SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
คํานํา
การจัดการศึกษาเปนหนาที่ของรัฐที่จะตองจัดใหพลเมืองทุกคนไดรับการศึกษาอยางทั่วถึง และมีคุณภาพ
โดยเฉพาะการจัดการศึกษาในระดับการศึกษาภาคบังคับ 9 ป และการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป ซึ่งรัฐบาลทุกสมัยจะ
กําหนดเปนนโยบายที่สําคัญของการจัดการศึกษา มีการจัดสรรงบประมาณเปนจํานวนมากที่ลงทุนเพื่อการจัด
การศึกษา และการกําหนดยุทธศาสตรในการพัฒนาและการปฏิรูปการศึกษาของประเทศทั้งระบบ โดยมีเปาหมายเพื่อ
พัฒนาคนใหมีคุณภาพ ใหไปเปนกําลังสําคัญตอการพัฒนาประเทศชาติ
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 ในฐานะเปนหนวยงานของรัฐที่รับผิดชอบใน การ
สงเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานใหเด็กในวัยเรียนทุกคน ไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษา จึงจัดทําโครงการประเมินคุณภาพการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา 2557 โดยมีการจัด
สอบ O-NET และ NTเพื่อใหไดขอมูลสารสนเทศในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาใหสูงขึ้น โดยกําหนด
เปนนโยบายในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับสถานศึกษา จัดทํา
แผนพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา นิเทศติดตาม กําหนดเปาหมายคุณภาพการศึกษาของแตละกลุมสาระการ
เรียนรู
เอกสารเลมนี้เปนการนําเสนอผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาใน
ระดับภาพรวมที่เปนประโยชนตอทุกฝายที่เกี่ยวของตอการจัดการศึกษา ในการนําขอมูลสารสนเทศไปวางแผนพัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษาใหสูงขึ้น การดําเนินงานในครั้งนี้ไดรับความรวมมือจากทุกฝายเปนอยางดี โดยเฉพาะ
สถานศึกษาทุกสังกัด ผูเรียนที่เขารับการประเมิน ตลอดจนคณะทํางานทุกฝายที่ไดรวมกันรับผิดชอบจนทําใหการ
ดําเนินงานประสบผลสําเร็จตรงตามวัตถุประสงค จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
(นายอภินันท บุญรอด)
ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2
1 สิงหาคม 2558
ข
สารบัญ
หนา
คํานํา ก
สารบัญ ข
สารบัญตาราง ค
สวนที่ 1 บทนํา 1
ความสําคัญและ ความเปนมา 1
วัตถุประสงค 2
เปาหมาย 2
ขอบเขตการประเมิน 3
ประโยชนที่จะไดรับ 3
สวนที่ 2 ผลการทดสอบทางการศึกษา 4
ตอนที่ 1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน( O-NET) 4
ตอนที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ( NT ) 16
สวนที่ 3 สรุปผลการทดสอบ และขอเสนอแนะ 18
สรุปผลการทดสอบ 18
ขอเสนอแนะ 21
ภาคผนวก 23
เปรียบเทียบผลการทดสอบ O-NET ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6
ปการศึกษา 2556 - 2557 20
ผลการทดสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2557 21
เปรียบเทียบผลการทดสอบ O-NET ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ปการศึกษา 2556 – 2557 32
ผลการทดสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2557 33
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2557 37
คณะทํางาน 47
สวนที่ 1
บทนํา
1.ความสําคัญและความเปนมา
ในปจจุบันการวัดและประเมินผลนักเรียนมีการประเมินหลายรูปแบบ หนวยงานที่รับผิดชอบใน
การวัดและประเมินผลนักเรียน ไดแกสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ(องคการมหาชน) หรือ สทศ. ที่
ดําเนินการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน( O-NET)สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 รวมทั้งสํานักทดสอบทางการศึกษา
แหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดดําเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน (NT) โดยประเมินนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โดยมุงเนนการประเมิน
คุณภาพการศึกษากับนักเรียนทุกคนทุกโรงเรียนทุกสังกัดดวยรูปแบบที่หลากหลายของเครื่องมือที่ใชในการ
ประเมิน ซึ่งการประเมินจะตองมีมาตรฐานเดียวกันทุกเขตพื้นที่การศึกษา ทุกสนามสอบ และเพื่อใหผลการ
ประเมินมีความนาเชื่อถือ ตรวจสอบได จึงจําเปนตองมีแนวปฏิบัติในการดําเนินงานประเมินใหมีมาตรฐาน
เดียวกันทุกเขตพื้นที่การศึกษา
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 ในฐานะหนวยงานที่มีบทบาทสําคัญใน
การสงเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อใหสถานศึกษามีขอมูล
จัดทํารายงานตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด
ที่ 6 มาตราที่ 48 กลาววา “ใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตอง
ดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการจัดทํารายงานประจําปเสนอตอหนวยงานตนสังกัด หนวยงานที่เกี่ยวของ
และเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการ
ประกันคุณภาพภายนอก” การบริหารจัดการที่สําคัญก็คือการพัฒนาคุณภาพของผูเรียนใหสามารถบรรลุผล
ตามมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตรและสามารถแขงขันกับนานาประเทศได จากผลการประเมินคุณภาพ
ของผูเรียนโดย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาพะเยา เขต 2 พบวา คะแนนเฉลี่ยรอยละในทุกกลุมสาระการเรียนรู ทุกชวงชั้นยังอยูในระดับ
ที่ไมพึงพอใจ จําเปนอยางยิ่งที่ทุกภาคสวนไมวาจะเปนสถานศึกษา ผูปกครอง และเขตพื้นที่การศึกษา
จะตองหาแนวทางและวิธีการในการพัฒนาคุณภาพของผูเรียนใหสูงขึ้น
ทั้งนี้ การวัดผลและประเมินผลเปนมาตรการหนึ่งที่จะชวยใหสถานศึกษาไดขอมูลทางการเรียน ที่
สามารถเปนแนวทางในการ พัฒนาผูเรียนให บรรลุตาม จุดหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ประกอบกับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะดําเนินการประเมิน
คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน โดยดําเนินการประเมินเปน 2 ลักษณะ คือ
ลักษณะที่ 1 จัดการประเมินระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ทุกโรงเรียนทุกสังกัด
ดําเนินการโดยสํานักทดสอบทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ลักษณะที่ 2
ดําเนินการโดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ(องคการมหาชน)ทําการทดสอบ
นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ทุกโรงเรียนทุกสังกัด
ในการดําเนินการทดสอบนักเรียน และวิเคราะหขอมูลผลการประเมินคุณภาพนักเรียน
ปการศึกษา 2557 ทั้ง 2 ลักษณะ ตามกลุมเปาหมายดังกลาว จึงจัดทํารายงานผลการประเมินคุณภาพ
2
นักเรียน ปีการศึกษา 2557ขึ้นให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่เปนประโยชน์ แจ้งรายงานให้ทุกหน่วยงานในสังกัดทราบเพื่อ
นำาผลการประเมินไปใช้วางแผนพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ ตรงตามหลักสูตรต่อไป
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อตรวจสอบคุณภาพผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และรายงานความก้าวหน้าด้านผลสัมฤทธิ์ของ
นักเรียนเขตพื้นที่การศึกษา
2.2 เพื่อเปนข้อมูลส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการประกันคุณภาพในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำาหรับใช้กระบวนการตัดสินใจและกำาหนดแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับสถานศึกษา
2.3 เพื่อใช้เปนข้อมูลอ้างอิงในการกำากับ ติดตามและควบคุมคุณภาพการจัดการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา
ระดับการศึกษาพื้นฐานเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเปนส่วนหนึ่งของการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
3. เปาหมาย
3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ
3.1.1 การประเมินคุณภาพผู้เรียนขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน(NT)เปนนักเรียนในสังกัด
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ประกอบด้วย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำานวน 1,615 คน
3.1.2 การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เปนนักเรียนในสังกัดสำานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน สำานักงานตำารวจแห่งชาติ
และสำานักงานพุทธศาสนา องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและ สำานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ทุกโรงเรียนและทุกคน
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ที่ประกอบด้วย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำานวน 1,694คน และนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 จำานวน 663คน
3.2 ข้อมูลจำานวนโรงเรียน การดำาเนินงานประเมินคุณภาพนักเรียนปีการศึกษา 2557ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3,6
และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สังกัด
1.สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2
2. สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
3. สำานักงานตำารวจแหงชาติ
4. องค์การบริหารสวนทองถิ่น
5. พระปริยัติธรรม
6. สำานักกองการศึกษาพิเศษ
รวมจำานวนทั้งสิ้น
จำานวนโรงเรียน
ป.3
134
-
134
ป.6
137
4
1
-
-
1
143
ม.3
34
1
-
-
6
1
42
3
3.3 เปาหมายเชิงคุณภาพ
3.3.1 สถานศึกษาในสังกัด ใชขอมูลผลการตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพื่อรายงานผลการ
ประเมินคุณภาพการศึกษาประจําป และวางแผนการพัฒนาคุณภาพ
3.3.2 หนวยงาน สถานศึกษา หองเรียน มีและใชขอมูลในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนอยางเปน
ระบบเพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน
3.3.3 นักเรียนไดรับการสงเสริมใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตร
4.ขอบเขตการประเมิน
ขอบเขตเนื้อหาในการประเมินคุณภาพนักเรียน เนนดานความรูความเขาใจ ความคิดวิเคราะห
ทักษะเชิงกระบวนการ และคุณลักษณะเฉพาะวิชาที่กําหนดไวในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช
2551 ดังนี้
4.1 ใชขอสอบจากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 แบบทดสอบวัดความสามารถดานภาษา
แบบทดสอบวัดความสามารถดานคํานวณ
แบบทดสอบวัดความสามารถดานเหตุผล
4.2 ใชขอสอบจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ(องคการมหาชน)ชั้นประถมศึกษาปที่ 6
จํานวน 8 กลุมสาระการเรียนรู ไดแก กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ( 61) กลุมสาระการเรียนรูสังคม
ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (62) กลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ (63)กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
(64) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (65) กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา (66) กลุมสาระ
การเรียนรูศิลปะ ( 67)กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี (68)และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
จํานวน 8 กลุมสาระการเรียนรูไดแก กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย (91) กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม (92) กลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ (93)กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (94)
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ( 95) กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ( 96) กลุมสาระการ
เรียนรูศิลปะ (97)กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี (98)
5. ประโยชนที่จะไดรับ
หนวยงานที่เกี่ยวของทุกระดับ มีและใชขอมูลสารสนเทศดานคุณภาพของผูเรียนในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของนักเรียนรายคน หองเรียน เขตพื้นที่ สถานศึกษาและประเทศชาติ รวมทั้งสงเสริม
สนับสนุนใหบุคลากรทางการศึกษานําไปใชอางอิงเพื่อพัฒนางานใหเกิดความกาวหนาทางวิชาชีพตอไป
4
สวนที่ 2
ผลการทดสอบทางการศึกษา
ตอนที่ 1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET )
ตารางที่ 1 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับประเทศ ระดับสังกัดและ
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุมสาระการเรียนรู
ภาษาไทย
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ระดับประเทศ ระดับสังกัด ระดับเขตพื้นที่
X X X
44.88
50.67
36.02
38.06
42.13
52.20
45.61
56.32
44.03
49.03
32.88
36.77
40.97
50.77
44.24
55.24
46.70
52.01
35.55
40.09
45.31
53.28
47.29
58.29
S.D.
13.13
15.25
18.47
17.83
14.07
14.44
15.48
16.33
S.D.
12.99
14.75
15.08
16.77
13.50
14.27
15.04
16.66
S.D.
11.79
14.28
16.29
17.51
13.86
13.11
14.24
15.28
จากตารางที่ 1 ผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับประเทศ ระดับศูนย์สอบ และระดับเขต
พื้นที่การศึกษา จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ดังนี้ระดับประเทศ พบว่ากลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ย
ร้อยละสูงที่สุดได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (56.32) รองลงมาได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา (52.20) และกลุ่มสาระการเรียนรู้การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (50.67) ตามลำาดับ
ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำาสุดได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
(36.02)ระดับสังกัด พบว่ากลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี (55.24) รองลงมาได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (50.77) และกลุ่มสาระการเรียนรู้
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (49.03) ตามลำาดับ ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำา
สุดได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) (32.88)ระดับเขตพื้นที่ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่
มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี(58.29) รองลงมาได้แก่ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (53.28) และกลุ่มสาระการเรียนรู้การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (52.01)
ตามลำาดับ ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำาสุดได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
(ภาษาอังกฤษ)(35.55)เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ระดับเขตพื้นที่เปรียบเทียบกับระดับสังกัด พบว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าระดับสังกัด
และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับเขตพื้นที่กับระดับประเทศ พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละของทุก
กลุ่มสาระการเรียนรู้สูงกว่าระดับประเทศ ยกเว้นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตำากว่า
ระดับประเทศ
่
่
่
่
5
ตารางที่ 2 คะแนนเฉลี่ยรอยละผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับประเทศ ระดับสังกัดและระดับเขตพื้นที่การศึกษา
จำาแนกตามกลุมสาระการเรียนรูเปรียบเทียบปีการศึกษา 2556 และปีการศึกษา 2557
กลุมสาระ ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
คะแนนเฉลี่ยรวม
สังคมศึกษาฯ
คณิตศาสตร์
สุขศึกษาและพละศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปีการศึกษา
ระดับเขตพื้นที่
ระดับสังกัด
ระดับประเทศ
กลุมสาระ
ปีการศึกษา
ระดับเขตพื้นที่
ระดับสังกัด
ระดับประเทศ
กลุมสาระ
ปีการศึกษา
ระดับเขตพื้นที่
ระดับสังกัด
ระดับประเทศ
กลุมสาระ
ปีการศึกษา
ระดับเขตพื้นที่
ระดับสังกัด
ระดับประเทศ
กลุมสาระ
ปีการศึกษา
ระดับเขตพื้นที่
ระดับสังกัด
ระดับประเทศ
2556
46.56
43.62
45.02
2556
31.77
31.42
33.82
2556
39.51
36.3
37.4
2556
48.93
45.78
47.14
2556
46.28
43.18
44.81
2557
46.7
44.03
44.88
2557
35.55
32.88
36.02
2557
45.31
40.97
42.13
2557
47.29
44.24
45.61
57-56
+0.14
+0.41
-0.14
57-56
+3.78
+1.46
+2.2
57-56
+5.8
+4.67
+4.73
57-56
-1.64
-1.54
-1.53
2556
39.22
37.14
38.31
2556
43.22
39.87
41.95
2556
65.01
59.71
61.69
2556
56.01
51.59
53.16
57-56
+12.79
+11.89
+12.36
57-56
-2.32
-3.1
-3.89
57-56
-11.73
-8.94
-9.49
57-56
+2.28
+3.65
+3.16
2557
52.01
49.03
50.67
2557
40.9
36.77
38.06
2557
53.28
50.77
52.2
2557
58.29
55.24
56.32
2557
47.42
44.24
45.74
57-56
+1.14
+1.06
+0.93
6
จากตารางที่ 2 ผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระดับประเทศ ระดับ
สังกัด และระดับเขตพื้นที่การศึกษา เปรียบเทียบปการศึกษา 2556 และการศึกษา 2557 ไดดังนี้
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556
(-0.14) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.41) ระดับเขตพื้นที่
ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.14)
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557
เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+12.36) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา
2556 (+11.89) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+ 12.79)
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ระดับประเทศปการศึกษา 2557
เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+2.20) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา
2556 (+1.46) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+3.78)
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา
2556 (-3.89) ระดับสังกัดปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-3.10) ระดับเขตพื้นที่
ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-2.32)
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา
2556 (+4.73) ระดับสังกัดปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+4.67) ระดับเขตพื้นที่
ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+5.80)
กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 ลดลง
จากปการศึกษา 2556 (-9.49) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-8.94) ระดับ
เขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-11.73)
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556
(-1.53) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-1.54) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา
2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-1.64)
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้น
จากปการศึกษา 2556 (+3.16) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+3.65)
ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+2.28)
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรวม ผลการทดสอบทางการศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่
6 พบวาระดับประเทศปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.93) ระดับสังกัดปการศึกษา
2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+1.06) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา
2556 (+1.14)
7
ตารางที่ 3 จำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าระดับประเทศ และระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ (137 โรงเรียน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า
ระดับประเทศ
โรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า
ระดับเขตพื้นที่
จำานวนโรงเรียน
88
85
48
77
95
82
89
95
จำานวนโรงเรียน
72
73
54
65
66
70
68
79
รอยละ
64.23
62.04
35.04
56.20
69.34
59.85
64.93
69.34
รอยละ
52.55
53.28
39.42
47.45
48.18
51.09
49.64
57.66
จากตารางที่ 3 จำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
(O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าระดับประเทศ จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (95 โรงเรียน ร้อยละ 69.34)
รองลงมา ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (89 โรงเรียน ร้อยละ 64.93) ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีจำานวนและร้อยละ
ของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าระดับประเทศ น้อยที่สุด
ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (48 โรงเรียน ร้อยละ 35.04)
จำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าระดับเขตพื้นที่การศึกษาจำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (79 โรงเรียน ร้อยละ 57.66) รองลงมา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม(73 โรงเรียน ร้อยละ 53.28) และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (72 โรงเรียน ร้อยละ 52.55)
ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีจำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถม
ศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าระดับเขตพื้นที่ น้อยที่สุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (54โรงเรียน
ร้อยละ 39.42)
8
ตารางที่ 4 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับประเทศ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุ่มโรงเรียน
จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
ที่
1
2
3
4
5
6
7
8
ระดับ/กลุ่ม
ประเทศ
สังกัด
เขตพื้นที่
รร.ขนาดเล็ก
รร.ขนาดกลาง
เชียงม่วน
เชียงคำา1
ภูซาง
จุน 2
จุน 1
ปง 2
ชค2
ปง 1
จำานวน
นักเรียน
731113
487499
1694
1251
443
121
307
219
163
219
188
225
252
ค่าเฉลี่ย
รวม
45.74
44.24
47.42
47.87
45.99
50.85
49.38
49.30
48.01
47.39
46.57
46.32
44.49
ภาษาไทย
(61)
เฉลี่ย
44.88
44.03
46.70
47.09
45.62
51.07
48.48
47.68
47.32
47.88
45.06
45.47
43.79
สังคมฯ
(62)
เฉลี่ย
50.67
49.03
52.01
52.16
50.33
54.63
54.31
54.53
51.52
50.21
51.59
51.57
49.72
อังกฤษ
(63)
เฉลี่ย
36.02
32.88
35.55
35.59
35.43
40.62
37.87
35.79
40.66
37.31
32.97
33.59
31.51
คณิตฯ
(64)
เฉลี่ย
38.06
36.77
40.90
41.49
39.23
45.37
41.87
43.70
40.13
41.94
39.76
38.13
40.04
วิทย์ฯ
(65)
เฉลี่ย
42.13
40.97
45.31
45.41
45.02
47.67
47.31
48.15
46.41
44.36
44.19
44.90
42.37
สุข พละ
(66)
เฉลี่ย
52.20
50.77
53.28
53.96
51.33
55.47
55.43
54.41
53.47
52.89
52.92
52.07
51.21
ศิลปะ
(67)
เฉลี่ย
45.61
44.24
47.29
47.71
46.08
50.37
50.70
48.77
47.48
46.82
47.10
46.13
42.70
การงาน
(68)
เฉลี่ย
56.32
55.24
58.29
59.51
54.84
61.59
59.06
61.41
57.06
57.74
59.00
58.67
54.60
จากตารางที่ 4 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับประเทศ
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุ่มโรงเรียน จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ดังนี้
ภาษาไทย กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่า
ระดับประเทศ (44.88) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (46.70) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนเชียงม่วน
(51.07) รองลงมา กลุ่มโรงเรียนเชียงคำา 1 (48.48) และกลุ่มโรงเรียนจุน 1 (47.88) ตามลำาดับ
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าระดับประเทศ (50.67) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (52.01) สูงที่สุด 3 อันดับแรก
ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนเชียงม่วน (54.63) รองลงมาคือกลุ่มโรงเรียนภูซาง (54.53) และกลุ่มโรงเรียนเชียงคำา 1 (54.31)
ตามลำาดับ
9
ภาษาตางประเทศ(ภาษาอังกฤษ) กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบ
ทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ ( 36.02) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (35.55)
สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนจุน 2 (40.66) รองลงมา กลุมโรงเรียนเชียงมวน (40.62) และ
กลุมโรงเรียนเชียงคํา 1 (37.87) ตามลําดับ
คณิตศาสตร กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทางการศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ ( 38.06) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา ( 40.90) สูงที่สุด
3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนเชียงมวน (45.37) รองลงมากลุมโรงเรียนภูซาง (43.70) และกลุมโรงเรียน
จุน 1 (41.94) ตามลําดับ
วิทยาศาสตร กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทางการศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ ( 42.13) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา ( 45.31 ) สูงที่สุด
3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียน ภูซาง (48.15 ) รองลงมากลุมโรงเรียนเชียง มวน (47.67) และ
กลุมโรงเรียนเชียงคํา 1 (47.31) ตามลําดับ
สุขศึกษาและพลศึกษา กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบ
ทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ (52.20) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (53.28)
สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนเชียงมวน (55.47) รองลงมากลุมโรงเรียนเชียงคํา1 (55.43) และ
กลุมโรงเรียนภูซาง (54.41) ตามลําดับ
ศิลปะ กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทางการศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ ( 45.61) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (47.29) สูงที่สุด
3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนเ ชียงคํา 1 (50.70) รองลงมากลุมโรงเรียนเชียงมวน (50.37) และกลุม
โรงเรียนภูซาง(48.77) ตามลําดับ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบ
ทางการศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ ( 56.32) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (58.29)
สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียน เชียงมวน (61.59) รองลงมากลุมโรงเรียนภูซาง (61.41) และ
กลุมโรงเรียนเชียงคํา 1 (59.06) ตามลําดับ
คะแนนเฉลี่ยรวมทุกกลุมสาระ การเรียนรู กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการ
ทดสอบทางการศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนเชียงมวน (50.85)
รองลงมากลุมโรงเรียนเชียงคํา 1 (49.38) และกลุมโรงเรียนภูซาง (49.30) ตามลําดับ
10
ตารางที่ 5 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน(O-NET)ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับประเทศ ระดับสังกัด และระดับเขตพื้นที่
การศึกษา จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุมสาระการเรียนรู
ภาษาไทย
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ระดับประเทศ ระดับสังกัด ระดับเขตพื้นที่
X X X
44.25
39.37
30.35
25.45
37.95
58.30
43.65
44.46
44.43
39.48
29.99
25.41
38.04
58.72
43.88
44.82
43.26
38.11
27.72
23.16
37.55
59.60
42.14
43.90
S.D.
11.98
11.35
10.59
11.25
11.69
11.80
9.92
13.45
S.D.
11.87
11.21
10.00
11.07
11.51
11.56
9.79
13.29
S.D.
10.53
10.03
7.06
8.55
9.55
11.18
8.59
11.76
จากตารางที่ 5 ผลการทดสอบทางการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับประเทศ ระดับสังกัด และระดับเขต
พื้นที่การศึกษา จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ดังนี้
ระดับประเทศ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงที่สุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา (58.30) รองลงมา ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (44.46) และกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย (44.25 ) ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำาสุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ (25.45)
ระดับสังกัด พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงที่สุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา (58.72) รองลงมาได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (44.82) และกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย (44.43 ) ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำาสุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์(25.41)
ระดับเขตพื้นที่ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงที่สุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา (59.60) รองลงมา ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (43.90) และกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย (43.26 ) ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำาสุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ (23.16)
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับเขตพื้นที่
กับระดับสังกัด พบว่าทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำากว่าระดับสังกัด ยกเว้นกลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพละศึกษาสูงกว่าระดับสังกัด และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ระดับเขตพื้นที่กับระดับ
ประเทศ พบว่าทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำากว่าระดับประเทศยกเว้นคะแนนเฉลี่ยร้อยละกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาสูงกว่าระดับประเทศ
่
่
่
่
่
11
ตารางที่ 6 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับประเทศ ระดับสังกัดและระดับเขตพื้นที่การศึกษา
จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้เปรียบเทียบปีการศึกษา2556 และปีการศึกษา 2557
กลุมสาระ ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
คะแนนเฉลี่ยรวม
สังคมศึกษาฯ
คณิตศาสตร์
สุขศึกษาและพละศึกษา
กอท.
ปีการศึกษา
ระดับเขตพื้นที่
ระดับสังกัด
ระดับประเทศ
กลุมสาระ
ปีการศึกษา
ระดับเขตพื้นที่
ระดับสังกัด
ระดับประเทศ
กลุมสาระ
ปีการศึกษา
ระดับเขตพื้นที่
ระดับสังกัด
ระดับประเทศ
กลุมสาระ
ปีการศึกษา
ระดับเขตพื้นที่
ระดับสังกัด
ระดับประเทศ
กลุมสาระ
ปีการศึกษา
ระดับเขตพื้นที่
ระดับสังกัด
ระดับประเทศ
2556
43.26
44.43
44.25
2556
27.72
29.99
30.35
2556
37.55
38.04
37.95
2556
42.14
43.88
43.65
2556
39.43
40.60
40.47
2557
35.19
35.39
35.2
2557
26.18
27.09
27.46
2557
38.87
38.77
38.62
2557
40.59
43.24
43.14
57-56
-8.07
-9.04
-9.05
57-56
-1.54
-2.9
-2.89
57-56
+1.32
+0.73
+0.67
57-56
-1.55
-0.64
-0.51
2556
38.11
39.48
39.37
2556
23.16
25.41
25.45
2556
59.6
58.72
58.3
2556
43.9
44.82
44.46
57-56
+8.92
+7.46
+7.42
57-56
+4.21
+4.18
+4.2
57-56
-0.04
+1
+1.02
57-56
+1.01
+1.05
+0.96
2557
47.03
46.94
46.79
2557
27.37
29.59
29.65
2557
59.56
59.72
59.32
2557
44.91
45.87
45.42
2557
39.96
40.83
40.70
57-56
+0.53
+0.23
+0.23
12
จากตารางที่ 6 ผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ระดับประเทศ ระดับสังกัด
และระดับเขตพื้นที่การศึกษา จําแนกตามกลุมสาระการเรียนรูเปรียบเทียบปการศึกษา 2556
และปการศึกษา 2557 ไดดังนี้
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556
(-9.05) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-9.04) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา
2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-8.07)
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557
เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+7.42) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556
(+7.46) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+8.92)
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557
ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-2.89) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-2.90)
ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-1.54)
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา
2556 (+4.20) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 +4.18) ระดับเขตพื้นที่
ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+4.21)
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา
2556 (+0.67) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.73) ระดับเขตพื้นที่
ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+1.32)
กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากป
การศึกษา 2556 (+1.02) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+1.00) ระดับ
เขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-0.04)
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556
(-0.51) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-0.64) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา
2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-1.55)
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้น
จากปการศึกษา 2556 (+0.96) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+1.05)
ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+1.01)
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรวม ผลการทดสอบทางการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
พบวาระดับประเทศปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.23) ระดับสังกัดปการศึกษา
2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.23) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา
2556 (+0.53)
13
ตารางที่ 7 จำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับประเทศ และสูงกว่าระดับเขตพื้นที่
การศึกษา จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ (34 โรงเรียน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า
ระดับประเทศ
โรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า
ระดับเขตพื้นที่
จำานวนโรงเรียน
19
21
6
7
17
20
14
18
จำานวนโรงเรียน
18
20
17
15
17
19
19
20
รอยละ
55.88
61.76
17.65
20.59
50.00
58.82
41.18
52.94
รอยละ
52.94
58.82
50.00
44.12
50.00
55.88
55.88
58.82
จากตารางที่ 7 จำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับประเทศ จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้สูงที่สุด 3 อันดับแรก
ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (21 โรงเรียน ร้อยละ 61.76) รองลงมา ได้แก่ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (20 โรงเรียน ร้อยละ 58.82) และกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
(18 โรงเรียน ร้อยละ 52.94) ส่วนกลุ่มสาระที่มีจำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับประเทศ น้อยที่สุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
(6โรงเรียน ร้อยละ 17.65)
จำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับเขตพื้นที่การศึกษาจำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
(20 โรงเรียน ร้อยละ 58.82) รองลงมา กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
(19 โรงเรียน ร้อยละ 55.88) ส่วนกลุ่มสาระที่มีจำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับเขตพื้นที่ น้อยที่สุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (15โรงเรียน ร้อยละ 44.12)
14
ตารางที่ 8 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับประเทศ
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุ่มโรงเรียน จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
ที่
1
2
3
4
5
ระดับ/กลุ่ม
อำาเภอ
ระดับประเทศ
ระดับสังกัด
ระดับเขต
รร.ขนาดเล็ก
รร.ขนาดกลาง
ภูซาง
เชียงคำา
เชียงม่วน
ปง
จุน
จำานวน
นักเรียน
667912
500295
663
258
405
69
177
51
112
131
ค่าเฉลี่ย
รวม
40.70
40.83
39.96
40.80
39.30
41.88
41.05
40.05
39.87
39.79
ภาษาไทย
(91)
เฉลี่ย
35.20
35.39
35.19
35.87
34.76
37.02
36.28
35.20
35.23
35.64
สังคมฯ
(92)
เฉลี่ย
46.79
46.94
47.03
48.02
46.40
49.79
47.64
46.32
48.54
46.84
อังกฤษ
(93)
เฉลี่ย
27.46
27.09
26.18
26.12
26.22
26.41
26.96
24.98
25.36
26.75
คณิตฯ
(94)
เฉลี่ย
29.65
29.59
27.37
26.78
27.75
28.43
27.34
24.30
28.97
27.87
วิทย์ฯ
(95)
เฉลี่ย
38.62
38.77
38.87
40.36
37.91
41.94
40.19
38.74
38.53
38.38
สุขพละ
(96)
เฉลี่ย
59.32
59.72
59.56
61.17
58.52
61.99
62.32
62.35
57.12
57.57
ศิลปะ
(97)
เฉลี่ย
43.14
43.24
40.59
41.99
38.70
42.14
41.75
42.21
40.09
40.12
การงาน
(98)
เฉลี่ย
45.42
45.87
44.91
46.08
44.17
47.33
45.89
46.28
45.16
45.18
จากตารางที่ 8 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับประเทศ
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุ่มโรงเรียน จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ดังนี้
ภาษาไทย กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สูงกว่าระดับประเทศ (35.20) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (35.19) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนอำาเภอ
ภูซาง (37.02) รองลงมา ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนอำาเภอเชียงคำา (36.28) และ กลุ่มโรงเรียนอำาเภอจุน (35.64) ตามลำาดับ
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับประเทศ (46.79) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (47.03) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
กลุ่มโรงเรียนภูซาง (49.79) รองลงมาได้แก่ กลุ่มโรงเรียนอำาเภอปง(48.54) และกลุ่มโรงเรียนเชียงคำา (47.64) ตามลำาดับ
ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับประเทศ (27.46) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (26.18) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
กลุ่มโรงเรียนเชียงคำา (26.96) รองลงมา ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนอำาเภอจุน (26.75) และกลุ่มโรงเรียนอำาเภอภูซาง (26.41)
ตามลำาดับ
คณิตศาสตร์ กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สูงกว่าระดับประเทศ(29.65) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (27.37) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนอำาเภอปง
(28.97) รองลงมา ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนอำาเภอภูซาง (28.43) และกลุ่มโรงเรียนอำาเภอจุน (27.87) ตามลำาดับ
15
วิทยาศาสตร กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทางการศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปที่3 สูงกวาระดับประเทศ(38.62)และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (38.87) สูงที่สุด 3 อันดับ
แรก ไดแก กลุมโรงเรียนอําเภอ ภูซาง (41.94) รองลงมาไดแก กลุมโรงเรียน อําเภอเชียงคํา (40.19) และ
กลุมโรงเรียนอําเภอเชียงมวน (38.74) ตามลําดับ
สุขศึกษาและพลศึกษา กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทาง
การศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่3 สูงกวาระดับประเทศ(59.32) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (59.56)สูงที่สุด
3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนอําเภอเชียงมวน ( 62.35) รองลงมาไดแก กลุมโรงเรียนอําเภอเชียงคํา
(62.32) และกลุมโรงเรียนอําเภอภูซาง (61.99) ตามลําดับ
ศิลปะ กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทางการศึกษ า ชั้นมัธยมศึกษา
ปที่ 3 สูงกวาระดับประเทศ (43.14) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (40.59) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก
กลุมโรงเรียนอําเภอเชียงมวน (42.21) รองลงมาไดแกกลุมโรงเรียนอําเภอภูซาง (42.14) และ กลุมโรงเรียน
อําเภอเชียงคํา (41.75) ตามลําดับ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทาง
การศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 สูงกวาระดับประเทศ (45.42) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (44.91) สูงที่สุด
3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนอําเภอภูซาง ( 47.33) รองลงมาไดแก กลุมโรงเรียนอําเภอเชียงมวน
(46.28) และกลุมโรงเรียนอําเภอเชียงคํา (45.89) ตามลําดับ
คะแนนเฉลี่ยรวมทุกกลุมสาระ การเรียนรู กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบ
ทางการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียน อําเภอภูซาง (41.88)
รองลงมากลุมโรงเรียนอําเภอเชียงคํา (41.05) และกลุมโรงเรียนอําเภอเชียงมวน (40.05) ตามลําดับ
16
ตอนที่ 2 การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน (NT)
ตารางที่ 9 คะแนนเฉลี่ยรอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
การประเมิน
รวม 3 ดาน
ความสามารถดานภาษา
ความสามารถดานคำานวณ
ความสามารถดานเหตุผล
จำานวนโรงเรียน
135
135
135
135
จำานวนโรงเรียน โรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย
สูงกวาระดับเขตพื้นที่
X%
48.29
52.49
43.64
48.74
S.D.
16.47
6.18
6.04
6.31
จำานวนโรงเรียน
73
73
72
77
ร้อยละ
54.07
54.07
53.33
57.04
จากตารางที่ 9 พบว่าการประเมินความรู้ความสามารถด้านต่างๆ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมิน
คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน (NT)ชั้นประถมศึกษาปีที่3 เรียงลำาดับจากมากไปหาน้อย
ได้แก่ การประเมินความสามารถด้านภาษา (52.49) รองลงมาเปนการประเมินความสามารถด้านเหตุผล (48.74) และ
การประเมินความสามารถด้านคำานวณ (43.64) ตามลำาดับ
เมื่อพิจารณาจำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับเขตพื้นที่การศึกษา สูงที่สุด 3
อันดับแรก ได้แก่ การประเมินความสามารถด้านเหตุผล (จำานวน 77 โรงเรียนคิดเปนร้อยละ 57.04) รองลงมาเปนการ
ประเมินความสามารถด้านภาษา (จำานวน 73 โรงเรียน คิดเปนร้อยละ 54.07) และการประเมินความสามารถด้าน
คำานวณ (จำานวน 72 โรงเรียน คิดเปนร้อยละ 53.33)
17
ตารางที่10 คะแนนเฉลี่ยถ่วงนำาหนักร้อยละ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุ่มโรงเรียน
้
ลำาดับที่
1
2
3
4
5
6
7
8
กลุ่มโรงเรียน
ระดับเขตพื้นที่
จุน 2
เชียงคำา 1
เชียงคำา 2
เชียงม่วน
ภูซาง
ปง 2
จุน 1
ปง 1
จำานวน
นักเรียน
1614
89
280
199
150
212
173
209
265
คะแนนเฉลี่ยถ่วงนำาหนัก
(105 คะแนน)
50.7
58.42
55.83
54.45
54.04
51.38
47.54
47.01
44.45
้ คะแนนเฉลี่ยถ่วงนำาหนัก
ร้อยละ (100 คะแนน)
48.29
55.63
53.17
51.86
51.46
48.93
45.28
44.77
42.33
้
จากตารางที่10คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน
(NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุ่มโรงเรียน จำาแนกเปนรายกลุ่มโรงเรียนพบว่ากลุ่ม
โรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน (NT)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับเขตพื้นที่การศึกษา (48.29) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนจุน 2 (55.63)
รองลงมาได้แก่ กลุ่มโรงเรียนเชียงคำา 1(53.17) และกลุ่มโรงเรียนเชียงคำา2 (51.86) ตามลำาดับ
18
สวนที่ 3
สรุปผลการทดสอบ และขอเสนอแนะ
สรุปผลการทดสอบ
1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
1.1. ชั้นประถมศึกษาปที่ 6
1.1.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระดับ
เขตพื้นที่การศึกษา พบวา กลุมสาระการเรียนรูที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละสูงสุด ไดแก กลุมสาระการเรียนรู
การงานอาชีพและเทคโนโลยี รองลงมาไดแก กลุมสาระ การเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา กลุมสาระการ
เรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามลําดับ สวนกลุมสาระการเรียนรูที่มี
คะแนนเฉลี่ยรอยละต่ําสุดไดแก กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรอยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษาเปรียบเทียบกับระดับสังกัด พบวาทุก
กลุมสาระการเรียนรูมีคะแนนเฉลี่ยรอยละสูงกวาระดับสังกัดและเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรอย
ละผลการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระดับเขตพื้นที่
การศึกษาเปรียบเทียบกับระดับประเทศ พบวา คะแนนเฉลี่ยรอยละทุกกลุมสาระการเรียนรูมีคะแนนเฉลี่ย
รอยละระดับเขตพื้นที่การศึกษาสูงกวาระดับประเทศ ยกเวนกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ
(ภาษาอังกฤษ) มีคะแนนเฉลี่ยรอยละต่ํากวาระดับประเทศ
1.1.2 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรอยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปการศึกษา 2557 เทียบกับปการศึกษา
2556 พบวา กลุมสาระการเรียนรูที่มีคาคะแนนเฉลี่ยรอยละเพิ่มขึ้นเรียงลําดับจากมากไปหานอย ไดแก
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (+12.36) รองลงไปไดแก กลุมสาระการเรียนรู
วิทยาศาสตร (+4.73) และกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี (+3.16) ตามลําดับ สวนกลุม
สาระการเรียนรูมีคาคะแนนเฉลี่ยรอยละลดลงเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดแก กลุมสาระการเรียนรู
สุขศึกษาและพลศึกษา (-9.49) กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (-3.89) และกลุมสาระการเรียนรูการงาน
อาชีพและเทคโนโลยี (-1.53) ตามลําดับ สวนในภาพรวมระดับเขตพื้นที่พบวาคาคะแนนเฉลี่ยรอยละ
ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.93)
1.1.3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6
เปรียบเทียบระดับประเทศ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุมโรงเรียน จําแนกเปนรายกลุมสาระการ
เรียนรู ไดดังนี้
ภาษาไทย กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ และระดับเขตพื้นที่การศึกษา สูงที่สุด 3
อันดับแรก ไดแก ไดแก กลุมโรงเรียน เชียงมวน รองลงมา กลุมโรงเรียนเชียงคํา 1 และกลุมโรงเรียนจุน 1
ตามลําดับ
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการ
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557
Stuent2557

More Related Content

Similar to Stuent2557

ผลการดำเนินงานและทิศทางการดำเนินงานด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิ การ
ผลการดำเนินงานและทิศทางการดำเนินงานด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิ การผลการดำเนินงานและทิศทางการดำเนินงานด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิ การ
ผลการดำเนินงานและทิศทางการดำเนินงานด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิ การสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart classประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart classsomdetpittayakom school
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart classประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart classsomdetpittayakom school
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559somdetpittayakom school
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7klongnamkeaw
 
บทความวิจัย
บทความวิจัยบทความวิจัย
บทความวิจัยampai numpar
 
โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2
โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2
โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2Surapong Jakang
 
Qa education
Qa educationQa education
Qa educationpratanago
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...rungaroonnoumsawat
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7Suwakhon Phus
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมรับนร.Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมรับนร.Smart classประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมรับนร.Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมรับนร.Smart classsomdetpittayakom school
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา Mana Suksa
 
นโยบาย สพฐ 2556
นโยบาย สพฐ 2556นโยบาย สพฐ 2556
นโยบาย สพฐ 2556Duangnapa Inyayot
 

Similar to Stuent2557 (20)

ผลการดำเนินงานและทิศทางการดำเนินงานด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิ การ
ผลการดำเนินงานและทิศทางการดำเนินงานด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิ การผลการดำเนินงานและทิศทางการดำเนินงานด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิ การ
ผลการดำเนินงานและทิศทางการดำเนินงานด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิ การ
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart classประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart classประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart class
 
Executive summary ศน.จิรัชญา พัดศรีเรือง
Executive summary ศน.จิรัชญา  พัดศรีเรืองExecutive summary ศน.จิรัชญา  พัดศรีเรือง
Executive summary ศน.จิรัชญา พัดศรีเรือง
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
Tci 3
Tci 3Tci 3
Tci 3
 
T2
T2T2
T2
 
บทความวิจัย
บทความวิจัยบทความวิจัย
บทความวิจัย
 
King Thailand
King Thailand King Thailand
King Thailand
 
โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2
โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2
โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2
 
Qa education
Qa educationQa education
Qa education
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNtคู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมรับนร.Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมรับนร.Smart classประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมรับนร.Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมรับนร.Smart class
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
นโยบาย สพฐ 2556
นโยบาย สพฐ 2556นโยบาย สพฐ 2556
นโยบาย สพฐ 2556
 

More from Suphot Chaichana

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง รายงานผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเว...
บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง รายงานผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเว...บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง รายงานผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเว...
บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง รายงานผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเว...Suphot Chaichana
 
ปชส.ประกวดราคาจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์
ปชส.ประกวดราคาจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ปชส.ประกวดราคาจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์
ปชส.ประกวดราคาจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์Suphot Chaichana
 
แผนจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติม
แผนจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติมแผนจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติม
แผนจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติมSuphot Chaichana
 
รายงานการตรวจสอบพัสดุปี58
รายงานการตรวจสอบพัสดุปี58รายงานการตรวจสอบพัสดุปี58
รายงานการตรวจสอบพัสดุปี58Suphot Chaichana
 
แผนการปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
แผนการปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างแผนการปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
แผนการปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างSuphot Chaichana
 
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุดชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุดSuphot Chaichana
 
ประกาศเทศบัญญัติ
ประกาศเทศบัญญัติประกาศเทศบัญญัติ
ประกาศเทศบัญญัติSuphot Chaichana
 
เทศบัญญัติ59ล่าสุด
เทศบัญญัติ59ล่าสุดเทศบัญญัติ59ล่าสุด
เทศบัญญัติ59ล่าสุดSuphot Chaichana
 
คู่มือสำหรับประชาชน เทศบาลตำบลหย่วน
คู่มือสำหรับประชาชน เทศบาลตำบลหย่วนคู่มือสำหรับประชาชน เทศบาลตำบลหย่วน
คู่มือสำหรับประชาชน เทศบาลตำบลหย่วนSuphot Chaichana
 
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลังเล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลังSuphot Chaichana
 
ประกาสสอบคัดเลือกศึกษานิเทศก์
ประกาสสอบคัดเลือกศึกษานิเทศก์ประกาสสอบคัดเลือกศึกษานิเทศก์
ประกาสสอบคัดเลือกศึกษานิเทศก์Suphot Chaichana
 
ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์
ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์
ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์Suphot Chaichana
 
ใบสมัครวิชาภาษาอังกฤษ
ใบสมัครวิชาภาษาอังกฤษใบสมัครวิชาภาษาอังกฤษ
ใบสมัครวิชาภาษาอังกฤษSuphot Chaichana
 
รายละเอียดตัวชี้วัด
รายละเอียดตัวชี้วัดรายละเอียดตัวชี้วัด
รายละเอียดตัวชี้วัดSuphot Chaichana
 
ใบสมัครวิชาภาษาไทย
ใบสมัครวิชาภาษาไทยใบสมัครวิชาภาษาไทย
ใบสมัครวิชาภาษาไทยSuphot Chaichana
 
Google apps administration guide 0.6
Google apps administration guide 0.6Google apps administration guide 0.6
Google apps administration guide 0.6Suphot Chaichana
 
สรุปการอธิบาย งานประชุมชี้แจง 5 จุดจัด
สรุปการอธิบาย งานประชุมชี้แจง 5 จุดจัดสรุปการอธิบาย งานประชุมชี้แจง 5 จุดจัด
สรุปการอธิบาย งานประชุมชี้แจง 5 จุดจัดSuphot Chaichana
 
คู่มือการสอบ Cept
คู่มือการสอบ Ceptคู่มือการสอบ Cept
คู่มือการสอบ CeptSuphot Chaichana
 
ประกาศรับสมัครครูอัตราจ้าง
ประกาศรับสมัครครูอัตราจ้างประกาศรับสมัครครูอัตราจ้าง
ประกาศรับสมัครครูอัตราจ้างSuphot Chaichana
 

More from Suphot Chaichana (20)

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง รายงานผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเว...
บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง รายงานผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเว...บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง รายงานผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเว...
บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง รายงานผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเว...
 
ปชส.ประกวดราคาจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์
ปชส.ประกวดราคาจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ปชส.ประกวดราคาจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์
ปชส.ประกวดราคาจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์
 
แผนจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติม
แผนจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติมแผนจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติม
แผนจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติม
 
รายงานการตรวจสอบพัสดุปี58
รายงานการตรวจสอบพัสดุปี58รายงานการตรวจสอบพัสดุปี58
รายงานการตรวจสอบพัสดุปี58
 
แผนการปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
แผนการปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างแผนการปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
แผนการปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
 
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุดชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
 
ประกาศเทศบัญญัติ
ประกาศเทศบัญญัติประกาศเทศบัญญัติ
ประกาศเทศบัญญัติ
 
เทศบัญญัติ59ล่าสุด
เทศบัญญัติ59ล่าสุดเทศบัญญัติ59ล่าสุด
เทศบัญญัติ59ล่าสุด
 
คู่มือสำหรับประชาชน เทศบาลตำบลหย่วน
คู่มือสำหรับประชาชน เทศบาลตำบลหย่วนคู่มือสำหรับประชาชน เทศบาลตำบลหย่วน
คู่มือสำหรับประชาชน เทศบาลตำบลหย่วน
 
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลังเล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
 
ประกาสสอบคัดเลือกศึกษานิเทศก์
ประกาสสอบคัดเลือกศึกษานิเทศก์ประกาสสอบคัดเลือกศึกษานิเทศก์
ประกาสสอบคัดเลือกศึกษานิเทศก์
 
ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์
ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์
ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์
 
ใบสมัครวิชาภาษาอังกฤษ
ใบสมัครวิชาภาษาอังกฤษใบสมัครวิชาภาษาอังกฤษ
ใบสมัครวิชาภาษาอังกฤษ
 
รายละเอียดตัวชี้วัด
รายละเอียดตัวชี้วัดรายละเอียดตัวชี้วัด
รายละเอียดตัวชี้วัด
 
ใบสมัครวิชาภาษาไทย
ใบสมัครวิชาภาษาไทยใบสมัครวิชาภาษาไทย
ใบสมัครวิชาภาษาไทย
 
Google apps administration guide 0.6
Google apps administration guide 0.6Google apps administration guide 0.6
Google apps administration guide 0.6
 
Linux command-reference
Linux command-referenceLinux command-reference
Linux command-reference
 
สรุปการอธิบาย งานประชุมชี้แจง 5 จุดจัด
สรุปการอธิบาย งานประชุมชี้แจง 5 จุดจัดสรุปการอธิบาย งานประชุมชี้แจง 5 จุดจัด
สรุปการอธิบาย งานประชุมชี้แจง 5 จุดจัด
 
คู่มือการสอบ Cept
คู่มือการสอบ Ceptคู่มือการสอบ Cept
คู่มือการสอบ Cept
 
ประกาศรับสมัครครูอัตราจ้าง
ประกาศรับสมัครครูอัตราจ้างประกาศรับสมัครครูอัตราจ้าง
ประกาศรับสมัครครูอัตราจ้าง
 

Stuent2557

  • 1.
  • 2. คํานํา การจัดการศึกษาเปนหนาที่ของรัฐที่จะตองจัดใหพลเมืองทุกคนไดรับการศึกษาอยางทั่วถึง และมีคุณภาพ โดยเฉพาะการจัดการศึกษาในระดับการศึกษาภาคบังคับ 9 ป และการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป ซึ่งรัฐบาลทุกสมัยจะ กําหนดเปนนโยบายที่สําคัญของการจัดการศึกษา มีการจัดสรรงบประมาณเปนจํานวนมากที่ลงทุนเพื่อการจัด การศึกษา และการกําหนดยุทธศาสตรในการพัฒนาและการปฏิรูปการศึกษาของประเทศทั้งระบบ โดยมีเปาหมายเพื่อ พัฒนาคนใหมีคุณภาพ ใหไปเปนกําลังสําคัญตอการพัฒนาประเทศชาติ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 ในฐานะเปนหนวยงานของรัฐที่รับผิดชอบใน การ สงเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานใหเด็กในวัยเรียนทุกคน ไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษา จึงจัดทําโครงการประเมินคุณภาพการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา 2557 โดยมีการจัด สอบ O-NET และ NTเพื่อใหไดขอมูลสารสนเทศในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาใหสูงขึ้น โดยกําหนด เปนนโยบายในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับสถานศึกษา จัดทํา แผนพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา นิเทศติดตาม กําหนดเปาหมายคุณภาพการศึกษาของแตละกลุมสาระการ เรียนรู เอกสารเลมนี้เปนการนําเสนอผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาใน ระดับภาพรวมที่เปนประโยชนตอทุกฝายที่เกี่ยวของตอการจัดการศึกษา ในการนําขอมูลสารสนเทศไปวางแผนพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาใหสูงขึ้น การดําเนินงานในครั้งนี้ไดรับความรวมมือจากทุกฝายเปนอยางดี โดยเฉพาะ สถานศึกษาทุกสังกัด ผูเรียนที่เขารับการประเมิน ตลอดจนคณะทํางานทุกฝายที่ไดรวมกันรับผิดชอบจนทําใหการ ดําเนินงานประสบผลสําเร็จตรงตามวัตถุประสงค จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ (นายอภินันท บุญรอด) ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 1 สิงหาคม 2558
  • 3. ข สารบัญ หนา คํานํา ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ค สวนที่ 1 บทนํา 1 ความสําคัญและ ความเปนมา 1 วัตถุประสงค 2 เปาหมาย 2 ขอบเขตการประเมิน 3 ประโยชนที่จะไดรับ 3 สวนที่ 2 ผลการทดสอบทางการศึกษา 4 ตอนที่ 1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน( O-NET) 4 ตอนที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ( NT ) 16 สวนที่ 3 สรุปผลการทดสอบ และขอเสนอแนะ 18 สรุปผลการทดสอบ 18 ขอเสนอแนะ 21 ภาคผนวก 23 เปรียบเทียบผลการทดสอบ O-NET ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2556 - 2557 20 ผลการทดสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2557 21 เปรียบเทียบผลการทดสอบ O-NET ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2556 – 2557 32 ผลการทดสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2557 33 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2557 37 คณะทํางาน 47
  • 4. สวนที่ 1 บทนํา 1.ความสําคัญและความเปนมา ในปจจุบันการวัดและประเมินผลนักเรียนมีการประเมินหลายรูปแบบ หนวยงานที่รับผิดชอบใน การวัดและประเมินผลนักเรียน ไดแกสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ(องคการมหาชน) หรือ สทศ. ที่ ดําเนินการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน( O-NET)สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 รวมทั้งสํานักทดสอบทางการศึกษา แหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดดําเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน (NT) โดยประเมินนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โดยมุงเนนการประเมิน คุณภาพการศึกษากับนักเรียนทุกคนทุกโรงเรียนทุกสังกัดดวยรูปแบบที่หลากหลายของเครื่องมือที่ใชในการ ประเมิน ซึ่งการประเมินจะตองมีมาตรฐานเดียวกันทุกเขตพื้นที่การศึกษา ทุกสนามสอบ และเพื่อใหผลการ ประเมินมีความนาเชื่อถือ ตรวจสอบได จึงจําเปนตองมีแนวปฏิบัติในการดําเนินงานประเมินใหมีมาตรฐาน เดียวกันทุกเขตพื้นที่การศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 ในฐานะหนวยงานที่มีบทบาทสําคัญใน การสงเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อใหสถานศึกษามีขอมูล จัดทํารายงานตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด ที่ 6 มาตราที่ 48 กลาววา “ใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตอง ดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการจัดทํารายงานประจําปเสนอตอหนวยงานตนสังกัด หนวยงานที่เกี่ยวของ และเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการ ประกันคุณภาพภายนอก” การบริหารจัดการที่สําคัญก็คือการพัฒนาคุณภาพของผูเรียนใหสามารถบรรลุผล ตามมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตรและสามารถแขงขันกับนานาประเทศได จากผลการประเมินคุณภาพ ของผูเรียนโดย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพะเยา เขต 2 พบวา คะแนนเฉลี่ยรอยละในทุกกลุมสาระการเรียนรู ทุกชวงชั้นยังอยูในระดับ ที่ไมพึงพอใจ จําเปนอยางยิ่งที่ทุกภาคสวนไมวาจะเปนสถานศึกษา ผูปกครอง และเขตพื้นที่การศึกษา จะตองหาแนวทางและวิธีการในการพัฒนาคุณภาพของผูเรียนใหสูงขึ้น ทั้งนี้ การวัดผลและประเมินผลเปนมาตรการหนึ่งที่จะชวยใหสถานศึกษาไดขอมูลทางการเรียน ที่ สามารถเปนแนวทางในการ พัฒนาผูเรียนให บรรลุตาม จุดหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบกับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะดําเนินการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน โดยดําเนินการประเมินเปน 2 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ 1 จัดการประเมินระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ทุกโรงเรียนทุกสังกัด ดําเนินการโดยสํานักทดสอบทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ลักษณะที่ 2 ดําเนินการโดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ(องคการมหาชน)ทําการทดสอบ นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ทุกโรงเรียนทุกสังกัด ในการดําเนินการทดสอบนักเรียน และวิเคราะหขอมูลผลการประเมินคุณภาพนักเรียน ปการศึกษา 2557 ทั้ง 2 ลักษณะ ตามกลุมเปาหมายดังกลาว จึงจัดทํารายงานผลการประเมินคุณภาพ
  • 5. 2 นักเรียน ปีการศึกษา 2557ขึ้นให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่เปนประโยชน์ แจ้งรายงานให้ทุกหน่วยงานในสังกัดทราบเพื่อ นำาผลการประเมินไปใช้วางแผนพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ ตรงตามหลักสูตรต่อไป 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อตรวจสอบคุณภาพผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และรายงานความก้าวหน้าด้านผลสัมฤทธิ์ของ นักเรียนเขตพื้นที่การศึกษา 2.2 เพื่อเปนข้อมูลส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการประกันคุณภาพในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำาหรับใช้กระบวนการตัดสินใจและกำาหนดแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับสถานศึกษา 2.3 เพื่อใช้เปนข้อมูลอ้างอิงในการกำากับ ติดตามและควบคุมคุณภาพการจัดการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ระดับการศึกษาพื้นฐานเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเปนส่วนหนึ่งของการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 3. เปาหมาย 3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ 3.1.1 การประเมินคุณภาพผู้เรียนขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน(NT)เปนนักเรียนในสังกัด สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ประกอบด้วย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำานวน 1,615 คน 3.1.2 การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เปนนักเรียนในสังกัดสำานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน สำานักงานตำารวจแห่งชาติ และสำานักงานพุทธศาสนา องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและ สำานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ทุกโรงเรียนและทุกคน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ที่ประกอบด้วย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำานวน 1,694คน และนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 จำานวน 663คน 3.2 ข้อมูลจำานวนโรงเรียน การดำาเนินงานประเมินคุณภาพนักเรียนปีการศึกษา 2557ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3,6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัด 1.สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 2. สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน 3. สำานักงานตำารวจแหงชาติ 4. องค์การบริหารสวนทองถิ่น 5. พระปริยัติธรรม 6. สำานักกองการศึกษาพิเศษ รวมจำานวนทั้งสิ้น จำานวนโรงเรียน ป.3 134 - 134 ป.6 137 4 1 - - 1 143 ม.3 34 1 - - 6 1 42
  • 6. 3 3.3 เปาหมายเชิงคุณภาพ 3.3.1 สถานศึกษาในสังกัด ใชขอมูลผลการตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพื่อรายงานผลการ ประเมินคุณภาพการศึกษาประจําป และวางแผนการพัฒนาคุณภาพ 3.3.2 หนวยงาน สถานศึกษา หองเรียน มีและใชขอมูลในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนอยางเปน ระบบเพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน 3.3.3 นักเรียนไดรับการสงเสริมใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตร 4.ขอบเขตการประเมิน ขอบเขตเนื้อหาในการประเมินคุณภาพนักเรียน เนนดานความรูความเขาใจ ความคิดวิเคราะห ทักษะเชิงกระบวนการ และคุณลักษณะเฉพาะวิชาที่กําหนดไวในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ดังนี้ 4.1 ใชขอสอบจากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 แบบทดสอบวัดความสามารถดานภาษา แบบทดสอบวัดความสามารถดานคํานวณ แบบทดสอบวัดความสามารถดานเหตุผล 4.2 ใชขอสอบจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ(องคการมหาชน)ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน 8 กลุมสาระการเรียนรู ไดแก กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ( 61) กลุมสาระการเรียนรูสังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (62) กลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ (63)กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (64) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (65) กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา (66) กลุมสาระ การเรียนรูศิลปะ ( 67)กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี (68)และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 จํานวน 8 กลุมสาระการเรียนรูไดแก กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย (91) กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (92) กลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ (93)กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (94) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ( 95) กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ( 96) กลุมสาระการ เรียนรูศิลปะ (97)กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี (98) 5. ประโยชนที่จะไดรับ หนวยงานที่เกี่ยวของทุกระดับ มีและใชขอมูลสารสนเทศดานคุณภาพของผูเรียนในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของนักเรียนรายคน หองเรียน เขตพื้นที่ สถานศึกษาและประเทศชาติ รวมทั้งสงเสริม สนับสนุนใหบุคลากรทางการศึกษานําไปใชอางอิงเพื่อพัฒนางานใหเกิดความกาวหนาทางวิชาชีพตอไป
  • 7. 4 สวนที่ 2 ผลการทดสอบทางการศึกษา ตอนที่ 1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET ) ตารางที่ 1 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับประเทศ ระดับสังกัดและ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับประเทศ ระดับสังกัด ระดับเขตพื้นที่ X X X 44.88 50.67 36.02 38.06 42.13 52.20 45.61 56.32 44.03 49.03 32.88 36.77 40.97 50.77 44.24 55.24 46.70 52.01 35.55 40.09 45.31 53.28 47.29 58.29 S.D. 13.13 15.25 18.47 17.83 14.07 14.44 15.48 16.33 S.D. 12.99 14.75 15.08 16.77 13.50 14.27 15.04 16.66 S.D. 11.79 14.28 16.29 17.51 13.86 13.11 14.24 15.28 จากตารางที่ 1 ผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับประเทศ ระดับศูนย์สอบ และระดับเขต พื้นที่การศึกษา จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ดังนี้ระดับประเทศ พบว่ากลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละสูงที่สุดได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (56.32) รองลงมาได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา (52.20) และกลุ่มสาระการเรียนรู้การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (50.67) ตามลำาดับ ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำาสุดได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (36.02)ระดับสังกัด พบว่ากลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี (55.24) รองลงมาได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (50.77) และกลุ่มสาระการเรียนรู้ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (49.03) ตามลำาดับ ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำา สุดได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) (32.88)ระดับเขตพื้นที่ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี(58.29) รองลงมาได้แก่ กลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (53.28) และกลุ่มสาระการเรียนรู้การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (52.01) ตามลำาดับ ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำาสุดได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)(35.55)เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับเขตพื้นที่เปรียบเทียบกับระดับสังกัด พบว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าระดับสังกัด และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับเขตพื้นที่กับระดับประเทศ พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละของทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้สูงกว่าระดับประเทศ ยกเว้นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตำากว่า ระดับประเทศ ่ ่ ่ ่
  • 8. 5 ตารางที่ 2 คะแนนเฉลี่ยรอยละผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับประเทศ ระดับสังกัดและระดับเขตพื้นที่การศึกษา จำาแนกตามกลุมสาระการเรียนรูเปรียบเทียบปีการศึกษา 2556 และปีการศึกษา 2557 กลุมสาระ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ ศิลปะ คะแนนเฉลี่ยรวม สังคมศึกษาฯ คณิตศาสตร์ สุขศึกษาและพละศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ปีการศึกษา ระดับเขตพื้นที่ ระดับสังกัด ระดับประเทศ กลุมสาระ ปีการศึกษา ระดับเขตพื้นที่ ระดับสังกัด ระดับประเทศ กลุมสาระ ปีการศึกษา ระดับเขตพื้นที่ ระดับสังกัด ระดับประเทศ กลุมสาระ ปีการศึกษา ระดับเขตพื้นที่ ระดับสังกัด ระดับประเทศ กลุมสาระ ปีการศึกษา ระดับเขตพื้นที่ ระดับสังกัด ระดับประเทศ 2556 46.56 43.62 45.02 2556 31.77 31.42 33.82 2556 39.51 36.3 37.4 2556 48.93 45.78 47.14 2556 46.28 43.18 44.81 2557 46.7 44.03 44.88 2557 35.55 32.88 36.02 2557 45.31 40.97 42.13 2557 47.29 44.24 45.61 57-56 +0.14 +0.41 -0.14 57-56 +3.78 +1.46 +2.2 57-56 +5.8 +4.67 +4.73 57-56 -1.64 -1.54 -1.53 2556 39.22 37.14 38.31 2556 43.22 39.87 41.95 2556 65.01 59.71 61.69 2556 56.01 51.59 53.16 57-56 +12.79 +11.89 +12.36 57-56 -2.32 -3.1 -3.89 57-56 -11.73 -8.94 -9.49 57-56 +2.28 +3.65 +3.16 2557 52.01 49.03 50.67 2557 40.9 36.77 38.06 2557 53.28 50.77 52.2 2557 58.29 55.24 56.32 2557 47.42 44.24 45.74 57-56 +1.14 +1.06 +0.93
  • 9. 6 จากตารางที่ 2 ผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระดับประเทศ ระดับ สังกัด และระดับเขตพื้นที่การศึกษา เปรียบเทียบปการศึกษา 2556 และการศึกษา 2557 ไดดังนี้ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-0.14) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.41) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.14) กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+12.36) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+11.89) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+ 12.79) กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ระดับประเทศปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+2.20) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+1.46) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+3.78) กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-3.89) ระดับสังกัดปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-3.10) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-2.32) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+4.73) ระดับสังกัดปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+4.67) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+5.80) กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 ลดลง จากปการศึกษา 2556 (-9.49) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-8.94) ระดับ เขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-11.73) กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-1.53) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-1.54) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-1.64) กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้น จากปการศึกษา 2556 (+3.16) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+3.65) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+2.28) เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรวม ผลการทดสอบทางการศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ 6 พบวาระดับประเทศปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.93) ระดับสังกัดปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+1.06) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+1.14)
  • 10. 7 ตารางที่ 3 จำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าระดับประเทศ และระดับเขตพื้นที่การศึกษา ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ (137 โรงเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า ระดับประเทศ โรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า ระดับเขตพื้นที่ จำานวนโรงเรียน 88 85 48 77 95 82 89 95 จำานวนโรงเรียน 72 73 54 65 66 70 68 79 รอยละ 64.23 62.04 35.04 56.20 69.34 59.85 64.93 69.34 รอยละ 52.55 53.28 39.42 47.45 48.18 51.09 49.64 57.66 จากตารางที่ 3 จำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าระดับประเทศ จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (95 โรงเรียน ร้อยละ 69.34) รองลงมา ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (89 โรงเรียน ร้อยละ 64.93) ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีจำานวนและร้อยละ ของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าระดับประเทศ น้อยที่สุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (48 โรงเรียน ร้อยละ 35.04) จำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าระดับเขตพื้นที่การศึกษาจำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (79 โรงเรียน ร้อยละ 57.66) รองลงมา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม(73 โรงเรียน ร้อยละ 53.28) และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (72 โรงเรียน ร้อยละ 52.55) ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีจำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าระดับเขตพื้นที่ น้อยที่สุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (54โรงเรียน ร้อยละ 39.42)
  • 11. 8 ตารางที่ 4 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับประเทศ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุ่มโรงเรียน จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 ระดับ/กลุ่ม ประเทศ สังกัด เขตพื้นที่ รร.ขนาดเล็ก รร.ขนาดกลาง เชียงม่วน เชียงคำา1 ภูซาง จุน 2 จุน 1 ปง 2 ชค2 ปง 1 จำานวน นักเรียน 731113 487499 1694 1251 443 121 307 219 163 219 188 225 252 ค่าเฉลี่ย รวม 45.74 44.24 47.42 47.87 45.99 50.85 49.38 49.30 48.01 47.39 46.57 46.32 44.49 ภาษาไทย (61) เฉลี่ย 44.88 44.03 46.70 47.09 45.62 51.07 48.48 47.68 47.32 47.88 45.06 45.47 43.79 สังคมฯ (62) เฉลี่ย 50.67 49.03 52.01 52.16 50.33 54.63 54.31 54.53 51.52 50.21 51.59 51.57 49.72 อังกฤษ (63) เฉลี่ย 36.02 32.88 35.55 35.59 35.43 40.62 37.87 35.79 40.66 37.31 32.97 33.59 31.51 คณิตฯ (64) เฉลี่ย 38.06 36.77 40.90 41.49 39.23 45.37 41.87 43.70 40.13 41.94 39.76 38.13 40.04 วิทย์ฯ (65) เฉลี่ย 42.13 40.97 45.31 45.41 45.02 47.67 47.31 48.15 46.41 44.36 44.19 44.90 42.37 สุข พละ (66) เฉลี่ย 52.20 50.77 53.28 53.96 51.33 55.47 55.43 54.41 53.47 52.89 52.92 52.07 51.21 ศิลปะ (67) เฉลี่ย 45.61 44.24 47.29 47.71 46.08 50.37 50.70 48.77 47.48 46.82 47.10 46.13 42.70 การงาน (68) เฉลี่ย 56.32 55.24 58.29 59.51 54.84 61.59 59.06 61.41 57.06 57.74 59.00 58.67 54.60 จากตารางที่ 4 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับประเทศ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุ่มโรงเรียน จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ดังนี้ ภาษาไทย กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่า ระดับประเทศ (44.88) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (46.70) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนเชียงม่วน (51.07) รองลงมา กลุ่มโรงเรียนเชียงคำา 1 (48.48) และกลุ่มโรงเรียนจุน 1 (47.88) ตามลำาดับ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าระดับประเทศ (50.67) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (52.01) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนเชียงม่วน (54.63) รองลงมาคือกลุ่มโรงเรียนภูซาง (54.53) และกลุ่มโรงเรียนเชียงคำา 1 (54.31) ตามลำาดับ
  • 12. 9 ภาษาตางประเทศ(ภาษาอังกฤษ) กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบ ทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ ( 36.02) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (35.55) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนจุน 2 (40.66) รองลงมา กลุมโรงเรียนเชียงมวน (40.62) และ กลุมโรงเรียนเชียงคํา 1 (37.87) ตามลําดับ คณิตศาสตร กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ ( 38.06) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา ( 40.90) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนเชียงมวน (45.37) รองลงมากลุมโรงเรียนภูซาง (43.70) และกลุมโรงเรียน จุน 1 (41.94) ตามลําดับ วิทยาศาสตร กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ ( 42.13) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา ( 45.31 ) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียน ภูซาง (48.15 ) รองลงมากลุมโรงเรียนเชียง มวน (47.67) และ กลุมโรงเรียนเชียงคํา 1 (47.31) ตามลําดับ สุขศึกษาและพลศึกษา กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบ ทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ (52.20) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (53.28) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนเชียงมวน (55.47) รองลงมากลุมโรงเรียนเชียงคํา1 (55.43) และ กลุมโรงเรียนภูซาง (54.41) ตามลําดับ ศิลปะ กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ ( 45.61) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (47.29) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนเ ชียงคํา 1 (50.70) รองลงมากลุมโรงเรียนเชียงมวน (50.37) และกลุม โรงเรียนภูซาง(48.77) ตามลําดับ การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบ ทางการศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ ( 56.32) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (58.29) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียน เชียงมวน (61.59) รองลงมากลุมโรงเรียนภูซาง (61.41) และ กลุมโรงเรียนเชียงคํา 1 (59.06) ตามลําดับ คะแนนเฉลี่ยรวมทุกกลุมสาระ การเรียนรู กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการ ทดสอบทางการศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนเชียงมวน (50.85) รองลงมากลุมโรงเรียนเชียงคํา 1 (49.38) และกลุมโรงเรียนภูซาง (49.30) ตามลําดับ
  • 13. 10 ตารางที่ 5 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน(O-NET)ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับประเทศ ระดับสังกัด และระดับเขตพื้นที่ การศึกษา จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับประเทศ ระดับสังกัด ระดับเขตพื้นที่ X X X 44.25 39.37 30.35 25.45 37.95 58.30 43.65 44.46 44.43 39.48 29.99 25.41 38.04 58.72 43.88 44.82 43.26 38.11 27.72 23.16 37.55 59.60 42.14 43.90 S.D. 11.98 11.35 10.59 11.25 11.69 11.80 9.92 13.45 S.D. 11.87 11.21 10.00 11.07 11.51 11.56 9.79 13.29 S.D. 10.53 10.03 7.06 8.55 9.55 11.18 8.59 11.76 จากตารางที่ 5 ผลการทดสอบทางการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับประเทศ ระดับสังกัด และระดับเขต พื้นที่การศึกษา จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ดังนี้ ระดับประเทศ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงที่สุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา (58.30) รองลงมา ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (44.46) และกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย (44.25 ) ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำาสุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ (25.45) ระดับสังกัด พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงที่สุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา (58.72) รองลงมาได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (44.82) และกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย (44.43 ) ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำาสุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์(25.41) ระดับเขตพื้นที่ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงที่สุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา (59.60) รองลงมา ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (43.90) และกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย (43.26 ) ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำาสุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ (23.16) เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับเขตพื้นที่ กับระดับสังกัด พบว่าทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำากว่าระดับสังกัด ยกเว้นกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพละศึกษาสูงกว่าระดับสังกัด และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ระดับเขตพื้นที่กับระดับ ประเทศ พบว่าทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำากว่าระดับประเทศยกเว้นคะแนนเฉลี่ยร้อยละกลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาสูงกว่าระดับประเทศ ่ ่ ่ ่ ่
  • 14. 11 ตารางที่ 6 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับประเทศ ระดับสังกัดและระดับเขตพื้นที่การศึกษา จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้เปรียบเทียบปีการศึกษา2556 และปีการศึกษา 2557 กลุมสาระ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ ศิลปะ คะแนนเฉลี่ยรวม สังคมศึกษาฯ คณิตศาสตร์ สุขศึกษาและพละศึกษา กอท. ปีการศึกษา ระดับเขตพื้นที่ ระดับสังกัด ระดับประเทศ กลุมสาระ ปีการศึกษา ระดับเขตพื้นที่ ระดับสังกัด ระดับประเทศ กลุมสาระ ปีการศึกษา ระดับเขตพื้นที่ ระดับสังกัด ระดับประเทศ กลุมสาระ ปีการศึกษา ระดับเขตพื้นที่ ระดับสังกัด ระดับประเทศ กลุมสาระ ปีการศึกษา ระดับเขตพื้นที่ ระดับสังกัด ระดับประเทศ 2556 43.26 44.43 44.25 2556 27.72 29.99 30.35 2556 37.55 38.04 37.95 2556 42.14 43.88 43.65 2556 39.43 40.60 40.47 2557 35.19 35.39 35.2 2557 26.18 27.09 27.46 2557 38.87 38.77 38.62 2557 40.59 43.24 43.14 57-56 -8.07 -9.04 -9.05 57-56 -1.54 -2.9 -2.89 57-56 +1.32 +0.73 +0.67 57-56 -1.55 -0.64 -0.51 2556 38.11 39.48 39.37 2556 23.16 25.41 25.45 2556 59.6 58.72 58.3 2556 43.9 44.82 44.46 57-56 +8.92 +7.46 +7.42 57-56 +4.21 +4.18 +4.2 57-56 -0.04 +1 +1.02 57-56 +1.01 +1.05 +0.96 2557 47.03 46.94 46.79 2557 27.37 29.59 29.65 2557 59.56 59.72 59.32 2557 44.91 45.87 45.42 2557 39.96 40.83 40.70 57-56 +0.53 +0.23 +0.23
  • 15. 12 จากตารางที่ 6 ผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ระดับประเทศ ระดับสังกัด และระดับเขตพื้นที่การศึกษา จําแนกตามกลุมสาระการเรียนรูเปรียบเทียบปการศึกษา 2556 และปการศึกษา 2557 ไดดังนี้ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-9.05) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-9.04) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-8.07) กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+7.42) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+7.46) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+8.92) กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-2.89) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-2.90) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-1.54) กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+4.20) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 +4.18) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+4.21) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.67) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.73) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+1.32) กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากป การศึกษา 2556 (+1.02) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+1.00) ระดับ เขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-0.04) กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-0.51) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-0.64) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 ลดลงจากปการศึกษา 2556 (-1.55) กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับประเทศ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้น จากปการศึกษา 2556 (+0.96) ระดับสังกัด ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+1.05) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+1.01) เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรวม ผลการทดสอบทางการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 พบวาระดับประเทศปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.23) ระดับสังกัดปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.23) ระดับเขตพื้นที่ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.53)
  • 16. 13 ตารางที่ 7 จำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับประเทศ และสูงกว่าระดับเขตพื้นที่ การศึกษา จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ (34 โรงเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า ระดับประเทศ โรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า ระดับเขตพื้นที่ จำานวนโรงเรียน 19 21 6 7 17 20 14 18 จำานวนโรงเรียน 18 20 17 15 17 19 19 20 รอยละ 55.88 61.76 17.65 20.59 50.00 58.82 41.18 52.94 รอยละ 52.94 58.82 50.00 44.12 50.00 55.88 55.88 58.82 จากตารางที่ 7 จำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับประเทศ จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (21 โรงเรียน ร้อยละ 61.76) รองลงมา ได้แก่ กลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (20 โรงเรียน ร้อยละ 58.82) และกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (18 โรงเรียน ร้อยละ 52.94) ส่วนกลุ่มสาระที่มีจำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับประเทศ น้อยที่สุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (6โรงเรียน ร้อยละ 17.65) จำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับเขตพื้นที่การศึกษาจำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (20 โรงเรียน ร้อยละ 58.82) รองลงมา กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (19 โรงเรียน ร้อยละ 55.88) ส่วนกลุ่มสาระที่มีจำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับเขตพื้นที่ น้อยที่สุด ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (15โรงเรียน ร้อยละ 44.12)
  • 17. 14 ตารางที่ 8 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับประเทศ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุ่มโรงเรียน จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่ 1 2 3 4 5 ระดับ/กลุ่ม อำาเภอ ระดับประเทศ ระดับสังกัด ระดับเขต รร.ขนาดเล็ก รร.ขนาดกลาง ภูซาง เชียงคำา เชียงม่วน ปง จุน จำานวน นักเรียน 667912 500295 663 258 405 69 177 51 112 131 ค่าเฉลี่ย รวม 40.70 40.83 39.96 40.80 39.30 41.88 41.05 40.05 39.87 39.79 ภาษาไทย (91) เฉลี่ย 35.20 35.39 35.19 35.87 34.76 37.02 36.28 35.20 35.23 35.64 สังคมฯ (92) เฉลี่ย 46.79 46.94 47.03 48.02 46.40 49.79 47.64 46.32 48.54 46.84 อังกฤษ (93) เฉลี่ย 27.46 27.09 26.18 26.12 26.22 26.41 26.96 24.98 25.36 26.75 คณิตฯ (94) เฉลี่ย 29.65 29.59 27.37 26.78 27.75 28.43 27.34 24.30 28.97 27.87 วิทย์ฯ (95) เฉลี่ย 38.62 38.77 38.87 40.36 37.91 41.94 40.19 38.74 38.53 38.38 สุขพละ (96) เฉลี่ย 59.32 59.72 59.56 61.17 58.52 61.99 62.32 62.35 57.12 57.57 ศิลปะ (97) เฉลี่ย 43.14 43.24 40.59 41.99 38.70 42.14 41.75 42.21 40.09 40.12 การงาน (98) เฉลี่ย 45.42 45.87 44.91 46.08 44.17 47.33 45.89 46.28 45.16 45.18 จากตารางที่ 8 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับประเทศ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุ่มโรงเรียน จำาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ดังนี้ ภาษาไทย กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับประเทศ (35.20) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (35.19) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนอำาเภอ ภูซาง (37.02) รองลงมา ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนอำาเภอเชียงคำา (36.28) และ กลุ่มโรงเรียนอำาเภอจุน (35.64) ตามลำาดับ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับประเทศ (46.79) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (47.03) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนภูซาง (49.79) รองลงมาได้แก่ กลุ่มโรงเรียนอำาเภอปง(48.54) และกลุ่มโรงเรียนเชียงคำา (47.64) ตามลำาดับ ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับประเทศ (27.46) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (26.18) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนเชียงคำา (26.96) รองลงมา ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนอำาเภอจุน (26.75) และกลุ่มโรงเรียนอำาเภอภูซาง (26.41) ตามลำาดับ คณิตศาสตร์ กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับประเทศ(29.65) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (27.37) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนอำาเภอปง (28.97) รองลงมา ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนอำาเภอภูซาง (28.43) และกลุ่มโรงเรียนอำาเภอจุน (27.87) ตามลำาดับ
  • 18. 15 วิทยาศาสตร กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทางการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่3 สูงกวาระดับประเทศ(38.62)และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (38.87) สูงที่สุด 3 อันดับ แรก ไดแก กลุมโรงเรียนอําเภอ ภูซาง (41.94) รองลงมาไดแก กลุมโรงเรียน อําเภอเชียงคํา (40.19) และ กลุมโรงเรียนอําเภอเชียงมวน (38.74) ตามลําดับ สุขศึกษาและพลศึกษา กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทาง การศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่3 สูงกวาระดับประเทศ(59.32) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (59.56)สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนอําเภอเชียงมวน ( 62.35) รองลงมาไดแก กลุมโรงเรียนอําเภอเชียงคํา (62.32) และกลุมโรงเรียนอําเภอภูซาง (61.99) ตามลําดับ ศิลปะ กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทางการศึกษ า ชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 3 สูงกวาระดับประเทศ (43.14) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (40.59) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนอําเภอเชียงมวน (42.21) รองลงมาไดแกกลุมโรงเรียนอําเภอภูซาง (42.14) และ กลุมโรงเรียน อําเภอเชียงคํา (41.75) ตามลําดับ การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทาง การศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 สูงกวาระดับประเทศ (45.42) และระดับเขตพื้นที่การศึกษา (44.91) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียนอําเภอภูซาง ( 47.33) รองลงมาไดแก กลุมโรงเรียนอําเภอเชียงมวน (46.28) และกลุมโรงเรียนอําเภอเชียงคํา (45.89) ตามลําดับ คะแนนเฉลี่ยรวมทุกกลุมสาระ การเรียนรู กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบ ทางการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก กลุมโรงเรียน อําเภอภูซาง (41.88) รองลงมากลุมโรงเรียนอําเภอเชียงคํา (41.05) และกลุมโรงเรียนอําเภอเชียงมวน (40.05) ตามลําดับ
  • 19. 16 ตอนที่ 2 การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน (NT) ตารางที่ 9 คะแนนเฉลี่ยรอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การประเมิน รวม 3 ดาน ความสามารถดานภาษา ความสามารถดานคำานวณ ความสามารถดานเหตุผล จำานวนโรงเรียน 135 135 135 135 จำานวนโรงเรียน โรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย สูงกวาระดับเขตพื้นที่ X% 48.29 52.49 43.64 48.74 S.D. 16.47 6.18 6.04 6.31 จำานวนโรงเรียน 73 73 72 77 ร้อยละ 54.07 54.07 53.33 57.04 จากตารางที่ 9 พบว่าการประเมินความรู้ความสามารถด้านต่างๆ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน (NT)ชั้นประถมศึกษาปีที่3 เรียงลำาดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การประเมินความสามารถด้านภาษา (52.49) รองลงมาเปนการประเมินความสามารถด้านเหตุผล (48.74) และ การประเมินความสามารถด้านคำานวณ (43.64) ตามลำาดับ เมื่อพิจารณาจำานวนและร้อยละของโรงเรียนที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับเขตพื้นที่การศึกษา สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ การประเมินความสามารถด้านเหตุผล (จำานวน 77 โรงเรียนคิดเปนร้อยละ 57.04) รองลงมาเปนการ ประเมินความสามารถด้านภาษา (จำานวน 73 โรงเรียน คิดเปนร้อยละ 54.07) และการประเมินความสามารถด้าน คำานวณ (จำานวน 72 โรงเรียน คิดเปนร้อยละ 53.33)
  • 20. 17 ตารางที่10 คะแนนเฉลี่ยถ่วงนำาหนักร้อยละ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุ่มโรงเรียน ้ ลำาดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 กลุ่มโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ จุน 2 เชียงคำา 1 เชียงคำา 2 เชียงม่วน ภูซาง ปง 2 จุน 1 ปง 1 จำานวน นักเรียน 1614 89 280 199 150 212 173 209 265 คะแนนเฉลี่ยถ่วงนำาหนัก (105 คะแนน) 50.7 58.42 55.83 54.45 54.04 51.38 47.54 47.01 44.45 ้ คะแนนเฉลี่ยถ่วงนำาหนัก ร้อยละ (100 คะแนน) 48.29 55.63 53.17 51.86 51.46 48.93 45.28 44.77 42.33 ้ จากตารางที่10คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุ่มโรงเรียน จำาแนกเปนรายกลุ่มโรงเรียนพบว่ากลุ่ม โรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับเขตพื้นที่การศึกษา (48.29) สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนจุน 2 (55.63) รองลงมาได้แก่ กลุ่มโรงเรียนเชียงคำา 1(53.17) และกลุ่มโรงเรียนเชียงคำา2 (51.86) ตามลำาดับ
  • 21. 18 สวนที่ 3 สรุปผลการทดสอบ และขอเสนอแนะ สรุปผลการทดสอบ 1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 1.1. ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 1.1.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา พบวา กลุมสาระการเรียนรูที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละสูงสุด ไดแก กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี รองลงมาไดแก กลุมสาระ การเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา กลุมสาระการ เรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามลําดับ สวนกลุมสาระการเรียนรูที่มี คะแนนเฉลี่ยรอยละต่ําสุดไดแก กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรอยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษาเปรียบเทียบกับระดับสังกัด พบวาทุก กลุมสาระการเรียนรูมีคะแนนเฉลี่ยรอยละสูงกวาระดับสังกัดและเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรอย ละผลการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระดับเขตพื้นที่ การศึกษาเปรียบเทียบกับระดับประเทศ พบวา คะแนนเฉลี่ยรอยละทุกกลุมสาระการเรียนรูมีคะแนนเฉลี่ย รอยละระดับเขตพื้นที่การศึกษาสูงกวาระดับประเทศ ยกเวนกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีคะแนนเฉลี่ยรอยละต่ํากวาระดับประเทศ 1.1.2 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรอยละ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปการศึกษา 2557 เทียบกับปการศึกษา 2556 พบวา กลุมสาระการเรียนรูที่มีคาคะแนนเฉลี่ยรอยละเพิ่มขึ้นเรียงลําดับจากมากไปหานอย ไดแก กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (+12.36) รองลงไปไดแก กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร (+4.73) และกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี (+3.16) ตามลําดับ สวนกลุม สาระการเรียนรูมีคาคะแนนเฉลี่ยรอยละลดลงเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดแก กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา (-9.49) กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (-3.89) และกลุมสาระการเรียนรูการงาน อาชีพและเทคโนโลยี (-1.53) ตามลําดับ สวนในภาพรวมระดับเขตพื้นที่พบวาคาคะแนนเฉลี่ยรอยละ ปการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2556 (+0.93) 1.1.3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 เปรียบเทียบระดับประเทศ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุมโรงเรียน จําแนกเปนรายกลุมสาระการ เรียนรู ไดดังนี้ ภาษาไทย กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ และระดับเขตพื้นที่การศึกษา สูงที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก ไดแก กลุมโรงเรียน เชียงมวน รองลงมา กลุมโรงเรียนเชียงคํา 1 และกลุมโรงเรียนจุน 1 ตามลําดับ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละของผลการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สูงกวาระดับประเทศ