案R.O.C.Executive Yuan
 
Hankintalain kokonaisuudistus, työryhmämietinnön esittely 13.5.2015
Hankintalain kokonaisuudistus, työryhmämietinnön esittely 13.5.2015Hankintalain kokonaisuudistus, työryhmämietinnön esittely 13.5.2015
Hankintalain kokonaisuudistus, työryhmämietinnön esittely 13.5.2015Työ- ja elinkeinoministeriö
 
Small business 2015 outlook
Small business 2015 outlookSmall business 2015 outlook
Small business 2015 outlookBiz2Credit
 
День захисту дітей
День захисту дітейДень захисту дітей
День захисту дітейОціночки
 

Viewers also liked (14)

Basic Concepts of Inferential statistics
Basic Concepts of Inferential statisticsBasic Concepts of Inferential statistics
Basic Concepts of Inferential statistics
 
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)
ความร่วมมือช่วยมหาวิทยาลัยไต่อันดับ (2)
 
internet dan intranet
internet dan intranetinternet dan intranet
internet dan intranet
 
pengertian internet
pengertian internetpengertian internet
pengertian internet
 
Juicio ejecutivo mercantil
Juicio ejecutivo mercantilJuicio ejecutivo mercantil
Juicio ejecutivo mercantil
 
Ayu dan anisa 9a
Ayu dan anisa 9aAyu dan anisa 9a
Ayu dan anisa 9a
 
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ ความเป็นมา
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ  ความเป็นมา01 มหาวิทยาลัยในกำกับ  ความเป็นมา
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ ความเป็นมา
 
02 มหาวิทยาลัยในกำกับ พรบ และการเตรียมความพร้อม
02 มหาวิทยาลัยในกำกับ  พรบ และการเตรียมความพร้อม02 มหาวิทยาลัยในกำกับ  พรบ และการเตรียมความพร้อม
02 มหาวิทยาลัยในกำกับ พรบ และการเตรียมความพร้อม
 
Active Network Service Composition
Active Network Service CompositionActive Network Service Composition
Active Network Service Composition
 
présentation Déjeuner buffet et visite de l'espace d'exposition - FWT15 Pari...
présentation  Déjeuner buffet et visite de l'espace d'exposition - FWT15 Pari...présentation  Déjeuner buffet et visite de l'espace d'exposition - FWT15 Pari...
présentation Déjeuner buffet et visite de l'espace d'exposition - FWT15 Pari...
 
農業委員會:「農藥管理法」部分條文修正草案
農業委員會:「農藥管理法」部分條文修正草案農業委員會:「農藥管理法」部分條文修正草案
農業委員會:「農藥管理法」部分條文修正草案
 
Hankintalain kokonaisuudistus, työryhmämietinnön esittely 13.5.2015
Hankintalain kokonaisuudistus, työryhmämietinnön esittely 13.5.2015Hankintalain kokonaisuudistus, työryhmämietinnön esittely 13.5.2015
Hankintalain kokonaisuudistus, työryhmämietinnön esittely 13.5.2015
 
Small business 2015 outlook
Small business 2015 outlookSmall business 2015 outlook
Small business 2015 outlook
 
День захисту дітей
День захисту дітейДень захисту дітей
День захисту дітей
 

Similar to สารสมอง ปฐมฤกษ์ (20)

THAILAND consumer trend
 THAILAND  consumer trend   THAILAND  consumer trend
THAILAND consumer trend
 
Generation z
Generation zGeneration z
Generation z
 
งานธุรการ
งานธุรการงานธุรการ
งานธุรการ
 
Thai Education Master Plan # 11
Thai Education Master Plan # 11Thai Education Master Plan # 11
Thai Education Master Plan # 11
 
แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 

สารสมอง ปฐมฤกษ์

  • 1. 13 เมษายน 2556 ปี ที 1,ฉบับบที 1 สมองสาร สมองสารเป็ นสือเพือบุคลากรในแวดวง อุดมศึกษา มีเจตนาเพือนําเสนอข่าวสาร ในประเทศ และต่างประเทศ โดยเลือกจับ ประเด็นสําคัญๆ อันเป็ นประโยชน์และมี ผลกระทบต่อระบบอุดมศึกษาของไทย ด ้วยสภาพอันหลากหลายและซับซ ้อนของ ระบบอุดมศึกษา บุคลากรจําเป็นต ้องมีข ้อมูล ข่าวสารอันทันสมัยและรอบด ้าน เพื+อให ้ทันต่อ กระแสการเปลี+ยนแปลงที+เกิดขึ.นอย่างรวดเร็ว ข ้อเท็จจริงที+ปรากฏอยู่ตามสื+อสาธารณะต่างๆ สะท ้อนให ้เห็นว่าอุดมศึกษาไทยได ้หมักหมม ปัญหาต่างๆ นานาไว ้อย่างมากมาย ไม่ว่าจะ เรื+องคุณภาพการศึกษา ปัญหาการคัดเลือก เยาวชนเข ้าสู่มหาวิทยาลัย ขีดจํากัดในการ สรรสร ้างนวัตกรรมและงานวิจัย ความสามารถ ในการแข่งขันระดับสากล ความไม่สอดคล ้อง กับความต ้องการของตลาดแรงงาน ตลอดจน ปัญหาธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม เนื.อหาด ้านการศึกษาที+ปรากฏ อยู่ในหนังสือพิมพ์มักมีลักษณะผิวเผิน หรือ คลาดเคลื+อนต่อสภาพความเป็นจริงบางอย่าง ไปเนื+องจากเป็นการมองจากบุคคลภายนอก ยังไม่ปรากฏว่าจะมีสื+อมวลชนใดที+สามารถให ้ ข ้อมูลที+มีลักษณะมุมมองของบุคลากรภายใน มหาวิทยาลัย มุมมองที+จะสะท ้อนทัศนคติ “สมองสาร” สาระเพือคนอุดมศึกษา ‘ตูน “แก่นธรรม” สารบัญ บก. แถลง 1 ‘ตูน “แก่นธรรม” 1 ปัญหาค่าเล่าเรียนแพง 2 แวดวงอุดมศึกษาไทย 3 แนวโน้มการศึกษาไทย 4 และความต ้องการของผู้คนในแวดวง มหาวิทยาลัยเอง ด ้วยเหตุดังกล่าว สมองสาร จึงนําเสนอ เนื.อหาข่าวที+สั.น กระชับ เหมาะสําหรับ ผู้อ่านที+ไม่มีเวลามากนัก อย่างเช่นผู้ที+ เกี+ยวข ้องกับงานบริหาร หรือการกําหนด นโยบายของมหาวิทยาลัย (บางครั.งอาจ ต ้องใช ้เนื.อหาที+ห ้วนสั.นผิดจากงานเอกสาร วิชาการทั+วๆ ไป) สมองสารจะสรุปประเด็นข่าวสารต่างๆ ด ้าน การอุดมศึกษาทั.งในระดับสากลและ ระดับประเทศ ออกตีพิมพ์เผยแพร่เดือนละ 1 ฉบับ โดยมุ่งหวังให ้ข่าวสารดังกล่าว สร ้าง ผล กร ะทบเ ชิง บวกใ ห ้แก่ระบบ อุดมศึกษาไทยโดยรวม กองบรรณธิการสมองสารปรารถนาที+จะทํา หน ้าที+เป็นสื+อเล็กๆ ซึ+งช่วยเติมเต็มข ้อมูล ด ้านการอุดมศึกษาให ้สังคม ตลอดจน ปวารณาตนในการทําหน้าที+เป็ นหูเป็ นตา เป็ นปากเป็ นเสียงให ้กับบุคลากรในแวดวง อุดมศึกษา จึงหวังเป็นอย่างยิ+งว่าจะได ้รับ การต ้อนรับเป็นอย่างดีจากท่านผู้อ่าน ด ้วย การส่งจดหมายหรือข ้อความแนะนํากลับมา ยังกองบรรณาธิการที+อีเมลล์ (E-mail address) สาระเพือคนอุดมศึกษา ก้าวทันโลก เพือประโยชน์ชาติ สถาบันคลังสมอง Street Address Address 2 City, ST ZIP Code Phone: (555) 555-0125 Fax: (555) 555-0145 E-mail: E-mail address
  • 2. จากข ้อมูลของคณะกรรมการรับสมัคร นักสมัครนักศึกษาใหม่ฤดูใบไม ้ร่วงของสหรัฐฯ (Law School Admission Council) ยอด สมัครคณะนิติศาสตร์ 200 แห่งทั+วประเทศมี เพียง 38,000 คน ตํ+ากว่าปีที+แล ้วถึง 20% (หรือ 38% หากคิดเทียบย ้อนกลับไปสองปี, 2010) และหากคิดจํานวนผู้สมัครตลอดทั.งปี ก็คาดว่าน่าจะมีตัวเลขประมาณ 54,000 ราย หรือมีจํานวนเพียงครึ+งเดียวของจํานวนผู้สมัคร ในปี 2004 เป็ นสภาพที+ตกตํ+าที+สุดของ บรรดาคณะนิติศาสตร์ในสหรัฐฯ นับตั.งแต่ปี 1977 เป็นต ้นมา ปัญหาขาดแคลนนักศึกษาใหม่ด ้าน กฏหมายกําลังแผ่กระจายไปทั+วอเมริกา มี มหาวิทยาลัยเพียง 4 ที+มีจํานวนผู้สมัคร เ พิ+ม ขึ.น ทั.ง ที+ค ณ ะ นิติศ า สต ร์แ ล ะค ณ ะ บริหารธุรกิจเคยเป็นคณะที+ได ้รับความนิยมสูง จากหนุ่มสาวอเมริกัน เนื+องจากเป็ นช่องทาง สร ้างความมั+งคั+งอันรวดเร็วให ้แก่บัณฑิต ความตกตํ+าในจํานวนผู้สมัครทําให ้หลายๆ มหาวิทยาลัยจําเป็ นต ้องตัดงบประมาณ สนับสนุนคณะนิติศาสตร์ของตนลง อย่าง คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยเวอร์ม ้อนท์ต ้อง เลิกจ ้างแ ละจ ้างออกบุคล ากรบ าง ส่วน มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ใช ้วิธีลดค่าเล่าเรียน เพื+อจูงใจผู้สมัคร หรือบางมหาวิทยาลัยอาจจะ เลือกลดเกณฑ์ความเข ้มข ้นในคัดเลือกผู้สมัคร ลง Brian Leiter แห่งมหาวิทยาลัยชิคาโก ้ ผู้ซึ+งมีบทความเผยแพร่อยู่ในอินเทอร์เน็ตคาด ว่าน่าจะมีคณะนิติศาสตร์จํานวนไม่น้อยกว่า 10 แห่งต ้องปิดตัวเองลงภายในสิบปีข ้างหน้านี. บรรดามหาวิทยาลัยที+เหลืออีกกว่าครึ+งก็ จะต ้องลดขนาดชั.นเรียนกฏหมายลง และลด จํานวนบุคลากร สาเหตุสําคัญที+ทําให ้ความนิยมในการ เรียนกฏหมายในอเมริกาลดตํ+าลง เนื+องจาก ปริมาณการจ้างงานที+หดตัวลง หลายๆ ตําแหน่งงานที+เคยมีอยู่ได ้สูญไปภายใต ้สภาพ สังคมยุคใหม่ ยุคที+อินเทอร์เน็ตได ้เข ้ามามี บทบาทในการทํางานมากขึ.น แบบฟอร์ม ข ้อตกลงสัญญาต่างๆ มีเผยแพร่อยู่มากมาย ในอินเทอร์เน็ต การกรอกเอกสารทาง กฏหมายบางอย่างไม่จําเป็ นต ้องอาศัยผู้มี ความรู้ระดับปริญญาด ้านกฏหมาย การสืบค ้น ข ้อมูล การวิจัยต่างๆ สามารถทําได ้สะดวก รวดเร็วด ้วยปริมาณแรงงานน้อยลง สํานักงาน ทนายความต่างลดจํานวนนักกฏหมายลง หรือเลือกจ่ายงานออกไปให ้บุคคลภายนอก (outsource) เพื+อลดค่าใช ้จ่าย นอกจากนี. ยังเป็นที+รับรู้กันโดยทั+วไปว่า นักเรียนกฏหมายยุคใหม่ต ้องเผชิญกับปัญหา ปัญหาค่าเล่าเรียนแพง!!! ป่ วนวงการนิติศาสตร์อเมริกัน จํานวนผู้สมัครเรียนคณะ นิติศาสตร์ทั+วอเมริกาลด ตํ+าสุดในรอบ 30 ปี สะท ้อน ภาวะค่าเล่าเรียนแพงกระฉูด ผูกพันหนี.มหาศาลหลังสําเร็จ ปริญญา แถมอัตราการจ้าง งานนิติบัณฑิตยังตํ+ามากอีก ต่างหาก คณะนิติศาสตร์ในอเมริกา ต ้องมีการปรับตัวกันขนาน ใหญ่ นอกจากการปรับลด ค่าใช ้จ่าย ลดค่าเล่าเรียน แล ้ว ยังหาทางปรับหลักสูตร รูปแบบการเรียนการสอนให ้มี ความทันสมัยสอดคล ้องกับ ความต ้องการของตลาดมาก ขึ.น เช่นใช ้การฝึกงานในสถานที+ ทํางานจริงมากขึ.น หาทาง ร่นเวลาที+ต ้องใช ้ในการสอบ ใบประกอบวิชาชีพหลังจาก สําเร็จการศึกษาลงจาก 3 ปี เหลือ 2 ปี หน้า 2 สมองสาร หนี.สินจํานวนมากจากการเรียน และยังหางาน ยากหลังจากสําเร็จการศึกษา มีบัณฑิตจาก มหาวิทยาลัยชั.นนําเพียงไม่กี+แห่งเท่านั.นที+เป็น ต ้องการขององค์กรในเมืองใหญ่ที+มีชื+อเสียง และค่าแรงสูง เมื+อปลายปี ที+แล ้ว สมาคม ทนายความอเมริกัน (the American Bar Association) ได ้มีงานวิจัยระบุว่ามีบัณฑิต จํานวน 55% เท่านั.นที+ได ้งานเต็มเวลาภายใน 9 เดือนหลังสําเร็จการศึกษา และสามารถ สอบใบประกอบวิชาชีพทนายความ (bar exam) ได ้ เนื+องจากการทํางานเต็มเวลานั.น เป็นเงื+อนไขสําคัญอย่างหนึ+งในการสมัครสอบ เยาวชนอเมริกันทั+วไปต่างตระหนักถึง ความคุ้มค่าของเวลาที+ต ้องใช ้และจํานวนเงิน กู้ยืม เนื+องจากผู้ปกครองอเมริกันส่วนใหญ่ไม่ นิยมส่งลูกเรียนมหาวิทยาลัย กว่า 90% ของ นักศึกษาจึงต ้องกู้ยืมเรียนในอัตราของค่าเล่า เรียนที+เพิ+มขึ.นทุกปี ตามอัตราเงินเฟ้อ (แม ้ ภายหลังอัตราเงินเฟ้อจะไม่เพิ+มขึ.นมากแต่ค่า เล่าเรียนยังปรับขึ.นตลอด) ค่าเรียนนิติศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยเอกชนมีค่าเฉลี+ย $23,000 ในปี 2001 ได ้เพิ+มเป็ น $40,500 ในปี 2012 ส่วนค่าเรียนในมหาวิทยาลัยของรัฐก็เพิ+มจาก $8,500 เป็ น $23,600 (ค่าเล่าเรียนสําหรับ นักศึกษาข ้ามรัฐ หรือนักศึกษาต่างชาติมีราคา แพงกว่านี.) ส่งผลให ้หนี.จากการศึกษา กฏหมายที+เคยมีค่าประมาณ $70,000 (2 ล ้าน บาทเศษ) ในปี 2001 ได ้เพิ+มขึ.นมาเป็ น $125,000 (เกือบ 4 ล ้านบาท) ในปี 2011 ยังไม่นับรวมค่าใช ้จ่ายอื+นๆ อย่างค่าอาหาร แล ะ ค่า ที+พั ก ซึ+ง หา กพัก อา ศัยใ น เ ข ต เศรษฐกิจอย่างนิวยอร์คอาจจะต ้องมีค่าใช ้จ่าย เพื+อการเรียนกฏหมายสูงถึงปีละ $80,000 เลย ทีเดียว ปั ญหาค่าใช ้จ่ายในการเรียนไม่ได ้ กระทบเฉพาะจํานวนผู้เรียนนิติศาสตร์ แต่มีผล แทบจะทุกสาขาวิชาชีพ (ยกเว ้นสาขาแพทยที่ ยังคงมีอัตราการเติบโตเพิ+มขึ.นอย่างต่อเนื+อง มาตลอดช่วงระยะเวลาสิบปี) เพียงแต่คณะ นิติศาสตร์ดูจะได ้รับผลกระทบมากที+สุด เมื+อ เทียบกับสาขาวิชาระดับบัณฑิตศึกษาที+เคย ได ้รับ ความ นิยม สูสีกัน มาใ น อดีต อย่าง บริหารธุรกิจ (MBA) ก็พบว่าได ้รับผลกระทบ น้อยกว่ามาก เนื+องจากจํานวนผู้เรียน MBA ยังคงมีปริมาณค่อนข ้างคงที+ (เพิ+ม 0.8% ในปี 2011) และได ้รับความนิยมจากนักเรียน ต่างชาติ (เพิ+มขึ.น 13%) ทั.งนี. นักเรียน ต่างชาติมักไม่สนใจเรียนกฏหมายของอเมริกา เนื+องจากไม่สามารถนําไปประยุกต์ใช ้กับการ ทํางานในบ ้านเมืองของตนเองได ้ อุดมศึกษาต่างประเทศ
  • 3. สุภาพชนสามัคคีกัน แต่ไม่สมคบกัน คนถ่อยสมคบกันแต่ ไม่สามัคคีกัน . ขงจือ Page 3สมองสาร แวดวงอุดมศึกษาไทย ยินดีกับบุคลากรอุดมศึกษาที่ไดเสนาบดีทานใหม “พงศเทพ เทพกาญจนา” ซึ่งมีความเขาอก เขาใจในแวดวงอุดมศึกษามาคอนขางดี ดวยเคย ดํารงตําแหนงนายสภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย อลงกรณมากอน แตหากทานนั่งเปนรัฐมนตรีแค 3 – 8 เดือนเหมือนทานที่ผานๆ มา งาน อุดมศึกษาก็คงจะไมคืบหนาไปไหน ... เพราะ งานปลูกฝงความรูใหกับเยาวชนนั้นเปรียบไดกับ การปลูกไมยืนตน หากรัฐมนตรีมาแบบการเมือง แบบสมบัติผลัดกันชม คงทําไดแตนโยบายหา เสียงสั้นๆ เหมือนปลูกดอกไมประดับ อนาคต ของเยาวชนไทยก็คงเปนอยางผลการทดสอบของ PISA ที่ต่ําตอยนอยหนาเพื่อนบานอาเซียนทุก ประเทศ ทั้งที่ลงทุนงบประมาณดานการศึกษาสูง ที่สุด จึงหวังวาทาน รมว. ศธ. จะเสียสละทํางาน สรางอนาคตใหกับประเทศไทยจนครบวาระของ รัฐบาล …… ดวยการศึกษาของไทยนั้น หมักหมมไวดวยปญหาสารพัน นับตั้งแตการ ปฏิรูปการศึกษารอบแรกตั้งแตป 2542 มีการ ควบรวมระบบการศึกษาทุกระดับเขามาไวภายใน กระทรวงเดียวกัน เพื่อใหการจัดการศึกษา เชื่อมตอกันอยางไรรอยตอ แตผานมากกวา 20 ปแลวก็ยังดูเหมือนวาจะตางคนตางอยูเปนแทงๆ เอกเทศ ตางคนตางมีปรัชญา แนวทาง และ งานวิจัยของตนเอง ... ยกตัวอยางแทง อุดมศึกษา ภายใตการดูแลของ สกอ. นั้นนับวา ยอบแยบย่ําแยกวาแทงอื่นๆ เพราะเคยยิ่งใหญ ระดับทบวงมหาวิทยาลัยทั้งที่มีมหาวิทยาลัยให ดูแลแคไมถึง 30 แหง แตพอวันที่ประเทศไทยมี สถาบันอุดมศึกษาใหดูแลมากถึงเกือบ 300 แหง กลับใหอยูในสถานะของหนวยงานระดับเทียบเทา กรม ดวยเหตุผลวางานบริหารสวนใหญไปอยูใน อํานาจของสภามหาวิทยาลัยหมดแลว แตพอมี ปญหาทุจริต การศึกษาไมมีคุณภาพ การบริหาร ไมโปรงใส ไรธรรมาภิบาล ฯลฯ สกอ. กลับตอง สรุปโดย .... มีนลัคน พฤหัสกุม เขาไปแบกรับปญหาเอาไวเสียหมด ไมกลุมตอนนี้แลวจะ ไปกลุมตอนไหน ... ความย่ําแยของอุดมศึกษายัง สะทอนจากความไมพอใจของบรรดาอาจารยมหาวิทยาลัย ทั้งหลายที่รอคอยการปรับขึ้นเงินเดือน 8% + 5% ที่ รมว.ศธ. ชินวรณ บุณยเกียรติ เอาใจเฉพาะครูประถม และมัธยมที่เปนฐานคะแนนเสียงนักการเมืองไปตั้งแต เมื่อ 2 ปที่แลว .... ทําเอากูรูของการบริหาร อุดมศึกษาอยาง รศ.ดร. วันชัย ศิริชนะ อดีตปลัดทบวงฯ และอดีตเลขาธิการ สกอ. ศ.(พิเศษ) ดร. ภาวิช ทอง โรจน และ ศ.(พิเศษ) มณฑล สงวนเสริมศรี อธิการบดี ม.พะเยา ออกมาประสานเสียงวาควรแยก สกอ. มารวม กับหนวยงานดานสนับสนุนงานวิจัย อยาง สกว. วช. วว. สวทช. เพื่อจัดตั้งเปนกระทรวงอุดมศึกษาและงานวิจัย จะไดชวยพลิกฟนสภาพอันย่ําแยของระบบการอุดมศึกษา และการวิจัยของประเทศไทยใหกลับมาโชติชวงชัชวาลยได อีกครั้งเหมือนดังอดีต …. อยางไรก็ตาม ขอเสนอ ของกูรูเหลานี้คงตองคางเติ่งไปอีกหลายปแนๆ เพราะ ฝายพรรคการเมืองเขาเผยไตออกมาแลววา แนวทางตั้ง กระทรวงน้ําดูจะนาสนใจกวา ตอนนี้พรรคที่บริหาร ประเทศเขาสนใจที่จะแยกหนวยงาน กศน. ออกมาเปน แทงการศึกษาแทงใหมใน ศธ. มากกวา เพราะตองดูแล การศึกษานอกระบบของประชาชนไทยจํานวนหลายลาน คน แคนับหัวของฐานคะแนนเสียงก็มากกวาพวกที่อยูใน อุดมศึกษาหลายเทาแลว ยังไมนับโอกาสทาง งบประมาณที่จะตามมาอีกตางหาก .......กระทรวงใหญ ขนาดนี้ งานรับผิดชอบมีอยูมากมายมหาศาล ทุกอยาง ลวนเปนเรื่องเรงดวนไปหมด ไดแตเอาใจชวย รมว. พงศ เทพ เทพกาญจนา ใหไดอยูชวยสรางผลงานเพื่อชาติ บานเมืองใหมีชื่อจารึกไวใหลูกหลานไดชื่นชมกันบาง … ขาวดี การแตงตั้ง ศ.ดร.ไพฑูรย สินลารัตน มา เปนประธานกรรมการคุรุสภาฯ หวังวาปญหายุงๆ เกี่ยวกับคุณครูทั้งหลายจะคลี่คลายไปไดในทางดีเพราะได ผูเชี่ยวชาญมาดูแล ในขณะที่ ดร. อนุสรณ แสงนิ่มนวล มาเปนประธานบอรดอาชีวศึกษา นาจะไดคนที่เขาใจ ตลาดแรงงานและโลกอุตสาหกรรมไดดีมาชวยดูแล
  • 4. โอกาสทางการศึกษาของประชาชน o ประชาชนในวัย 21 ปี ถึง 64 ปี ใน กลุ่มประเทศสมาชิกของ OECD กว่า 31% ได ้รับโอกาสเข ้าอุดมศึกษา (อเมริกา 42%) แต่หากเจาะลึกลงไป ในกลุ่มหนุ่มสาว อายุ 25 – 34 ปี จะ พบว่าประเทศแถบเอเชียมีสัดส่วนของ ผู้เข ้าอุดมศึกษาสูงกว่าประเทศทาง ยุโรปมาก เช่น ในเกาหลีใต ้นั.นมีหนุ่ม สาวระดับอุดมศึกษาสูงถึง 65% (ชาติ ยุโรปรวมทั.งอเมริกามีค่าเฉลี+ย 38% ) ในขณะที+คนสูงวัย (55 – 64 ปี) ของ ช า ติต ะ วั น ต ก มีเ ป อ ร์เ ซ น ต์ผ่ า น การศึกษาในระดับอุดมศึกษาสูงถึง 23% (คนสูงวัยในเกาหลีใต ้มีเพียง 13%) o นักศึกษาหญิงเพิ+มแซงหน้าจํานวน นักศึกษาชายในกลุ่มประเทศสมาชิก OECD ด ้วยปริมาณ 60% ในปี 2548 และ 69% ในปี 2553 ในขณะที+ จํานวนนักศึกษาชายมีเพียง 48% ในปี 2548 และ 55% ในปี 2553 แถม สตรียังสําเร็จการศึกษาด ้วยเกรดเฉลี+ย สูงกว่า และสตรียังรุกคืบเข ้าไปใน สาขาวิชาที+เคยถือเป็ นความถนัดของ เพศชายอย่าง วิศวกรรม อุตสาหกรรม และคอมพิวเตอร์ ฯลฯ อีกด ้วย o เศรษฐานะยังถือเป็ นปัจจัยหลักใน โอกาสในการเข ้าสู่อุดมศึกษา ในกลุ่ม ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิก ข อ ง OECD นั.น เยาวชนที+มีผู้ปกครองวุฒิการศึกษาตํ+า จะมีโอกาสเพียง 0.49 % ในการเข ้า ศึก ษ า ต่อ ใ น ส ถ า บั น อุ ด ม ศึก ษ า ในขณะที+เยาวชนที+มีผู้ปกครองสําเร็จ การศึกษาสูงกว่าระดับมัธยมจะมี โอกาส 1.9 o ประเทศสมาชิกของ OECD หลายๆ แ ห่ง ไ ด ้เ ริ+ม มีก า ร ป ฏิรูป ก า ร เ งิน อุดมศึกษามาตั.งแต่ปี พ.ศ. 2538 มี การลดสัดส่วนงบประมาณสนับสนุน สถาบันอุดมศึกษาจากภาครัฐ ทําให ้ จําเป็นต ้องมีการแสวงหาเงินสนับสนุน จากภาคเอกชนมากขึ.น นําไปสู่การ เพิ+มค่าเล่าเรียนด ้วยแนวคิดพื.นฐานว่า “บัณฑิตเป็ นผู้ได ้รับประโยชน์จาก อุดมศึกษาโดย ตรง ผู้เรียนและ ผู้ปกครองจึงควรเข ้ามามีส่วนร่วมกับ ต ้นทุนในการจัดการศึกษาเพิ+มมากขึ.น” การศึกษา กับสภาพถดถอยทางเศรษฐกิจ o ผู้สําเร็จอุดมศึกษาในกลุ่มประเทศสมาชิกของ OECD มีอัตราการว่างงานตํ+ากว่าผู้สําเร็จ มัธยมศึกษา โดยผู้ว่างงานที+มีวุฒิอุดมศึกษา มีอัตราเพิ+มขึ.นจาก 3.3 % ในปี พ.ศ. 2550 ไปเป็น 4.7% .ในปี 2553 ในขณะที+ผู้ ว่างงานที+มีวุฒิมัธยมศึกษาเพิ+มขึ.นจาก 4.9 % ไปเป็น 7.6 % o ช่องว่างรายได ้ระหว่างผู้สําเร็จอุดมศึกษากับ ผู้สําเร็จมัธยมศึกษามีแนวโน้มเพิ+มขึ.นจากเดิม โดยในปี 2551 นั.น แรงงานวุฒิ ระดับอุดมศึกษามีรายได ้มากกว่าผู้สําเร็จ การศึกษาระดับมัธยมกว่า 50% (เพศชาย 58% ,เพศหญิง 54%) โดยประเทศที+มีส่วน ต่างรายได ้สูงสุดคือประเทศบราซิล การศึกษาข้ามชาติ o ในปี 2553 นักศึกษาข ้ามชาติซึ+งพิจารณาจาก การลงทะเบียนในสถาบันอุดมศึกษาซึ+งมิได ้มี ตั.งอยู่ในประเทศซึ+งตนเองถือสัญชาติ มี จํานวนมากกว่า 4.1 ล ้านคน เพิ+มสูงขึ.น 99 % เมื+อเทียบกับสิบปีที+แล ้ว (ปี 2543) และ เพิ+มขึ.น 500% เมื+อเทียบกับจํานวนนักศึกษา ข ้ามชาติ 8 แสนคนเมื+อ 35 ปี ที+แล ้ว (ปี 2518) o ในบรรดานักศึกษาข ้ามชาติจํานวนมากกว่า 4.1 ล ้านคนนั.น มากกว่า 52% มาจาก ประเทศในภาคพื.นทวีปเอเชีย o ประเทศที+ได ้รับความนิยมจากนักศึกษาข ้าม ชาติสูงสุดมาตลอดหลายทศวรรษยังคงเป็ น ประเทศสหรัฐอเมริกา (17% และเคยสูงถึง 2 3 % ใ น ปี 2 5 4 3 ) ร อ ง ล ง ม า คื อ สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย ฝรั+งเศส และเยอรมัน แนวโน้มการศึกษาโลกในรอบปีทีผ่านมา รายงานประจําปี 2555 เกี+ยวกับ “สภาพ การศึกษาโดยสังเขป (Education at a Glance ) ขององค์การเพื+อความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ตีพิมพ์เผยแพร่ในเดือนกันยายน 2555 มี การระบุถึงข ้อมูลสถิติที+น่าสนใจของ สภาพการศึกษาทั.งภายในและภายนอก กลุ่มประเทศสมาชิกของ OECD ข้อสังเกตุเรืองความน่าเชือถือใน รายงานของ OECD รายงานประจําปี พ.ศ. 2555 ข อ ง OECD เ กี+ ย ว กั บ “ส ภ า พ การศึกษาโดยสังเขป (Education at a Glance ) ได ้นํามาซึ+งความตื+นตัว ใ น แ ว ด ว ง ก า ร ศึ ก ษ า ทั+ ว โ ล ก โดยเฉพาะประเทศเยอรมันซึ+งมี ความก ้าวหน้าทั.งในเชิงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และเชิงเศรษฐกิจ ซึ+งด ้ รับ การ ป ร ะ เ มินว่ามีโอ กา สท า ง การศึกษาค่อนข ้างตํ+า โดยระบุว่า มี เยาวชนเยอรมัน อายุ 25 ปี ถึง 34 ปี เ พีย ง 42% ที+ได ้มีโ อก าสเ ข ้า สู่ อุดมศึกษา (ประเทศสมาชิก OECD มีค่าเฉลี+ย 62%) และมีเยาวชน เยอรมันเพียง 22% ที+ได ้รับ การศึกษาสูงกว่าบุพการีของตน (โดยเฉลี+ยแล ้ว 37% ของเยาวชน ในประเทศสมาชิก OECD ได ้รับ การศึกษาสูงกว่าบุพการี มีเพียง 13% ที+ได ้รับการศึกษาตํ+ากว่า บุพการี) ทําให ้ประเทศเยอรมันถูก จัดว่ามีโอกาสทางการศึกษาแทบจะ ตํ+าที+สุดใ นกลุ่มป ระเ ท ศสมาชิก OECD ยกเว ้น สโลวัก และเอสโต เนีย ผลการศึกษาของ OECD ขัด กับ ข ้อ มูล ท า ง สถิติจ า ก ฝ่ า ย นโยบายการศึกษาของประเทศ เยอรมันที+ระบุว่ามีเยาวชนเพียง 14% ที+ได ้รับการศึกษาตํ+ากว่าบุพการี เนื+องจากวิธีการประเมินของ OECD ละเลยระบบการศึกษาแบบคู่ขนาน (dual system) ที+ใช ้การฝึกงานใน ระบบอาชีวศึกษา (vocational training) กระทรวงศึกษาธิการ เยอรมันระบุว่าการเปรียบเทียบระดับ การศึกษาภายใต ้ระบบที+แตกต่างกัน นั.นไม่ต่างอะไรกับการเปรียบเทียบ แอปเปิ.ลกับส ้ม และระบบการศึกษา คู่ขนานของเยอรมันได ้รับความชื+อถือ นําไปปฏิบัติในหลายๆ ประเทศ ซึ+ง ต ้องการปฏิรูประบบการศึกษาให ้มี ประสิทธิภาพมากขึ.น เนื+องจากสังคม อุตสาหกรรมสมัยใหม่นั.นต ้องการ แรงงานวิชาชีพคุณภาพเพื+อเพิ+ม โอกาสในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ในระดับโลก