SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
วิวัฒนาการของ CPU
และ
หน่วยประมวลผลกลาง
วิวัฒนาการของ CPU ( Intel)
เป็นบริษัทผู้ผลิตซีพียูที่เก่าแก่และมีการพัฒนา มาอย่าง
ต่อเนื่อง นับตั้งแต่ซีพียู 8086 , 8088 และซีพียูในตระกูล
80x86 เรื่อยมา ถือได้ว่าเครื่องซีพียูที่ใช้กันอยู่แพร่หลายใน
ปัจจุบัน รวมทั้งซีพียูบนโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมแบบใหม่
อย่าง Nehalem ที่จะมาพร้อมกันแบรนด์ใหม่ที่ชื่อว่า Core
i7 เป็นต้น
ตัวอย่างซีพียูของ Intel
ซีพียู 8086
อยู่ในตระกูล 80x86 เป็นซีพียูรุ่น
แรกๆ เช่น 80386,80486 ซึ่งปัจจุบัน
ไม่ใช้กันแล้ว
Pentium
เป็นซีพียูรุ่นแรกที่เปลี่ยนไปใช้
วิธีตั้งชื่อเรียกว่า Pentium แทนตัวเลข
แบบเดิม
ตัวอย่างซีพียูของ Intel
Pentium II
เป็นซีพียูที่ได้มีการนาเอาคาสั่ง
MMX (Multimedia
extension) มาใช้เพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถทางด้านมัลติมีเดีย
Pentium Pro
เป็นซีพียูรุ่นแรกของตระกูล P6
ซีพียูรุ่นนี้ใช้กับชิปเซ็ตรุ่น 440 FX และ
ได้รับความนิยมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์เป็นอย่าง
มากสมัยนั้น
ตัวอย่างซีพียูของ Intel
ซี พียู Core i7
เป็นซีพียูภายใต้แบรนด์ใหม่ในชื่อ
Core โครงสร้างทั้งภายในและภายนอกที่
ได้รับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปมาก
ซี พียูCore 2
มีความเร็วสูงสุด 3.0 GHz ในรุ่น
QX6850 ทางานด้วย FSB 1066 MHz มี
L2 Cache ขนาด 8 MB ค่า TDP สูงสุด
งานด้วย FSB 1600MHz มี L2 Cache
ขนาด 12 MB ค่า TDP สูงสุด 150 W
ตัวอย่างซีพียูของ Intel
Celeron II
รุ่นแรกเป็นการนาเอา Pentium III
( Coppermine และ Tualatin) มา
ลด L2 Cache ลงเหลือเพียง 128 KB
และ 256 KB
ซี พียูPentium Extreme Edition
ที่ถูกออกแบบมาสาหรับคอมพิวเตอร์
ระดับ Hi- End สมรรถนะสูง เหมาะกับการ
สร้างสรรค์สื่อบันเทิงต่างๆอย่างเต็มรูปแบบทั้งการ
ประมวลผลภาพวิดีโอ และระบบเสียงแบบ High
Definition
วิวัฒนาการของ CPU (AMD)
แอดวานซ์ ไมโคร ดีไวซ์, Inc. หรือ เอเอ็มดี เป็นบริษัทสัญชาติ
อเมริกัน ก่อตั้งเมื่อ ปี ค.ศ.1969 โดยพนักงานเก่าจากบริษัท Fairchild
Semiconductor โดย เอเอ็มดี ผลิตสินค้าเกี่ยวกับ เซมิคอนดัคเตอร์ มี
สานักงานใหญ่อยู่ที่มลรัฐแคลิฟอร์เนีย
โดยเป็นผู้พัฒนา ซีพียู และเทคโนโลยีต่างๆ ออกสู่ตลาด และ ผู้ใช้
ทั่วไป.โดยที่สินค้าหลักของบริษัทคือ ไมโครโพรเซสเซอร์,เมนบอร์ดชิปเซ็ต
,การ์ดแสดงผล,ระบบฟังตัว สาหรับคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์,คอมพิวเตอร์
ส่วนบุคคล และ ระบบฝังตัวต่างๆ
ตัวอย่างซีพียูของ AMD
ไมโครโพรเซสเซอร์ตระกูล APU,
Phenom ll,Athlon ll
,Sempron,
AMD Fusion CPU+GPU
ตัวอย่างซีพียูของ AMD
AMD K5
AMD K6
ตัวอย่างซีพียูของ AMD
AMD K6-2
Sharptooth (K6-II)
ตัวอย่างซีพียูของ AMD
AMD Argon
AMD Duron
หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) หรือ
ย่อว่า ซีพียู (CPU) เป็นวงจรอิเลคทรอนิกส์ที่ทางาน หรือประมวลผล ตาม
ชุดของคาสั่งเครื่องจากซอฟต์แวร์ คานี้เริ่มใช้ในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์
ตั้งแต่ต้นศตวรรษ 1960
หน่วยประมวลผลเปรียบเสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ในการ
ทาหน้าที่ตัดสินใจหรือคานวณ จากคาสั่งที่ได้รับมา เช่น การเปรียบเทียบ การ
กระทาการทางคณิตศาสตร์ ฯลฯ
หน่วยประมวลผลกลาง
โดยมีกระบวนการพื้นฐานคือ
- อ่านชุดคาสั่ง (fetch)
- ตีความชุดคาสั่ง (decode)
- ประมวลผลชุดคาสั่ง (execute)
- อ่านข้อมูลจากหน่วยความจา (memory)
- เขียนข้อมูล/ส่งผลการประมวลกลับ (write back)
การทางานของหน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกตามหน้าที่ได้เป็นห้ากลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ โดย
ทางานทีละคาสั่ง จากคาสั่งที่เรียงลาดับกันไว้ตอนที่เขียนโปรแกรม
Fetch - การอ่านชุดคาสั่งขึ้นมา 1 คาสั่งจากโปรแกรม ในรูปของรหัสเลขฐานสอง
(Binary Code from on-off of BIT)
Decode - การตีความ 1 คาสั่งนั้นด้วยวงจรถอดรหัส (Decoder circuit) ตาม
จานวนหลัก BIT) ว่ารหัสนี้จะให้วงจรอื่นใดทางานด้วยข้อมูลที่ใด
Execute - การทางานตาม 1 คาสั่งนั้น คือ วงจรใดในไมโครโปรเซสเซอร์ทางาน เช่น
วงจรบวก วงจรลบ วงจรเปรียบเทียบ วงจรย้ายข้อมูล ฯลฯ
Memory - การติดต่อกับหน่วยความจา การใช้ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยจาชั่วคราว
(RAM, Register) มาใช้ในคาสั่งนั้นโดยอ้างที่อยู่ (Address)
Write Back - การเขียนข้อมูลกลับ โดยมีหน่วยจา Register ช่วยเก็บที่อยู่ของคาสั่ง
ต่อไป ภายหลังมีคาสั่งกระโดดบวกลบที่อยู่
การทางานของหน่วยประมวลผลกลาง
จบการนาเสนอ
1.นางสาวนันชนัช อินศิริ เลขที่ 5
2.นางสาวรชนีกร สารเก่ง เลขที่ 7
3.นางสาวชนานันท์ แสงประภานันท์เลขที่ 8
4.นางสาวนฤชา สุทธิ์เตนันท์ เลขที่17
5.นางสาวฐิติรัตน์ แสงมะณี เลขที่ 29
6.นางสาวญานิศา ชุ่มเมืองเย็น เลขที่ 38
7.นางสาวพลอยไพลิน ธีระพัฒน์สกุล เลขที่ 39
8.นายธิติพงษ์ ไวคานวณ เลขที่ 40
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4.10
รายชื่อกลุ่ม

More Related Content

What's hot

OpenFOAMを用いた計算後の等高面データの取得方法
OpenFOAMを用いた計算後の等高面データの取得方法OpenFOAMを用いた計算後の等高面データの取得方法
OpenFOAMを用いた計算後の等高面データの取得方法takuyayamamoto1800
 
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นแนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นPhusit Konsurin
 
Increase Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs Store
Increase Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs StoreIncrease Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs Store
Increase Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs StoreUtai Sukviwatsirikul
 
Java Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented ConceptJava Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented ConceptIMC Institute
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียงแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียงSurachai Chobseang
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์DimitriICTProjects
 
あるコンテキストスイッチの話
あるコンテキストスイッチの話あるコンテキストスイッチの話
あるコンテキストスイッチの話nullnilaki
 
การใช้งานหุ่นยนต์ IPST-MicroBOX SE (i-BOT)
การใช้งานหุ่นยนต์ IPST-MicroBOX SE (i-BOT)การใช้งานหุ่นยนต์ IPST-MicroBOX SE (i-BOT)
การใช้งานหุ่นยนต์ IPST-MicroBOX SE (i-BOT)Innovative Experiment Co.,Ltd.
 
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4page
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4pageใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4page
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
謎の言語Forthが謎なので実装した
謎の言語Forthが謎なので実装した謎の言語Forthが謎なので実装した
謎の言語Forthが謎なので実装したt-sin
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน9inglobin
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นAon Narinchoti
 
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์kanjana2536
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 

What's hot (20)

OpenFOAMを用いた計算後の等高面データの取得方法
OpenFOAMを用いた計算後の等高面データの取得方法OpenFOAMを用いた計算後の等高面データの取得方法
OpenFOAMを用いた計算後の等高面データの取得方法
 
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นแนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
 
Increase Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs Store
Increase Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs StoreIncrease Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs Store
Increase Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs Store
 
Estrutura de dados - Pilhas
Estrutura de dados - PilhasEstrutura de dados - Pilhas
Estrutura de dados - Pilhas
 
Java Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented ConceptJava Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented Concept
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียงแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
 
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่าการฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
あるコンテキストスイッチの話
あるコンテキストスイッチの話あるコンテキストスイッチの話
あるコンテキストスイッチの話
 
การใช้งานหุ่นยนต์ IPST-MicroBOX SE (i-BOT)
การใช้งานหุ่นยนต์ IPST-MicroBOX SE (i-BOT)การใช้งานหุ่นยนต์ IPST-MicroBOX SE (i-BOT)
การใช้งานหุ่นยนต์ IPST-MicroBOX SE (i-BOT)
 
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4page
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4pageใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4page
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-4page
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
謎の言語Forthが謎なので実装した
謎の言語Forthが謎なので実装した謎の言語Forthが謎なので実装した
謎の言語Forthが謎なので実装した
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
 
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
 
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
 
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 

More from Supaksorn Tatongjai (20)

Work30243 new58
Work30243 new58Work30243 new58
Work30243 new58
 
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซีคำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
 
7 3 condition
7 3 condition7 3 condition
7 3 condition
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
7 1 dev c++
7 1 dev c++7 1 dev c++
7 1 dev c++
 
Work20253
Work20253Work20253
Work20253
 
Week4-16
Week4-16Week4-16
Week4-16
 
Week4-1
Week4-1Week4-1
Week4-1
 
Week3-14
Week3-14Week3-14
Week3-14
 
Week3-13
Week3-13Week3-13
Week3-13
 
Week3-2
Week3-2Week3-2
Week3-2
 
Week3-1
Week3-1Week3-1
Week3-1
 
Week2-13
Week2-13Week2-13
Week2-13
 
Week2-12
Week2-12Week2-12
Week2-12
 
Week2-2
Week2-2Week2-2
Week2-2
 
Week2-1
Week2-1Week2-1
Week2-1
 
Week1-11
Week1-11Week1-11
Week1-11
 
Week1-1
Week1-1Week1-1
Week1-1
 
M1-Programs1
M1-Programs1M1-Programs1
M1-Programs1
 
Work30243
Work30243Work30243
Work30243
 

วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)

  • 2. วิวัฒนาการของ CPU ( Intel) เป็นบริษัทผู้ผลิตซีพียูที่เก่าแก่และมีการพัฒนา มาอย่าง ต่อเนื่อง นับตั้งแต่ซีพียู 8086 , 8088 และซีพียูในตระกูล 80x86 เรื่อยมา ถือได้ว่าเครื่องซีพียูที่ใช้กันอยู่แพร่หลายใน ปัจจุบัน รวมทั้งซีพียูบนโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมแบบใหม่ อย่าง Nehalem ที่จะมาพร้อมกันแบรนด์ใหม่ที่ชื่อว่า Core i7 เป็นต้น
  • 3. ตัวอย่างซีพียูของ Intel ซีพียู 8086 อยู่ในตระกูล 80x86 เป็นซีพียูรุ่น แรกๆ เช่น 80386,80486 ซึ่งปัจจุบัน ไม่ใช้กันแล้ว Pentium เป็นซีพียูรุ่นแรกที่เปลี่ยนไปใช้ วิธีตั้งชื่อเรียกว่า Pentium แทนตัวเลข แบบเดิม
  • 4. ตัวอย่างซีพียูของ Intel Pentium II เป็นซีพียูที่ได้มีการนาเอาคาสั่ง MMX (Multimedia extension) มาใช้เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถทางด้านมัลติมีเดีย Pentium Pro เป็นซีพียูรุ่นแรกของตระกูล P6 ซีพียูรุ่นนี้ใช้กับชิปเซ็ตรุ่น 440 FX และ ได้รับความนิยมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์เป็นอย่าง มากสมัยนั้น
  • 5. ตัวอย่างซีพียูของ Intel ซี พียู Core i7 เป็นซีพียูภายใต้แบรนด์ใหม่ในชื่อ Core โครงสร้างทั้งภายในและภายนอกที่ ได้รับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปมาก ซี พียูCore 2 มีความเร็วสูงสุด 3.0 GHz ในรุ่น QX6850 ทางานด้วย FSB 1066 MHz มี L2 Cache ขนาด 8 MB ค่า TDP สูงสุด งานด้วย FSB 1600MHz มี L2 Cache ขนาด 12 MB ค่า TDP สูงสุด 150 W
  • 6. ตัวอย่างซีพียูของ Intel Celeron II รุ่นแรกเป็นการนาเอา Pentium III ( Coppermine และ Tualatin) มา ลด L2 Cache ลงเหลือเพียง 128 KB และ 256 KB ซี พียูPentium Extreme Edition ที่ถูกออกแบบมาสาหรับคอมพิวเตอร์ ระดับ Hi- End สมรรถนะสูง เหมาะกับการ สร้างสรรค์สื่อบันเทิงต่างๆอย่างเต็มรูปแบบทั้งการ ประมวลผลภาพวิดีโอ และระบบเสียงแบบ High Definition
  • 7. วิวัฒนาการของ CPU (AMD) แอดวานซ์ ไมโคร ดีไวซ์, Inc. หรือ เอเอ็มดี เป็นบริษัทสัญชาติ อเมริกัน ก่อตั้งเมื่อ ปี ค.ศ.1969 โดยพนักงานเก่าจากบริษัท Fairchild Semiconductor โดย เอเอ็มดี ผลิตสินค้าเกี่ยวกับ เซมิคอนดัคเตอร์ มี สานักงานใหญ่อยู่ที่มลรัฐแคลิฟอร์เนีย โดยเป็นผู้พัฒนา ซีพียู และเทคโนโลยีต่างๆ ออกสู่ตลาด และ ผู้ใช้ ทั่วไป.โดยที่สินค้าหลักของบริษัทคือ ไมโครโพรเซสเซอร์,เมนบอร์ดชิปเซ็ต ,การ์ดแสดงผล,ระบบฟังตัว สาหรับคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์,คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล และ ระบบฝังตัวต่างๆ
  • 12. หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) หรือ ย่อว่า ซีพียู (CPU) เป็นวงจรอิเลคทรอนิกส์ที่ทางาน หรือประมวลผล ตาม ชุดของคาสั่งเครื่องจากซอฟต์แวร์ คานี้เริ่มใช้ในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ต้นศตวรรษ 1960 หน่วยประมวลผลเปรียบเสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ในการ ทาหน้าที่ตัดสินใจหรือคานวณ จากคาสั่งที่ได้รับมา เช่น การเปรียบเทียบ การ กระทาการทางคณิตศาสตร์ ฯลฯ
  • 13. หน่วยประมวลผลกลาง โดยมีกระบวนการพื้นฐานคือ - อ่านชุดคาสั่ง (fetch) - ตีความชุดคาสั่ง (decode) - ประมวลผลชุดคาสั่ง (execute) - อ่านข้อมูลจากหน่วยความจา (memory) - เขียนข้อมูล/ส่งผลการประมวลกลับ (write back)
  • 14. การทางานของหน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกตามหน้าที่ได้เป็นห้ากลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ โดย ทางานทีละคาสั่ง จากคาสั่งที่เรียงลาดับกันไว้ตอนที่เขียนโปรแกรม Fetch - การอ่านชุดคาสั่งขึ้นมา 1 คาสั่งจากโปรแกรม ในรูปของรหัสเลขฐานสอง (Binary Code from on-off of BIT) Decode - การตีความ 1 คาสั่งนั้นด้วยวงจรถอดรหัส (Decoder circuit) ตาม จานวนหลัก BIT) ว่ารหัสนี้จะให้วงจรอื่นใดทางานด้วยข้อมูลที่ใด Execute - การทางานตาม 1 คาสั่งนั้น คือ วงจรใดในไมโครโปรเซสเซอร์ทางาน เช่น วงจรบวก วงจรลบ วงจรเปรียบเทียบ วงจรย้ายข้อมูล ฯลฯ Memory - การติดต่อกับหน่วยความจา การใช้ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยจาชั่วคราว (RAM, Register) มาใช้ในคาสั่งนั้นโดยอ้างที่อยู่ (Address) Write Back - การเขียนข้อมูลกลับ โดยมีหน่วยจา Register ช่วยเก็บที่อยู่ของคาสั่ง ต่อไป ภายหลังมีคาสั่งกระโดดบวกลบที่อยู่ การทางานของหน่วยประมวลผลกลาง
  • 16. 1.นางสาวนันชนัช อินศิริ เลขที่ 5 2.นางสาวรชนีกร สารเก่ง เลขที่ 7 3.นางสาวชนานันท์ แสงประภานันท์เลขที่ 8 4.นางสาวนฤชา สุทธิ์เตนันท์ เลขที่17 5.นางสาวฐิติรัตน์ แสงมะณี เลขที่ 29 6.นางสาวญานิศา ชุ่มเมืองเย็น เลขที่ 38 7.นางสาวพลอยไพลิน ธีระพัฒน์สกุล เลขที่ 39 8.นายธิติพงษ์ ไวคานวณ เลขที่ 40 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4.10 รายชื่อกลุ่ม