SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547
หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน                                  เวลา 15 ชั่วโมง
                                      แผนผังแนวคิด
                                                 สระแทมี 18 เสียง เสียงสั้น 9 เสียงยาว 9
              เสียงในภาษา สระ                   สระประสม 6 และสระที่มีเสียงพยัญชนะประสม
              พยัญชนะ วรรณยุกต                 8 เสียง พยัญชนะมี 44 รูป 21 เสียง วรรณยุกตมี
                                                4 รูป 5 เสียง
               สนุกกับมาตรา                      มาตราสะกดมี 8 มาตรา คือ แม กก กด กบ กง
                                                กน กม เกอย และ เกอว

                                                 อักษรควบคืออักษร ร ล ว ควบอักษรกลาง สูง ตํ่า
               อักขราควบ-นํา
                                                ในตําแหนงพยัญชนะตน เชน กร กล กว ขร ขล ขว
                                                คร คล คว ตร ปร ปล พร พล ผล
หลักภาษา
เบื้องตน      สรางคําหลากหลาย                   การสรางคํามีหลายรูปแบบตั้งแต คํามูล คําประสม
                                                คําซํ้า คําซอน

               อธิบายลักษณะ      คํา             คําไทยมีลักษณะเปนคําโดด พยางคเดียว สะกด
              ไทย                               ตรงตามมาตรา คือ แม กก ใช ก แมกด ใช ด
                                                แมกบ ใช บ

                                                  เมือมีการติดตอสื่อสารกันทางศาสนาและการคา
                                                     ่
               ไขคํานําภาษาอื่นเขา
                                                จึงมีการนําภาษาอื่นเขามาใช หลักสังเกตเบื้องตน
                                                 มีหลายพยางค สะกดไมตรงตามมาตรา ฯลฯ

                                                 ความรูเรื่องคําเปน คําตาย จะนําไปใชในการผัน
                                                        
              เฝาสังเกตคําเปน – คํา
                                                วรรณยุกตและการแตงคําประพันธ คําเปนประสม
              ตาย                               สระเสียงยาวในแม ก กา หากสะกด จะสะกดดวย
                                                กง กน กม เกอย และเกอว คําตายประสมสระเสียง
                                                สั้น และสกดดวย แม กก กด และกบ
              คํา 7 ชนิดขยาย
                                                  คํามี 7 ชนิด คือ คํานาม สรรพนาม กริยา บุรพบท
              ใหเรียนรู
                                                สันธานและ อุทาน
              ตรวจประเมินดูสัมฤทธิ์
                                                  กิจกรรมตรวจสอบความรูจากการเรียนรูของ
              ผล
                                                นักเรียนตรวจสอบโดยการเลนเกม พูดอภิปราย ฯลฯ
แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547
หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 1 เสียงในภาษา เวลา 3 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ เสียงในภาษาไทยประกอบดวยเสียงพยัญชนะ สระและวรรณยุกต เปนความรูขั้นพื้นฐานของ
   การเรียนหลักภาษาไทย เมื่อนักเรียนมีความรูความเขาในเรื่องดีแลวจะทําใหนักเรียนเขียนสะกดคําถูก
   ตอง และสามารถนําความรูนี้ไปเรียนรูเรื่องพยางค คํา ประโยคในระดับสูงได

2. ผลการเรียนรู
    นักเรียนจําแนกประเภทของเสียงสระ เสียงพยัญชนะ และเสียงวรรณยุกตได
3. เนื้อหา
   เสียงในภาษา เสียงในสระ เสียงพยัญชนะ และเสียงวรรณยุกต
4. กระบวนการจัดการเรียนรู
คาบที่ 1-2
    4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม ใหนักเรียนยืนเปนวงกลม บอกอักษรไทยตั้ง แต ก – ฮ คนละ 1 ตัว
        ในเวลารวดเร็ว ใครบอกชาหรือบอกซํ้ากับเพื่อน ตาย รอบตอไปบอกเสียงสระคนละ 1 ตัว
        ปรบมือใหกบผูทีสามารถทําไดถูกตอง
                   ั
    4.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
    4.3 ครูตรวจสอบความรูพื้นฐานของนักเรียนโดยถามความรูพื้นฐานในประเด็นตอไปนี้
        4.3.1 อักษรไทยมีก่รปกี่เสียง
                               ีู
        4.3.2 สระแทมีกี่เสียง
        4.3.3 จงยกตัวอยางสระแทเสียงสั้น
        4.3.4 จงยกตัวอยางสระแทเสียงยาว
        4.3.5 จงบอกเสียงวรรณยุกตของชื่อเลนของตัวเอง
    4.4 นักเรียนเลื่อนโตะเรียนออกใหเหลือพื้นที่วางตรงกลาง นักเรียนนั่งลอมวงเปนวงกลมโดยเรียงลําดับเลขที่ 1- 25 นํา
        อุปกรณการเรียนเชน ปากกา ไมบรรทัด ยางลบไวดานหนา คนละ 3 ชิ้น
    4.5 นักเรียนอานทําความเขาใจเรื่อง เสียงสระแท 18 เสียง 9 คู และสระประสม 3 เสียง ในเวลา 10 นาที
    4.6 ครูอธิบายเรื่องเสียงในภาษาไทย ประกอบดวย 3 เสียง คือเสียงพยัญชนะ สระ(สระแท สระประสม) และวรรณยุกต
    4.7 นักเรียนบอกเสียงของสระ พยัญชนะ และวรรณยุกตในลักษณะตอไปนี้
        4.7.1 บอกเสียงสระแท คนละ 1 ตัว เมื่อสระแทหมดคนตอไปใหบอกเสียงสระประสม
        4.7.2 บอกเสียงพยัญชนะ ก ข ง จ ช ซ - ฮ ตามลําดับ
        4.7.3 บอกเสียงวรรณยุกตของชื่อเลนตนเอง
        นักเรียนคนใดตอบผิด 1 ครั้ง นําอุปกรณของตนเองมาวางไวกลางวง เมื่อถามครบประเด็น ให นักเรียนนับ
        อุปกรณของตัวเอง ใครเหลืออุปกรณครบเปนผูชนะ
    4.8 ครูสังเกตการตอบของนักเรียนบันทึกนักเรียนที่ตอบไมได อธิบายใหความรู
คาบที่ 3
   4.9 นักเรียนแสดงความรูเดิมเรื่องรูปและเสียงของวรรณยุกต โดยใหนักเรียนอาสาพูดอธิบายความรูเรื่องเสียงของ
        วรรณยุกตตามที่ตนเองเคยเรียนหรือเคยรูมา เชน
        4.9.1 วรรณยุกตมี 4 รูป 5 เสียง
         4.9.2 อักษรกลางคําเปนผันไดครบ 5 เสียง
          4.9.3 คําตายทุกคําไมมีเสียงสามัญ
          4.9.4 อักษรตํ่าคําตายเสียงสั้นพื้นเสียงเปนเสียงตรี
   4.10 ครูอธิบายใหนักเรียนสังเกตเห็นหลักการผันวรรณยุกตของอักษร 3 หมู
   4.11 นักเรียนยืนเปนวงกลมผันเสียงวรรณยุกตชื่อเลนของตนเอง แลวบอกครูเรียงตามลําดับ ครูสังเกตวามีนักเรียนคน
        ไหนบางที่ผันชื่อเลนตัวเองไมได
   4.12 นักเรียนสังเกตเสียงวรรณยุกตในชื่อจริงของนักเรียนเอง แลวใหวิ่งเขากลุมเสียงที่ครูบอก เชน
              4.12.1 ใครมีชื่อเสียงสามัญออกมา (ใหนักเรียนบอกคําที่เปนเสียงสามัญ)
              4.12.2 ใครมีชื่อเสียงเอกออกมา (ใหนักเรียนบอกคําที่เปนเสียงเอก)
              4.12.3 ใครมีชื่อเสียงโทออกมา (ใหนักเรียนบอกคําที่เปนเสียงโท)
              4.12.4 ใครมีช่ือเสียงตรีออกมา (ใหนักเรียนบอกคําที่เปนเสียงตรี)
              4.12.5 ใครมีชื่อเสียงจัตวาออกมา (ใหนักเรียนบอกคําที่เปนเสียงจัตวา)
   4.13 ครูสังเกตและบันทึกขอมูล
   4.14 ครูอธิบายใหความรูเรื่อง รูป เสียง และหลักการผันวรรณยุกตใหนักเรียนฟง
   4.15 นักเรียนรวมรองเพลงและบอกเสียงวรรณยุกตของคําในเนื้อเพลง
   4.16 แบงนักเรียนเปน 2 กลุม แตละกลุมสงตัวแทนออกมาแขงขันบอกเสียงวรรณยุกต เมื่อครูเอยคําใดออกมาใหนักเรียน
        ตัวแทนบอกเสียงวรรณยุกตในเวลาที่รวดเร็ว ใครบอกกอนได 1 แตม พรอมกับใหเรียกชื่อเพื่อนที่สมาชิกของอีกกลุม
        หนึ่งมาเปนเชลย สมาชิกของใครหมดกอนเปนฝายแพ
   4.17 ทุกคนรวมกันปรบมือใหกับกลุมที่ชนะ
   4.18 นักเรียนสรุปความรูเรื่องเสียงในภาษาจดลงสมุด

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค
   ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน
6. การวัดและประเมินผล
   สังเกตความสามารถในการตอบคําถาม ความสามารถในการยกตัวอยาง ความสามารถในการผันวรรณยุกต
7. สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน ครู เพลง รักเธอที่หนาประตู

8. กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
9. บันทึกหลังสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

10. ความเห็นของนักเรียนที่มตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู
                           ี 
        รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู
                                                 มากที่สุด    มาก   ปานกลาง นอย นอยที่
                                                 5            4      3        2     สุด 1
    1. ความรูที่ไดรับ
    2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน
    3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู

  อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
11. ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย
                                       ี

……………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบงานวิชาภาษาไทย 1 ท 031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
             แผนการเรียนรูหนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน แผนที่ 1 เสียงในภาษา (พยัญชนะ สระและวรรณยุกต)
คําชี้แจง ใหนักเรียนแยกคําในแตละประโยคใสในชองของเสียงวรรณยุกตใหถูกตองดังตัวอยาง

                    ประโยค / เสียง                สามัญ             เอก              โท            ตรี      จัตวา
0. ชาตินี้ฉันจําใจจาก                          จําใจ          จาก             ชาติ           นี้         ฉัน
1. รากพืชแหงแลงมาก
2. เพราะมอสเลิกเสพยา
3. บอกแลววาไมรัก
4. วาดภาพสวยซาบซึ้ง
5. ติด ร วิชาลืม
6. นี่วางสายกอนดิ
7. ผงซักฟอกชื่อแฟบ
8. เจ็บหนักมักเผลอรอง
9. สมุดโนตหมดแลวคะ
10. เขาถูกเพิกถอนชื่อ
11. กระดาษขาดหมดแลว
12. นักรองขาดนองรัก
13. สมเจตนสาปแชงเพื่อน
14. ปอปอกกลวยนํ้าวา
15. หวูดรถดังวูวี้
สรุปผล 15 ขอ นักเรียนทําถูก                     =        ขอ =      คะแนน

ระดับความสามารถในการผันวรรณยุกต
  14-15 ขอ ดีมาก 11 – 13 ดี 8-10 พอใช           5-7ควรปรับปรุง      0-4 ควรปรับปรุงอยางยิ่ง


ชือ ……………………………………………..เลขที่ …………………..หอง…………………..
  ่
แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547
หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 2 สนุกกับมาตรา เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระการเรียนรู สาระที่ 4 หลักการใชภาษา มาตรฐาน 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย
   การเปลียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของ
          ่
   ชาติ

2. ผลการเรียนรู
    รูและเขาใจหลักการใชภาษาโดยสามารถนําความรูและหลักการใชภาษาไปใชและฝกฝนทักษะทางภาษาทั้ง
      
    การฟง การอาน การพูด และการเขียนใหมีประสิทธิภาพและเปนผูใชภาษาไทยไดดี
   จุดประสงคการเรียนรู
     บอกมาตราสะกดทั้ง 8 มาตราได
3. เนื้อหา
   มาตราสะกด แมกก แมกด แม กบ แมกง แมกน แมกม แมเกอว และแมเกอย
4. กระบวนการจัดการเรียนรู
   4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม ใหนักเรียนยืนเปนวงกลม เอยคําที่มีตัวสะกดมาคนละ 1 คํา แลวบอกวาคําที่นักเรียน
   เอยมานั้น สะกดดวยตัวสะกดในมาตราใด เมื่อบอกครบ 1 รอบ ครูสังเกตวามีนักเรียนที่ตอบผิดกี่คน เก็บขอมูล
   อธิบายแนะนําในกิจกรรมตอมา
    4.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
    4.3 ครูอธิบายถึงมาตราสะกด ตําแหนงของตัวสะกดในพยางค ยกตัวอยางตัวสะกดในมาตรานั้น พรอม
        ยกตัวอยางคําที่สะกดในแตละมาตรา
    4.4 นักเรียนนั่งเปนวงกลม ครูเดินไปหยุดหนานักเรียนทีละคนพรอมบอกใหนักเรียนบอกคําที่สะกดดวยคําที่ครูกลาวออก
    มา คนละ 1 คํา ใครตอบผิด ตองเขามาอยูในวง ลักษณะคํากลาวของครู เชน
       คําที่สะกดดวย ก                        คําที่สะกดดวย ข
         คําที่สะกดดวย ค            คําที่สะกดดวย ฆ
         คําที่สะกดดวย ด            คําที่สะกดดวย ต
         คําที่สะกดดวย จ                      คําที่สะกดดวย ช
         คําที่สะกดดวย ซ                      คําที่สะกดดวย ศ
         คําที่สะกดดวย ษ            คําที่สะกดดวย ส
         คําที่สะกดดวย ท            คําที่สะกดดวย ธ
                            ฯลฯ
    4.5นักเรียนรวมกันสังเกตวา จากการยกตัวอยางคําที่สะกดดวยตัวตาง ๆ มา มีอักษรใดบางที่ไมเปนตัวสะกด
    4.6 นักเรียนสรุปองคความรู โดยครูใชคาถามนํา เชน
                                            ํ
        ตัวสะกดมี…………..มาตรา
         แมกก มีตัวสะกดดังนี้………
        แมกด มีตัวสะกดดังนี้…………
แมกบ มีตัวสะกดดังนี้………..
        แมกง มีตัวสะกดดังนี้…………
        แมกน มีตัวสะกดดังนี้……….
        แมกม มีตัวสะกดดังนี้………..
        แมเกอย มีตัวสะกดดังนี้…….
        แมเกอว มีตัวสะกดดังนี้……..

5 คุณลักษณะอันพึงประสงค
  ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน

6 การวัดและประเมินผล
  สังเกตความสามารถในการตอบคําถาม ความสามารถในการยกตัวอยาง ความสามารถในการผันวรรณยุกต
7 สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน ครู

8 กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

9 บันทึกหลังสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

10 ความเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู
       รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู        มากที่สุด    มาก   ปานกลาง นอย นอยที่
                                                  5            4      3        2     สุด 1
    1. ความรูที่ไดรับ
    2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน
    3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู

  อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
11 ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย
                                      ี

……………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547
หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 3 อักขราควบ- นํา เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ การเรียนรูเรื่องอักษรนํา อักษรควบ จะทําใหนักเรียนมีความเขาใจความหมายของคํา
   ออกเสียงและผันวรรณยุกตไดถูกตอง

2. ผลการเรียนรู
     จําแนกอักษรนํา อักษรควบได
3. เนื้อหา
   อักษรนํา อักษรควบ

4. กระบวนการจัดการเรียนรู
   4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม และตรวจสอบความรูพื้นฐานเรื่องอักษรนําอักษรควบ ใหนักเรียนยืนเปนวงกลม รอบที่
       1 ใหนักเรียนบอกคําควบกลํ้ามาคนละ 1 คํา หามซํ้ากัน ใครซํ้าตายเขาไปอยูในวงเมื่อครบรอบ ปรบมือใหกับผูที่
       สามารถยกตัวอยางได
   4.2 ครูสํารวจปริมาณนักเรียนที่ยังไมมีความรูในเรื่องนี้ เก็บเปนขอมูลเพื่อการพัฒนา
   4.3 นักเรียนกลับเขาสูวงเดิม บอกคําอักษรนําคนละ 1 คํา กติกาเหมือนเดิม เมื่อครบรอบ ปรบมือใหกับผูที่สามารถยก
       ตัวอยางไดถูกตอง
   4.4 ครูสํารวจปริมาณนักเรียนที่ยังไมมีความรูในเรื่องนี้เก็บเปนขอมูลเพื่อการพัฒนา
   4.5 ใหนักเรียนอาสาสมัคร พูดอธิบายลักษณะของ อักษรควบกลํ้า และอักษรนํา โดยครูใชคาถามนํา เชน สังเกตได
                                                                                          ํ
       อยางไรวาเปนอักษรควบกลํ้า สังเกตไดอยางไรวาคําคํานี้เปนอักษรนํา
   4.6 ใหนักเรียนคนอื่นไดแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม เชนยกตัวอยางคํา ประกอบการอธิบาย
   4.7 ครูกลาวชมเชยอาสาสมัคร แลวอธิบาย ลักษณะของ คําควบกลํ้า และคําที่มอักษรนํา    ี
   4.8 ใหนักเรียนเขียนนิทานที่มีคําบังคับเปนอักษรนํา และอักษร ควบกลํ้า ประกอบภาพตามจินตนาการ
   4.9 นักเรียนนําเสนอผลงานโดยใหเพื่อนชวยกันอานแลวคัดเลือกผลงานดีเดนออกมานําเสนอหนาชั้น

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค
   ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน

6. การวัดและประเมินผล
   ประเมินผลตามรูปแบบดังนี้

                     รายการประเมิน                   คะแนน       ได               หมายเหตุ
         ใชคําถูกตองตามที่กําหนด               8
         เนื้อหาชวนอาน มีคติสอนใจ               4
         มีความคิดสรางสรรค                     4
         ภาพประกอบสวยงามเหมาะสม                  4
รวม 20

7. สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน ใบงาน

8. กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………


9. บันทึกหลังสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

10. ความเห็นของนักเรียนที่มตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู
                           ี 
        รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู      มากที่สุด    มาก   ปานกลาง นอย นอยที่
                                                 5            4      3        2     สุด 1
    1. ความรูที่ไดรับ
    2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน
    3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู

  อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
11. ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย
                                       ี

……………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบงานวิชาภาษาไทย 1 ท 031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
                          แผนการเรียนรูหนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน แผนที่ 3 อักษรควบอักษรนํา
คําชี้แจง
1. ใหนักเรียนเขียนนิทานขนาดสั้น ๆ ประมาณ 5 – 7 บรรทัด ในนิทานใหมีคําควบกลํ้า อยางนอย 15คํา คําที่เปนอักษรนํา
      อยางนอย 10 คํา ที่คําควบกลํ้าใหขีดเสนใตดวยปากกาสีแดง คําอักษรนําขีดเสนใตดวยปากกาสีนํ้าเงิน พรอมตั้งชื่อเรื่อง
      นิทานใหสอดคลองกับเนื้อเรื่อง
2. วาดภาพประกอบเนื้อหาตามจินตนาการและความสามารถ บริเวณใตชื่อเรื่อง
3. การเขียนใหคํานึงถึงคะแนนการประเมินตามที่กําหนด
4. นําผลงานใหผูปกครองแสดงความคิดเห็น ติชม หรือใหกําลังใจ

                                               นิทานเรื่อง………………………………………….




…………………………………………………………………………………………………………………………………… .
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
                รายการประเมิน       คะแนน ได หมายเหตุ
    ใชคําถูกตองตามที่กําหนด     8
    เนื้อหาชวนอาน มีคติสอนใจ     4
    มีความคิดสรางสรรค           4
    ภาพประกอบสวยงามเหมาะสม        4
                              รวม 20

ความคิดเห็นของผูปกครอง.
…………………………………………………………………………………………………………………………….
แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547
หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 4 สรางคําหลากหลาย เวลา 3 ชั่วโมง

1. สาระการเรียนรู การสรางคําในภาษาไทยมีทั้งสรางโดยกําหนดขึ้นมาใหม นําคําที่ใชอยูกอนแลวมา
   ประสมกัน การเรียนรูเรื่องการสรางคําอันประกอบดวย คํามูล คําซํ้า คําซอนและคําประสม จะทําให
   นักเรียนตระหนักและเห็นคุณคาภาษาไทยยิ่งขึ้น
2. ผลการเรียนรู
    นักเรียนอธิบายหลักเกณฑการสรางคําซํ้า คําซอน คําประสมและยกตัวอยางได
3. เนื้อหา
   คําซํ้า คําซอน คําประสม
4. กระบวนการจัดการเรียนรู
คาบที่ 1
   4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม และปูความรูพื้นฐาน นักเรียนอานนิทานครอบครัวหลักภาษา ซึ่ง
        ประกอบดวยคุณซํ้า คุณซอน และคุณประสม เมื่อนักเรียนอานจบใหบอกวาแตละครอบครัวมีใคร
        บางแตละคนมีลักษณะอยางไร
   4.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
   4.3 ครูเชือมโยงความรูของนักเรียนโดยเฉลยครอบครัวและพฤติกรรมของตัวละครในนิทาน
                 ่
   4.4 แบงนักเรียนออกเปน 3 ครอบครัวแตละครอบครัว ใหสงตัวแทนไปศึกษายังสํานักตักศิลา 3 แหงคือ
        อาศรมซําเติม อาศรมซอนแผน และอาศรมประสมโรง และใหมคนเฝาบานอยูดวย
                   ้                                                   ี
   4.5 เมือสมาชิกของครอบครัวไปศึกษาสําเร็จกลับมาใหแตละครอบครัวออกไปนั่งเปนวงกลมสมาชิกใน
           ่
        ครอบครัวเลาสิ่งที่ไปศึกษาใหสมาชิกฟงทีละครอบครัว ทําจนครบทุกครอบครัว
   4.6 สมาชิกที่รออยูที่บานรับฟงคนอื่นเลาแลวจดบันทึกขอมูล แลวออกไปเลาสิ่งที่ตัวเองรับฟงมาใหท้ง 3
                                                                                                       ั
        ครอบครัวฟง
   4.7 ครูสงเกตประเมินความรูความเขาใจของนักเรียน
             ั
คาบที่ 2
   4.8 ครูอธิบายใหความรูเรื่องคําซํ้า คําซอน และคําประสมเพื่อทบทวนเติมเต็มใหกบนักเรียนอีกครั้ง
                                                                                    ั
   4.9 นักเรียนอานตัวอยางคําทั้ง 3 ลักษณะจากใบความรู 1 จบ แลวเก็บใบความรูไว
   4.10นักเรียนนั่งเปนวงกลม ครูไปยืนหยุดอยูแลวใหนักเรียนบอกคําที่ครูกาหนดเชน คําซํ้า นักก็บอกวา
                                                                         ํ
   เร็ว ๆ คําซอน นักเรียนก็บอกวา เจ็บไขไดปวย คําประสม ก็บอกวา แมทัพ ฯลฯ
   4.11นักเรียนเขียนนิทานหลักภาษาขนาดสั้นใหมีคําซํ้า คําซอน และคําประสมตามที่กําหนดในใบงาน
คาบที่ 3
   4.12 นักเรียนนําเสนอผลงานการแตงนิทานหลักภาษา โดยการเลาใหเพื่อนฟงที่หนาชั้นทีละคน
   4.13 เพือนรวมกันโหวตใหคะแนนวาของใครแตงไดถูกตอง เรื่องสนุกนาสนใจที่สุด
               ่
   4.14 นักเรียนทบทวนความรูโดยครูใชคาถามนํา ํ
4.15 นักเรียนนํานิทานของตนไปพิมพลงกระดานโหวตเพื่อใหบุคคลภายนอกเขามาอานแลวโหวตให
         คะแนน
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค
   ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน ความสามัคคี

6. การวัดและประเมินผล
   สังเกตความความกระตือรือรน กระบวนการเรียนรู และชิ้นงานการเขียนนิทานหลักภาษา
                                             แบบประเมินนิทาน
                            รายการ                  คะแนนเต็ม คะแนนที่ได         หมายเหตุ
          ใชคําถูกตองตามกําหนด                   6
          นิทานสนุกนาสนใจมีคติ                    3
          มีจินตนาการความคิดสรางสรรค             3
          ชื่อและภาพประกอบสอดคลองกับเรื่อง        3
                                            รวม 15


7. สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน เกม นิทาน ใบความรู

8. กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

9. บันทึกหลังสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
10. ความเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู
         รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู       มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่
                                                   5          4   3       2    สุด 1
     1. ความรูที่ไดรับ
     2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน
     3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู
อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
11. ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย
                                       ี

……………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบงานวิชาภาษาไทย 1 ท 031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
                            แผนการเรียนรูหนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน แผนที่ 4 การสรางคํา
คําชี้แจง
1. ใหนักเรียนเขียนนิทานขนาดสั้น ๆ ประมาณ 5 – 7 บรรทัด ในนิทานใหมีคําซํ้าอยางนอย 7 คํา คําซอน อยางนอย 8 คํา
      คําประสมอยางนอย 10 คํา ที่คําซํ้าใหขีดเสนใตดวยปากกาสีแดง คําซอน ขีดเสนใตดวยปากกาสีนํ้าเงิน คําประสมใหขีด
      เสนใตดวยดินสอ พรอมตั้งชื่อเรื่องนิทานใหสอดคลองกับเนื้อเรื่อง
2. วาดภาพประกอบเนื้อหาตามจินตนาการและความสามารถ บริเวณใตชื่อเรื่อง
3. การเขียนใหคํานึงถึงคะแนนการประเมินตามที่กําหนด
4. นําผลงานใหผูปกครองแสดงความคิดเห็น ติชม หรือใหกําลังใจ

                                             นิทานเรื่อง………………………………………….




 ……………………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
                                       ……………………………………….
                       รายการประเมิน           คะแนน ได หมายเหตุ
         ใชคําถูกตองตามที่กําหนด           6
         เนื้อหาสนุกนาสนใจ มีคติสอนใจ       3
         มีจินตนาการและความคิดสรางสรรค     3
         ชื่อเรื่องและภาพประกอบสอดคลอง      3
                                         รวม 15
ความคิดเห็นของผูปกครอง.
…………………………………………………………………………………………………………………………….
แ ารเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547
ผ
น
ก
า
ร
จ
ัด
 ก
หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 5 อธิบายลักษณะคําไทย เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ ภาษาไทยเปนวัฒนธรรมทีบงบอกถึงเอกลักษณะของความเปนชาติ แตการติดตอสื่อสารกับ
                                       ่
   ชาติตาง ๆ ทังดานการคาและศาสนาทําใหไทยตองคิดคําและยืมคํามาใช ซึ่งคําที่นํามาใชนั้นแตกตางกับ
              ้
   คําทีเปนภาษาไทยแท นักเรียนซึ่งคนไทยมีหนาที่ในการสืบทอดและเผยแพรวัฒนธรรมควรไดมีความรู
        ่
   ความเขาใจในเรื่องนี้
2. ผลการเรียนรู
    บอกลักษณะของคําไทยแทและยกตัวอยางได
3. เนื้อหา
   ลักษณะของคําไทยแท

4. กระบวนการจัดการเรียนรู
คาบที่ 1
   4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม และพัฒนาทักษะทางการคิด เลมเกมฉันเปนคนไทย นักเรียนยืนเปน
       วงกลม แลวเอยชื่อสินคาหรือขนมมาคนละ 1 ชนิด ครูสังเกตวาสิ่งที่นักเรียนบอกมานั้นเปนคําไทย
       แทหรือไม ของใครมีลักษณะเปนภาษาอื่นตาย ปรบมือใหกับนักเรียนที่ยกคําไดถูกตอง
   4.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
   4.3 นักเรียนอานลักษณะของคําไทยแทจากแบบเรียน ซี่งมีประเด็นดังนี้
         4.3.1 คําไทยแทมักเปนคําพยางคเดียว
         4.3.2 คําไทยแทมักมีตัวสะกดตรงตามมาตรา
         4.3.3 คําไทยแทไมมีการเปลี่ยนรูปคําเพื่อแสดงลักษณะทางไวยากรณ
         4.3.4 คําไทยแทมักมีรูปวรรณยุกตกํากับ
         4.3.5 คําไทยแทมักมีลักษณะนามใช
         4.3.6 คําไทยแทไมนิยมตัวการันต
         4.3.7 คําไทยแทไมนิยมใชพยัญชนะบางตัวที่เขียนยาก
         4.3.8 คําไทยแทนิยมใชไมมวน
   4.4   แบงกลุมนักเรียนเปน 3 กลุม แตละกลุมรวมกันออกแบบวิธีการจํากฏเกณฑลักษณะคําไทยแทใหงายแกการจดจํา
         เชน เรียบเรียงเปนกลอน คําคลองจอง หรือเพลง
   4.5   ตัวแทนนักเรียนแตละกลุมออกมานําเสนอหนาหอง
   4.6   ใหนักเรียนรวมกันโหวตวาวิธีการของใครจํางายที่สุด
   4.7    นักเรียนทองจํากฎเกณฑตามกลุมที่ชนะ

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค
   ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน
6. การวัดและประเมินผล
   สังเกตกระบวนการในการทํางาน การวิเคราะหออกแบบหลักการจําลักษณะคําไทยแท
7. สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน

8. กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
9. บันทึกหลังสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

10. ความเห็นของนักเรียนที่มตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู
                           ี 
        รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู
                                                 มากที่สุด    มาก    ปานกลาง นอย นอยที่
                                                 5            4       3        2     สุด 1
    1. ความรูที่ไดรับ
    2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน
    3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู

  อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
11. ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย
                                       ี

……………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547
หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 6 ไขคํานําภาษาอื่นเขา เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ ภาษาไทยเปนวัฒนธรรมที่บงบอกถึงเอกลักษณะของความเปนชาติ แตการติดตอสื่อสารกับ
   ชาติตาง ๆ ทังดานการคาและศาสนาทําใหไทยตองคิดคําและยืมคํามาใช ซึ่งคําที่นํามาใชนั้นแตกตางกับ
              ้
   คําทีเปนภาษาไทยแท นักเรียนซึ่งคนไทยควรแยกแยะไดวาคําไทยแทคําไหนเปนที่นํามาจากภาษาอื่น
        ่
2. ผลการเรียนรู
     บอกลักษณะขอสังเกตคําภาษาตางประเทศที่ปรากฏในภาษาไทยและยกตัวอยางได
3. เนื้อหา
   3.1 เหตุผลที่มีการนําภาษาอื่นมาใช
  3.2 ภาษาบาลีสันสกฤต
  3.3 ภาษาเขมร
  3.4 ภาษาจีน

4. กระบวนการจัดการเรียนรู
คาบที่ 1
    4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม และพัฒนาทักษะทางการคิด นักเรียนยืนเปนวงกลม แลวคิดหาคําที่
        นักเรียนหรือคนในสังคมใชสื่อสารในชีวิตประจําวันบอกครูมาคนละ 1 คํา เมื่อนักเรียนบอกครูเฉลย
        วาถูกตองหรือไม ครูสังเกตคําที่นักเรียนยกตัวอยางมาวาสวนใหญเปนคําภาษาใด
    4.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
    4.3 นักเรียนอานเนื้อหาความรูเรื่อง ลักษณะคําภาษาบาลี คําภาษาเขมร คําภาษาจีน
    4.4 ครูอธิบายใหความรูพรอมยกตัวอยางนอกเหนือจากเนื้อหาในหนังสือ
    4.5 นักเรียนจัดทําตารางวิเคราะหเปรียบเทียบขอสังเกตลักษณะภาษาไทยภาษาตางประเทศ แลวรวมกันวิเคราะห สรุป
        เขียนใสตารางในสมุด ดังนี้
           ลักษณะภาษาไทย                   ภาษาบาลีสันสกฤต          ภาษาเขมร        ภาษาจีน




    4.6 นักเรียนตั้งขอสังเกตจากลักษณะคําและตัวอยางคําภาษาตางประเทศ แลวนําความรูมาวิเคราะหถึงเหตุผลที่มีภาษา
        ตางประเทศเขามาปะปนในภาษาไทย
4.7 นักเรียนทบทวนความรูลักษณะขอสังเกตของภาษาบาลีสันสกฤต เขมร และจีน โดยครูใชคําถามนํา

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค
   ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน ความสามารถในการคิดวิเคราะหเขียน

6. การวัดและประเมินผล
    สังเกตความสามารถในการยกตัวอยาง ความสามารถในการคิดวิเคราะหลักษณะขอสังเกตลงตาราง
7. สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน ขอความ ถอยคําในประจําวัน

8. กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
9. บันทึกหลังสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

10. ความเห็นของนักเรียนที่มตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู
                           ี 
        รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู      มากที่สุด        มาก    ปานกลาง นอย นอยที่
                                                 5                4       3            2       สุด 1
    1. ความรูที่ไดรับ
    2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน
    3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู

  อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
11. ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย
                                       ี

……………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547
หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 7 เฝาสังเกตคําเปนคําตาย เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระการเรียนรู การเรียนรูเรื่องคําเปนคําตาย จะทําใหนักเรียนสามารถนําความรูไปใชในการผัน
   วรรณยุกตและการแตงคําประพันธ
2. ผลการเรียนรู
     จําแนกคําเปนคําตายและนําความรูไปใชในการผันวรรณยุกตได
3. เนื้อหา
   ลักษณะของคําเปน คําตาย
4. กระบวนการจัดการเรียนรู
   4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม และตรวจสอบความรู ใหนักเรียนยืนเปนวงกลม ยกตัวอยาง อักษร สระ หรือคํา ที่ครู
   กําหนดมาคนละ 1 คํา ลักษณะคําถามเชน
        จงบอกสระเสียงสั้น
        จงบอกสระเสียงยาว
        จงบอกตัวสะกดในแมกก แมกด แมกบ แมกง แมกน แมกม แมเกอย แมเกอว
   4.1 ครูสังเกตวานักเรียนโดยรวมมีความรูหรือไม กลาวชมเชยนักเรียนทุกคนที่รวมกิจกรรมดวยดี
   4.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
   4.3 นักเรียนเรียนรูโดยการสังเกต ครูเขียนคําเปนและคําตายอยางละ 5 ซึ่งมีลักษณะแตกตางกันลงบนกระดาน แลวให
         นักเรียนสังเกตวา ที่ครูบอกวาเปนคําเปนและคําตายนั้น สังเกตอยางไร นักเรียนคนใดบอกไดใหออกมาเขียนขอ
         สังเกตบนกระดานคนละ 1 ขอ แลวใหนักเรียนทุกคนรวมกันพิจารณาวาถูกตองหรือไม
   4.4 ครูสังเกตวานักเรียนสามารถบอกไดครอบคลุมหรือไม ถาไมใหใชคําถามนํา หรือยั่วใหนักเรียนคนพบ หากนัก
         เรียนตอบไดครอบคลุม ครูอธิบายซํ้าอีกครั้งหนึ่ง
   4.6 ครูอธิบายการนําความรูเรื่องคําเปน คําตายไปใช ในกรณีการผันวรรณยุกตและการแตงคําประพันธ
   4.7 ยํ้าความรู โดยเลนเกม แบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม นักเรียนนั่งลอมวง แตละกลุมสงตัวแทนมา กลุมละ 1 คน เมื่อ
        ครูบอกคําใดไปใหบอกวาเปนหรือตาย ใครบอกกอนไดคะแนน 1 แตม พรอมเชลย 1 คน คะแนนและเชลยของใคร
        มากที่สุด กลุมนั้นคือผูชนะ

5 คุณลักษณะอันพึงประสงค
  ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน ความกระตือรือรนรวมกิจกรรมการเรียนรู

6 การวัดและประเมินผล
  สังเกตความสามารถในการตอบคําถาม ความสามารถในการยกตัวอยาง และการเลนเกม

7 สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน ครู เพลง รักเธอที่หนาประตู

8 กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
9 บันทึกหลังสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

10 ความเห็นของนักเรียนที่มตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู
                          ี 
       รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู
                                                มากที่สุด    มาก   ปานกลาง นอย นอยที่
                                                5            4      3        2     สุด 1
    1. ความรูที่ไดรับ
    2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน
    3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู

  อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
11 ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย
                                      ี

……………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547
หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 8 คํา 7ชนิดขยายใหเรียนรู เวลา 3 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ คํามี 7 ชนิด คือ คํานาม สรรพยาม กริยา วิเศษณ บุรพบท สันธาน และอุทาน ในการสื่อ
   สาร คําเปนสวนหนึ่งของประโยค คําแตละชนิดมีหนาที่และการวางในตําแหนงที่ตางกัน เมื่อนักเรียนมี
   ความรูความเขาใจในเรื่องชนิดของคํา จะทําใหนักเรียนสามารถเรียบเรียงประโยคในการสื่อสารไดถูกตอง
          
2. ผลการเรียนรู
   2.1 สืบคนแหลงเรียนรูเรื่องชนิดของคําได
   2.2 จําแนกคําทั้ง 7 ชนิดได
   2.3 บอกหนาที่ของคําในประโยคได
.
3. เนื้อหา
   ชนิดของคํา ไดแก คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ คําบุรพบท คําสันธาน และคําอุทาน
4. กระบวนการจัดการเรียนรู
คาบที่ 1
   4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม และตรวจสอบความรูเดิม นักเรียนยืนเปนวงกลม ครูเดินไปหยุดที่ นักเรียนแลวบอกให
   นักเรียนยกตัวอยางคําที่กําหนด โดยไมใหซํ้ากัน เชน ยกตัวอยาง คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําบุรพบท คําสันธาน
   และคําอุทาน คนละ 1 คํา ครูสังเกตวานักเรียนสามารถยกตัวอยางไดถูกตองหรือไม
   4.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนกเรียนทราบ
                                       ั
   4.3 นักเรียนสืบคนแหลงเรียนรูและสรุปเนื้อหาเรื่องชนิดของคําจากอินเตอรเน็ตลงสมุด
   4.4 ครูประเมินผลทักษะการสืบคนขอมูล
คาบที่ 2
    4.5 ครูแจงผลการประเมินการสืบคนขอมูลในคาบที่ผานมา
    4.6 ครูอธิบายใหความรูเรื่องคําทั้ง 7 ชนิด พรอมใชคําถามนํา นักเรียนตอบคําถามโดยอาศัยความรูจากอานเนื้อหาที่สืบ
        คนจากใบงานและแบบเรียน
กิจกรรมพัฒนาความรู ความคิด และการทํางานรวมกัน
    4.7 นักเรียนจัดเกมถอดรหัสคํา โดยซอนคํานาม คําสรรพนาม และคํากริยา ไวในตาราง แลวใบคําโดยใชเลขรหัสแนว
        นอนและแนวตั้ง โดยใหมีคํานาม คําสรรพนาม คํากริยา วิเศษณ บุพบท สันธาน อุทาน ปะปนอยูในตาราง
    4.8 นักเรียนทบทวนความรูแลวรวมกันทําเกม
คาบที่ 3
    4.9 นักเรียนนําผลงานแลกเปลี่ยนกับเพื่อนกลุมอื่น ถอดรหัสคําและนําคําที่ถอดรหัสแลวไปใสใหถูกตอง
    4.10นักเรียนเลนเกมถอดรหัสคํา
    4.11เจาของผลงานเฉลยและประเมินผลโดยใหผูเฉลยอธิบายหนาชั้น
    4.12ครูสังเกตพฤติกรรมในการเรียนรูและการเลนเกม
4.13 กิจกรรมสรางความคงทนในการเรียนรู แบงนักเรียนออกเปน 5 กลุม แขงขันกันแตงประโยคในกระดาษ A4
    โดยเรียงลําดับคําที่กําหนดมาให โดยครูกําหนดคําใหทีละขอ กลุมไหนเสร็จกอนใหนําผลงานไปติดไวกับกระดาน ครู
    เขียนหมายเลขตามลําดับ แลวใหทุกคนรวมกันพิจารณาความถูกตองของ แตละกลุม ลักษณะคําที่กําหนดใหมีดังนี้
                  1) คํานาม คํากริยา คําวิเศษณ
                  2) คํานาม คําวิเศษณ คํากริยา คํานาม
                  3) คํานาม คํากริยา คํานาม คําบุพบท คํานาม
                  4) คํานาม คํานาม คําวิเศษณ คํากริยา คําวิเศษณ คําวิเศษณ
                  5) คําอุทาน คําสรรพนาม คําบุรพบท คํานาม คํากริยา คําวิเศษณ
                  6) คําสรรพนาม คําวิเศษณ คํากริยา คําวิเศษณ คําบุพบท คําสรรพนาม
   4.15 ครูสังเกตวานักเรียนสามารถประเมินผลถูกตองหรือ ครูอธิบายสิ่งที่ถูกตอง
   4.16 นักเรียนสรุปทบทวนความรูโดยครูใชคําถามนํา

5 คุณลักษณะอันพึงประสงค
  ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน ความซื่อสัตยในการสืบคนขอมูล การทํางานรวมกับผูอื่น

6 การวัดและประเมินผล
  วัดทักษะการสืบคนขอมูล ตามแบบประเมิน สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู กระบวนการสรางองคความรู
                 แบบประเมินการสืบคนขอมูลและสรุปเนื้อหาเรื่อง ชนิดของคําจากInternet

                     รายการ                         คะแนนเต็ม          คะแนนที่ได           หมายเหตุ
1. ความสําเร็จของงานที่สืบคน                           4
2. มารยาทในการสืบคน                                    2
3. ความมุงมั่นเอาใจใสในการสืบคน                      2
4. ความถูกตองของผลงาน                                  2
รวม                                                    10
                   แบบประเมินกิจกรรมพัฒนาความรู ความคิด และการทํางานรวมกัน
                รายการ                          ดีมาก          พอใช        ปรับปรุง             หมายเหตุ
ความสําเร็จและความถูกตองของงาน
การใหความรวมมือในการทํางาน
ความคิดสรางสรรค
                               สรุปผล
7 สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน ใบงาน แหลงเรียนรูทางอินเตอรเน็ต

8 กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
9 บันทึกหลังสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

10 ความเห็นของนักเรียนที่มตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู
                          ี 
       รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู
                                                มากที่สุด    มาก   ปานกลาง นอย นอยที่
                                                5            4      3        2     สุด 1
    1. ความรูที่ไดรับ
    2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน
    3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู

  อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
11 ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย
                                      ี

……………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบงานวิชาภาษาไทย 1 ท 031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
                               แผนการเรียนรูหนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน แผนที่ 8 ชนิดของคํา
คําชี้แจง ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเรื่องชนิดของคําจากอินเตอรเน็ต แลวสรุปเนื้อหาลงในใบงานนี้ โดยมีวธการดังนี้
                                                                                                   ิี
1. สืบคนคําวา ชนิดของคํา คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ คําบุรพบท คําสันธาน และอุทาน จาก
      www.google.co.th
2. เขียนเว็บไซต (Address) ที่คนพบและเนื้อหาโดยสังเขป ลงสมุดในรูปแบบดังนี้
      ผลการสืบคนคําวา ชนิดของคํา พบที่ www………………………………………………………………
      ไดรับความรูโดยสังเขปดังนี้
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      ผลการสืบคนคําวา คํานาม พบที่ www………………………………………………………………
      ไดรบความรูโดยสังเขปดังนี้
           ั
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      ผลการสืบคนคําวา คําสรรพนาม พบที่ www………………………………………………………………
      ไดรับความรูโดยสังเขปดังนี้
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      ผลการสืบคนคําวา คํากริยา พบที่ www………………………………………………………………
      ไดรับความรูโดยสังเขปดังนี้
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………………………………………………
      ผลการสืบคนคําวา คําวิเศษณ พบที่ www………………………………………………………………
ใบงาน
ใบงาน
ใบงาน
ใบงาน

More Related Content

What's hot

1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)Tongsamut vorasan
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1Teacher Sophonnawit
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2teerachon
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑panjit
 
เฉลยข้อสอบภาษาจีน
เฉลยข้อสอบภาษาจีนเฉลยข้อสอบภาษาจีน
เฉลยข้อสอบภาษาจีนKhun Aoy Sommana
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้Waraporn Phimto
 

What's hot (14)

1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
 
Chi p.1
Chi p.1Chi p.1
Chi p.1
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
เฉลยข้อสอบภาษาจีน
เฉลยข้อสอบภาษาจีนเฉลยข้อสอบภาษาจีน
เฉลยข้อสอบภาษาจีน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
พยัญชนะภาษาจีน
พยัญชนะภาษาจีนพยัญชนะภาษาจีน
พยัญชนะภาษาจีน
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 

Similar to ใบงาน

ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)Tongsamut vorasan
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)Wataustin Austin
 
บาลี 14 80
บาลี 14 80บาลี 14 80
บาลี 14 80Rose Banioki
 
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)Tongsamut vorasan
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมpong_4548
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)Nok Yaowaluck
 
วิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าวิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าNok Yaowaluck
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
Foreign55
Foreign55Foreign55
Foreign55krutip
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติSutat Inpa
 

Similar to ใบงาน (20)

ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลีประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
บาลี 14 80
บาลี 14 80บาลี 14 80
บาลี 14 80
 
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
 
วิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าวิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊า
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
Foreign55
Foreign55Foreign55
Foreign55
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 

ใบงาน

  • 1. แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547 หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน เวลา 15 ชั่วโมง แผนผังแนวคิด สระแทมี 18 เสียง เสียงสั้น 9 เสียงยาว 9 เสียงในภาษา สระ สระประสม 6 และสระที่มีเสียงพยัญชนะประสม พยัญชนะ วรรณยุกต 8 เสียง พยัญชนะมี 44 รูป 21 เสียง วรรณยุกตมี 4 รูป 5 เสียง สนุกกับมาตรา มาตราสะกดมี 8 มาตรา คือ แม กก กด กบ กง กน กม เกอย และ เกอว อักษรควบคืออักษร ร ล ว ควบอักษรกลาง สูง ตํ่า อักขราควบ-นํา ในตําแหนงพยัญชนะตน เชน กร กล กว ขร ขล ขว คร คล คว ตร ปร ปล พร พล ผล หลักภาษา เบื้องตน สรางคําหลากหลาย การสรางคํามีหลายรูปแบบตั้งแต คํามูล คําประสม คําซํ้า คําซอน อธิบายลักษณะ คํา คําไทยมีลักษณะเปนคําโดด พยางคเดียว สะกด ไทย ตรงตามมาตรา คือ แม กก ใช ก แมกด ใช ด แมกบ ใช บ เมือมีการติดตอสื่อสารกันทางศาสนาและการคา ่ ไขคํานําภาษาอื่นเขา จึงมีการนําภาษาอื่นเขามาใช หลักสังเกตเบื้องตน มีหลายพยางค สะกดไมตรงตามมาตรา ฯลฯ ความรูเรื่องคําเปน คําตาย จะนําไปใชในการผัน  เฝาสังเกตคําเปน – คํา วรรณยุกตและการแตงคําประพันธ คําเปนประสม ตาย สระเสียงยาวในแม ก กา หากสะกด จะสะกดดวย กง กน กม เกอย และเกอว คําตายประสมสระเสียง สั้น และสกดดวย แม กก กด และกบ คํา 7 ชนิดขยาย คํามี 7 ชนิด คือ คํานาม สรรพนาม กริยา บุรพบท ใหเรียนรู สันธานและ อุทาน ตรวจประเมินดูสัมฤทธิ์ กิจกรรมตรวจสอบความรูจากการเรียนรูของ ผล นักเรียนตรวจสอบโดยการเลนเกม พูดอภิปราย ฯลฯ
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547 หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 1 เสียงในภาษา เวลา 3 ชั่วโมง 1. สาระสําคัญ เสียงในภาษาไทยประกอบดวยเสียงพยัญชนะ สระและวรรณยุกต เปนความรูขั้นพื้นฐานของ การเรียนหลักภาษาไทย เมื่อนักเรียนมีความรูความเขาในเรื่องดีแลวจะทําใหนักเรียนเขียนสะกดคําถูก ตอง และสามารถนําความรูนี้ไปเรียนรูเรื่องพยางค คํา ประโยคในระดับสูงได 2. ผลการเรียนรู นักเรียนจําแนกประเภทของเสียงสระ เสียงพยัญชนะ และเสียงวรรณยุกตได 3. เนื้อหา เสียงในภาษา เสียงในสระ เสียงพยัญชนะ และเสียงวรรณยุกต 4. กระบวนการจัดการเรียนรู คาบที่ 1-2 4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม ใหนักเรียนยืนเปนวงกลม บอกอักษรไทยตั้ง แต ก – ฮ คนละ 1 ตัว ในเวลารวดเร็ว ใครบอกชาหรือบอกซํ้ากับเพื่อน ตาย รอบตอไปบอกเสียงสระคนละ 1 ตัว ปรบมือใหกบผูทีสามารถทําไดถูกตอง ั 4.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ 4.3 ครูตรวจสอบความรูพื้นฐานของนักเรียนโดยถามความรูพื้นฐานในประเด็นตอไปนี้ 4.3.1 อักษรไทยมีก่รปกี่เสียง ีู 4.3.2 สระแทมีกี่เสียง 4.3.3 จงยกตัวอยางสระแทเสียงสั้น 4.3.4 จงยกตัวอยางสระแทเสียงยาว 4.3.5 จงบอกเสียงวรรณยุกตของชื่อเลนของตัวเอง 4.4 นักเรียนเลื่อนโตะเรียนออกใหเหลือพื้นที่วางตรงกลาง นักเรียนนั่งลอมวงเปนวงกลมโดยเรียงลําดับเลขที่ 1- 25 นํา อุปกรณการเรียนเชน ปากกา ไมบรรทัด ยางลบไวดานหนา คนละ 3 ชิ้น 4.5 นักเรียนอานทําความเขาใจเรื่อง เสียงสระแท 18 เสียง 9 คู และสระประสม 3 เสียง ในเวลา 10 นาที 4.6 ครูอธิบายเรื่องเสียงในภาษาไทย ประกอบดวย 3 เสียง คือเสียงพยัญชนะ สระ(สระแท สระประสม) และวรรณยุกต 4.7 นักเรียนบอกเสียงของสระ พยัญชนะ และวรรณยุกตในลักษณะตอไปนี้ 4.7.1 บอกเสียงสระแท คนละ 1 ตัว เมื่อสระแทหมดคนตอไปใหบอกเสียงสระประสม 4.7.2 บอกเสียงพยัญชนะ ก ข ง จ ช ซ - ฮ ตามลําดับ 4.7.3 บอกเสียงวรรณยุกตของชื่อเลนตนเอง นักเรียนคนใดตอบผิด 1 ครั้ง นําอุปกรณของตนเองมาวางไวกลางวง เมื่อถามครบประเด็น ให นักเรียนนับ อุปกรณของตัวเอง ใครเหลืออุปกรณครบเปนผูชนะ 4.8 ครูสังเกตการตอบของนักเรียนบันทึกนักเรียนที่ตอบไมได อธิบายใหความรู
  • 3. คาบที่ 3 4.9 นักเรียนแสดงความรูเดิมเรื่องรูปและเสียงของวรรณยุกต โดยใหนักเรียนอาสาพูดอธิบายความรูเรื่องเสียงของ วรรณยุกตตามที่ตนเองเคยเรียนหรือเคยรูมา เชน 4.9.1 วรรณยุกตมี 4 รูป 5 เสียง 4.9.2 อักษรกลางคําเปนผันไดครบ 5 เสียง 4.9.3 คําตายทุกคําไมมีเสียงสามัญ 4.9.4 อักษรตํ่าคําตายเสียงสั้นพื้นเสียงเปนเสียงตรี 4.10 ครูอธิบายใหนักเรียนสังเกตเห็นหลักการผันวรรณยุกตของอักษร 3 หมู 4.11 นักเรียนยืนเปนวงกลมผันเสียงวรรณยุกตชื่อเลนของตนเอง แลวบอกครูเรียงตามลําดับ ครูสังเกตวามีนักเรียนคน ไหนบางที่ผันชื่อเลนตัวเองไมได 4.12 นักเรียนสังเกตเสียงวรรณยุกตในชื่อจริงของนักเรียนเอง แลวใหวิ่งเขากลุมเสียงที่ครูบอก เชน 4.12.1 ใครมีชื่อเสียงสามัญออกมา (ใหนักเรียนบอกคําที่เปนเสียงสามัญ) 4.12.2 ใครมีชื่อเสียงเอกออกมา (ใหนักเรียนบอกคําที่เปนเสียงเอก) 4.12.3 ใครมีชื่อเสียงโทออกมา (ใหนักเรียนบอกคําที่เปนเสียงโท) 4.12.4 ใครมีช่ือเสียงตรีออกมา (ใหนักเรียนบอกคําที่เปนเสียงตรี) 4.12.5 ใครมีชื่อเสียงจัตวาออกมา (ใหนักเรียนบอกคําที่เปนเสียงจัตวา) 4.13 ครูสังเกตและบันทึกขอมูล 4.14 ครูอธิบายใหความรูเรื่อง รูป เสียง และหลักการผันวรรณยุกตใหนักเรียนฟง 4.15 นักเรียนรวมรองเพลงและบอกเสียงวรรณยุกตของคําในเนื้อเพลง 4.16 แบงนักเรียนเปน 2 กลุม แตละกลุมสงตัวแทนออกมาแขงขันบอกเสียงวรรณยุกต เมื่อครูเอยคําใดออกมาใหนักเรียน ตัวแทนบอกเสียงวรรณยุกตในเวลาที่รวดเร็ว ใครบอกกอนได 1 แตม พรอมกับใหเรียกชื่อเพื่อนที่สมาชิกของอีกกลุม หนึ่งมาเปนเชลย สมาชิกของใครหมดกอนเปนฝายแพ 4.17 ทุกคนรวมกันปรบมือใหกับกลุมที่ชนะ 4.18 นักเรียนสรุปความรูเรื่องเสียงในภาษาจดลงสมุด 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน 6. การวัดและประเมินผล สังเกตความสามารถในการตอบคําถาม ความสามารถในการยกตัวอยาง ความสามารถในการผันวรรณยุกต 7. สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน ครู เพลง รักเธอที่หนาประตู 8. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 4. 9. บันทึกหลังสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 10. ความเห็นของนักเรียนที่มตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู ี  รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู  มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่ 5 4 3 2 สุด 1 1. ความรูที่ไดรับ 2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน 3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 11. ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย ี ……………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 5. ใบงานวิชาภาษาไทย 1 ท 031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 แผนการเรียนรูหนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน แผนที่ 1 เสียงในภาษา (พยัญชนะ สระและวรรณยุกต) คําชี้แจง ใหนักเรียนแยกคําในแตละประโยคใสในชองของเสียงวรรณยุกตใหถูกตองดังตัวอยาง ประโยค / เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา 0. ชาตินี้ฉันจําใจจาก จําใจ จาก ชาติ นี้ ฉัน 1. รากพืชแหงแลงมาก 2. เพราะมอสเลิกเสพยา 3. บอกแลววาไมรัก 4. วาดภาพสวยซาบซึ้ง 5. ติด ร วิชาลืม 6. นี่วางสายกอนดิ 7. ผงซักฟอกชื่อแฟบ 8. เจ็บหนักมักเผลอรอง 9. สมุดโนตหมดแลวคะ 10. เขาถูกเพิกถอนชื่อ 11. กระดาษขาดหมดแลว 12. นักรองขาดนองรัก 13. สมเจตนสาปแชงเพื่อน 14. ปอปอกกลวยนํ้าวา 15. หวูดรถดังวูวี้ สรุปผล 15 ขอ นักเรียนทําถูก = ขอ = คะแนน ระดับความสามารถในการผันวรรณยุกต 14-15 ขอ ดีมาก 11 – 13 ดี 8-10 พอใช 5-7ควรปรับปรุง 0-4 ควรปรับปรุงอยางยิ่ง ชือ ……………………………………………..เลขที่ …………………..หอง………………….. ่
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547 หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 2 สนุกกับมาตรา เวลา 1 ชั่วโมง 1. สาระการเรียนรู สาระที่ 4 หลักการใชภาษา มาตรฐาน 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของ ่ ชาติ 2. ผลการเรียนรู รูและเขาใจหลักการใชภาษาโดยสามารถนําความรูและหลักการใชภาษาไปใชและฝกฝนทักษะทางภาษาทั้ง  การฟง การอาน การพูด และการเขียนใหมีประสิทธิภาพและเปนผูใชภาษาไทยไดดี จุดประสงคการเรียนรู บอกมาตราสะกดทั้ง 8 มาตราได 3. เนื้อหา มาตราสะกด แมกก แมกด แม กบ แมกง แมกน แมกม แมเกอว และแมเกอย 4. กระบวนการจัดการเรียนรู 4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม ใหนักเรียนยืนเปนวงกลม เอยคําที่มีตัวสะกดมาคนละ 1 คํา แลวบอกวาคําที่นักเรียน เอยมานั้น สะกดดวยตัวสะกดในมาตราใด เมื่อบอกครบ 1 รอบ ครูสังเกตวามีนักเรียนที่ตอบผิดกี่คน เก็บขอมูล อธิบายแนะนําในกิจกรรมตอมา 4.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ 4.3 ครูอธิบายถึงมาตราสะกด ตําแหนงของตัวสะกดในพยางค ยกตัวอยางตัวสะกดในมาตรานั้น พรอม ยกตัวอยางคําที่สะกดในแตละมาตรา 4.4 นักเรียนนั่งเปนวงกลม ครูเดินไปหยุดหนานักเรียนทีละคนพรอมบอกใหนักเรียนบอกคําที่สะกดดวยคําที่ครูกลาวออก มา คนละ 1 คํา ใครตอบผิด ตองเขามาอยูในวง ลักษณะคํากลาวของครู เชน คําที่สะกดดวย ก คําที่สะกดดวย ข คําที่สะกดดวย ค คําที่สะกดดวย ฆ คําที่สะกดดวย ด คําที่สะกดดวย ต คําที่สะกดดวย จ คําที่สะกดดวย ช คําที่สะกดดวย ซ คําที่สะกดดวย ศ คําที่สะกดดวย ษ คําที่สะกดดวย ส คําที่สะกดดวย ท คําที่สะกดดวย ธ ฯลฯ 4.5นักเรียนรวมกันสังเกตวา จากการยกตัวอยางคําที่สะกดดวยตัวตาง ๆ มา มีอักษรใดบางที่ไมเปนตัวสะกด 4.6 นักเรียนสรุปองคความรู โดยครูใชคาถามนํา เชน ํ ตัวสะกดมี…………..มาตรา แมกก มีตัวสะกดดังนี้……… แมกด มีตัวสะกดดังนี้…………
  • 7. แมกบ มีตัวสะกดดังนี้……….. แมกง มีตัวสะกดดังนี้………… แมกน มีตัวสะกดดังนี้………. แมกม มีตัวสะกดดังนี้……….. แมเกอย มีตัวสะกดดังนี้……. แมเกอว มีตัวสะกดดังนี้…….. 5 คุณลักษณะอันพึงประสงค ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน 6 การวัดและประเมินผล สังเกตความสามารถในการตอบคําถาม ความสามารถในการยกตัวอยาง ความสามารถในการผันวรรณยุกต 7 สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน ครู 8 กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 9 บันทึกหลังสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 10 ความเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่ 5 4 3 2 สุด 1 1. ความรูที่ไดรับ 2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน 3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 8. 11 ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย ี ……………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547 หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 3 อักขราควบ- นํา เวลา 1 ชั่วโมง 1. สาระสําคัญ การเรียนรูเรื่องอักษรนํา อักษรควบ จะทําใหนักเรียนมีความเขาใจความหมายของคํา ออกเสียงและผันวรรณยุกตไดถูกตอง 2. ผลการเรียนรู จําแนกอักษรนํา อักษรควบได 3. เนื้อหา อักษรนํา อักษรควบ 4. กระบวนการจัดการเรียนรู 4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม และตรวจสอบความรูพื้นฐานเรื่องอักษรนําอักษรควบ ใหนักเรียนยืนเปนวงกลม รอบที่ 1 ใหนักเรียนบอกคําควบกลํ้ามาคนละ 1 คํา หามซํ้ากัน ใครซํ้าตายเขาไปอยูในวงเมื่อครบรอบ ปรบมือใหกับผูที่ สามารถยกตัวอยางได 4.2 ครูสํารวจปริมาณนักเรียนที่ยังไมมีความรูในเรื่องนี้ เก็บเปนขอมูลเพื่อการพัฒนา 4.3 นักเรียนกลับเขาสูวงเดิม บอกคําอักษรนําคนละ 1 คํา กติกาเหมือนเดิม เมื่อครบรอบ ปรบมือใหกับผูที่สามารถยก ตัวอยางไดถูกตอง 4.4 ครูสํารวจปริมาณนักเรียนที่ยังไมมีความรูในเรื่องนี้เก็บเปนขอมูลเพื่อการพัฒนา 4.5 ใหนักเรียนอาสาสมัคร พูดอธิบายลักษณะของ อักษรควบกลํ้า และอักษรนํา โดยครูใชคาถามนํา เชน สังเกตได ํ อยางไรวาเปนอักษรควบกลํ้า สังเกตไดอยางไรวาคําคํานี้เปนอักษรนํา 4.6 ใหนักเรียนคนอื่นไดแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม เชนยกตัวอยางคํา ประกอบการอธิบาย 4.7 ครูกลาวชมเชยอาสาสมัคร แลวอธิบาย ลักษณะของ คําควบกลํ้า และคําที่มอักษรนํา ี 4.8 ใหนักเรียนเขียนนิทานที่มีคําบังคับเปนอักษรนํา และอักษร ควบกลํ้า ประกอบภาพตามจินตนาการ 4.9 นักเรียนนําเสนอผลงานโดยใหเพื่อนชวยกันอานแลวคัดเลือกผลงานดีเดนออกมานําเสนอหนาชั้น 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน 6. การวัดและประเมินผล ประเมินผลตามรูปแบบดังนี้ รายการประเมิน คะแนน ได หมายเหตุ ใชคําถูกตองตามที่กําหนด 8 เนื้อหาชวนอาน มีคติสอนใจ 4 มีความคิดสรางสรรค 4 ภาพประกอบสวยงามเหมาะสม 4
  • 10. รวม 20 7. สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน ใบงาน 8. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 9. บันทึกหลังสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 10. ความเห็นของนักเรียนที่มตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู ี  รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่ 5 4 3 2 สุด 1 1. ความรูที่ไดรับ 2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน 3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 11. ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย ี ……………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 11. ใบงานวิชาภาษาไทย 1 ท 031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 แผนการเรียนรูหนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน แผนที่ 3 อักษรควบอักษรนํา คําชี้แจง 1. ใหนักเรียนเขียนนิทานขนาดสั้น ๆ ประมาณ 5 – 7 บรรทัด ในนิทานใหมีคําควบกลํ้า อยางนอย 15คํา คําที่เปนอักษรนํา อยางนอย 10 คํา ที่คําควบกลํ้าใหขีดเสนใตดวยปากกาสีแดง คําอักษรนําขีดเสนใตดวยปากกาสีนํ้าเงิน พรอมตั้งชื่อเรื่อง นิทานใหสอดคลองกับเนื้อเรื่อง 2. วาดภาพประกอบเนื้อหาตามจินตนาการและความสามารถ บริเวณใตชื่อเรื่อง 3. การเขียนใหคํานึงถึงคะแนนการประเมินตามที่กําหนด 4. นําผลงานใหผูปกครองแสดงความคิดเห็น ติชม หรือใหกําลังใจ นิทานเรื่อง…………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………… . …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… รายการประเมิน คะแนน ได หมายเหตุ ใชคําถูกตองตามที่กําหนด 8 เนื้อหาชวนอาน มีคติสอนใจ 4 มีความคิดสรางสรรค 4 ภาพประกอบสวยงามเหมาะสม 4 รวม 20 ความคิดเห็นของผูปกครอง. …………………………………………………………………………………………………………………………….
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547 หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 4 สรางคําหลากหลาย เวลา 3 ชั่วโมง 1. สาระการเรียนรู การสรางคําในภาษาไทยมีทั้งสรางโดยกําหนดขึ้นมาใหม นําคําที่ใชอยูกอนแลวมา ประสมกัน การเรียนรูเรื่องการสรางคําอันประกอบดวย คํามูล คําซํ้า คําซอนและคําประสม จะทําให นักเรียนตระหนักและเห็นคุณคาภาษาไทยยิ่งขึ้น 2. ผลการเรียนรู นักเรียนอธิบายหลักเกณฑการสรางคําซํ้า คําซอน คําประสมและยกตัวอยางได 3. เนื้อหา คําซํ้า คําซอน คําประสม 4. กระบวนการจัดการเรียนรู คาบที่ 1 4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม และปูความรูพื้นฐาน นักเรียนอานนิทานครอบครัวหลักภาษา ซึ่ง ประกอบดวยคุณซํ้า คุณซอน และคุณประสม เมื่อนักเรียนอานจบใหบอกวาแตละครอบครัวมีใคร บางแตละคนมีลักษณะอยางไร 4.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ 4.3 ครูเชือมโยงความรูของนักเรียนโดยเฉลยครอบครัวและพฤติกรรมของตัวละครในนิทาน ่ 4.4 แบงนักเรียนออกเปน 3 ครอบครัวแตละครอบครัว ใหสงตัวแทนไปศึกษายังสํานักตักศิลา 3 แหงคือ อาศรมซําเติม อาศรมซอนแผน และอาศรมประสมโรง และใหมคนเฝาบานอยูดวย ้ ี 4.5 เมือสมาชิกของครอบครัวไปศึกษาสําเร็จกลับมาใหแตละครอบครัวออกไปนั่งเปนวงกลมสมาชิกใน ่ ครอบครัวเลาสิ่งที่ไปศึกษาใหสมาชิกฟงทีละครอบครัว ทําจนครบทุกครอบครัว 4.6 สมาชิกที่รออยูที่บานรับฟงคนอื่นเลาแลวจดบันทึกขอมูล แลวออกไปเลาสิ่งที่ตัวเองรับฟงมาใหท้ง 3 ั ครอบครัวฟง 4.7 ครูสงเกตประเมินความรูความเขาใจของนักเรียน ั คาบที่ 2 4.8 ครูอธิบายใหความรูเรื่องคําซํ้า คําซอน และคําประสมเพื่อทบทวนเติมเต็มใหกบนักเรียนอีกครั้ง ั 4.9 นักเรียนอานตัวอยางคําทั้ง 3 ลักษณะจากใบความรู 1 จบ แลวเก็บใบความรูไว 4.10นักเรียนนั่งเปนวงกลม ครูไปยืนหยุดอยูแลวใหนักเรียนบอกคําที่ครูกาหนดเชน คําซํ้า นักก็บอกวา ํ เร็ว ๆ คําซอน นักเรียนก็บอกวา เจ็บไขไดปวย คําประสม ก็บอกวา แมทัพ ฯลฯ 4.11นักเรียนเขียนนิทานหลักภาษาขนาดสั้นใหมีคําซํ้า คําซอน และคําประสมตามที่กําหนดในใบงาน คาบที่ 3 4.12 นักเรียนนําเสนอผลงานการแตงนิทานหลักภาษา โดยการเลาใหเพื่อนฟงที่หนาชั้นทีละคน 4.13 เพือนรวมกันโหวตใหคะแนนวาของใครแตงไดถูกตอง เรื่องสนุกนาสนใจที่สุด ่ 4.14 นักเรียนทบทวนความรูโดยครูใชคาถามนํา ํ
  • 13. 4.15 นักเรียนนํานิทานของตนไปพิมพลงกระดานโหวตเพื่อใหบุคคลภายนอกเขามาอานแลวโหวตให คะแนน 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน ความสามัคคี 6. การวัดและประเมินผล สังเกตความความกระตือรือรน กระบวนการเรียนรู และชิ้นงานการเขียนนิทานหลักภาษา แบบประเมินนิทาน รายการ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได หมายเหตุ ใชคําถูกตองตามกําหนด 6 นิทานสนุกนาสนใจมีคติ 3 มีจินตนาการความคิดสรางสรรค 3 ชื่อและภาพประกอบสอดคลองกับเรื่อง 3 รวม 15 7. สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน เกม นิทาน ใบความรู 8. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 9. บันทึกหลังสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 10. ความเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่ 5 4 3 2 สุด 1 1. ความรูที่ไดรับ 2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน 3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 15. ใบงานวิชาภาษาไทย 1 ท 031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 แผนการเรียนรูหนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน แผนที่ 4 การสรางคํา คําชี้แจง 1. ใหนักเรียนเขียนนิทานขนาดสั้น ๆ ประมาณ 5 – 7 บรรทัด ในนิทานใหมีคําซํ้าอยางนอย 7 คํา คําซอน อยางนอย 8 คํา คําประสมอยางนอย 10 คํา ที่คําซํ้าใหขีดเสนใตดวยปากกาสีแดง คําซอน ขีดเสนใตดวยปากกาสีนํ้าเงิน คําประสมใหขีด เสนใตดวยดินสอ พรอมตั้งชื่อเรื่องนิทานใหสอดคลองกับเนื้อเรื่อง 2. วาดภาพประกอบเนื้อหาตามจินตนาการและความสามารถ บริเวณใตชื่อเรื่อง 3. การเขียนใหคํานึงถึงคะแนนการประเมินตามที่กําหนด 4. นําผลงานใหผูปกครองแสดงความคิดเห็น ติชม หรือใหกําลังใจ นิทานเรื่อง…………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. รายการประเมิน คะแนน ได หมายเหตุ ใชคําถูกตองตามที่กําหนด 6 เนื้อหาสนุกนาสนใจ มีคติสอนใจ 3 มีจินตนาการและความคิดสรางสรรค 3 ชื่อเรื่องและภาพประกอบสอดคลอง 3 รวม 15 ความคิดเห็นของผูปกครอง. …………………………………………………………………………………………………………………………….
  • 16. แ ารเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547 ผ น ก า ร จ ัด ก หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 5 อธิบายลักษณะคําไทย เวลา 1 ชั่วโมง 1. สาระสําคัญ ภาษาไทยเปนวัฒนธรรมทีบงบอกถึงเอกลักษณะของความเปนชาติ แตการติดตอสื่อสารกับ ่ ชาติตาง ๆ ทังดานการคาและศาสนาทําใหไทยตองคิดคําและยืมคํามาใช ซึ่งคําที่นํามาใชนั้นแตกตางกับ  ้ คําทีเปนภาษาไทยแท นักเรียนซึ่งคนไทยมีหนาที่ในการสืบทอดและเผยแพรวัฒนธรรมควรไดมีความรู ่ ความเขาใจในเรื่องนี้ 2. ผลการเรียนรู บอกลักษณะของคําไทยแทและยกตัวอยางได 3. เนื้อหา ลักษณะของคําไทยแท 4. กระบวนการจัดการเรียนรู คาบที่ 1 4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม และพัฒนาทักษะทางการคิด เลมเกมฉันเปนคนไทย นักเรียนยืนเปน วงกลม แลวเอยชื่อสินคาหรือขนมมาคนละ 1 ชนิด ครูสังเกตวาสิ่งที่นักเรียนบอกมานั้นเปนคําไทย แทหรือไม ของใครมีลักษณะเปนภาษาอื่นตาย ปรบมือใหกับนักเรียนที่ยกคําไดถูกตอง 4.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ 4.3 นักเรียนอานลักษณะของคําไทยแทจากแบบเรียน ซี่งมีประเด็นดังนี้ 4.3.1 คําไทยแทมักเปนคําพยางคเดียว 4.3.2 คําไทยแทมักมีตัวสะกดตรงตามมาตรา 4.3.3 คําไทยแทไมมีการเปลี่ยนรูปคําเพื่อแสดงลักษณะทางไวยากรณ 4.3.4 คําไทยแทมักมีรูปวรรณยุกตกํากับ 4.3.5 คําไทยแทมักมีลักษณะนามใช 4.3.6 คําไทยแทไมนิยมตัวการันต 4.3.7 คําไทยแทไมนิยมใชพยัญชนะบางตัวที่เขียนยาก 4.3.8 คําไทยแทนิยมใชไมมวน 4.4 แบงกลุมนักเรียนเปน 3 กลุม แตละกลุมรวมกันออกแบบวิธีการจํากฏเกณฑลักษณะคําไทยแทใหงายแกการจดจํา เชน เรียบเรียงเปนกลอน คําคลองจอง หรือเพลง 4.5 ตัวแทนนักเรียนแตละกลุมออกมานําเสนอหนาหอง 4.6 ใหนักเรียนรวมกันโหวตวาวิธีการของใครจํางายที่สุด 4.7 นักเรียนทองจํากฎเกณฑตามกลุมที่ชนะ 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน
  • 17. 6. การวัดและประเมินผล สังเกตกระบวนการในการทํางาน การวิเคราะหออกแบบหลักการจําลักษณะคําไทยแท 7. สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน 8. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 9. บันทึกหลังสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 10. ความเห็นของนักเรียนที่มตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู ี  รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู  มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่ 5 4 3 2 สุด 1 1. ความรูที่ไดรับ 2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน 3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 11. ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย ี ……………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547 หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 6 ไขคํานําภาษาอื่นเขา เวลา 1 ชั่วโมง 1. สาระสําคัญ ภาษาไทยเปนวัฒนธรรมที่บงบอกถึงเอกลักษณะของความเปนชาติ แตการติดตอสื่อสารกับ ชาติตาง ๆ ทังดานการคาและศาสนาทําใหไทยตองคิดคําและยืมคํามาใช ซึ่งคําที่นํามาใชนั้นแตกตางกับ  ้ คําทีเปนภาษาไทยแท นักเรียนซึ่งคนไทยควรแยกแยะไดวาคําไทยแทคําไหนเปนที่นํามาจากภาษาอื่น ่ 2. ผลการเรียนรู บอกลักษณะขอสังเกตคําภาษาตางประเทศที่ปรากฏในภาษาไทยและยกตัวอยางได 3. เนื้อหา 3.1 เหตุผลที่มีการนําภาษาอื่นมาใช 3.2 ภาษาบาลีสันสกฤต 3.3 ภาษาเขมร 3.4 ภาษาจีน 4. กระบวนการจัดการเรียนรู คาบที่ 1 4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม และพัฒนาทักษะทางการคิด นักเรียนยืนเปนวงกลม แลวคิดหาคําที่ นักเรียนหรือคนในสังคมใชสื่อสารในชีวิตประจําวันบอกครูมาคนละ 1 คํา เมื่อนักเรียนบอกครูเฉลย วาถูกตองหรือไม ครูสังเกตคําที่นักเรียนยกตัวอยางมาวาสวนใหญเปนคําภาษาใด 4.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ 4.3 นักเรียนอานเนื้อหาความรูเรื่อง ลักษณะคําภาษาบาลี คําภาษาเขมร คําภาษาจีน 4.4 ครูอธิบายใหความรูพรอมยกตัวอยางนอกเหนือจากเนื้อหาในหนังสือ 4.5 นักเรียนจัดทําตารางวิเคราะหเปรียบเทียบขอสังเกตลักษณะภาษาไทยภาษาตางประเทศ แลวรวมกันวิเคราะห สรุป เขียนใสตารางในสมุด ดังนี้ ลักษณะภาษาไทย ภาษาบาลีสันสกฤต ภาษาเขมร ภาษาจีน 4.6 นักเรียนตั้งขอสังเกตจากลักษณะคําและตัวอยางคําภาษาตางประเทศ แลวนําความรูมาวิเคราะหถึงเหตุผลที่มีภาษา ตางประเทศเขามาปะปนในภาษาไทย
  • 19. 4.7 นักเรียนทบทวนความรูลักษณะขอสังเกตของภาษาบาลีสันสกฤต เขมร และจีน โดยครูใชคําถามนํา 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน ความสามารถในการคิดวิเคราะหเขียน 6. การวัดและประเมินผล สังเกตความสามารถในการยกตัวอยาง ความสามารถในการคิดวิเคราะหลักษณะขอสังเกตลงตาราง 7. สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน ขอความ ถอยคําในประจําวัน 8. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 9. บันทึกหลังสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 10. ความเห็นของนักเรียนที่มตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู ี  รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่ 5 4 3 2 สุด 1 1. ความรูที่ไดรับ 2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน 3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 11. ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย ี ……………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547 หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 7 เฝาสังเกตคําเปนคําตาย เวลา 1 ชั่วโมง 1. สาระการเรียนรู การเรียนรูเรื่องคําเปนคําตาย จะทําใหนักเรียนสามารถนําความรูไปใชในการผัน วรรณยุกตและการแตงคําประพันธ 2. ผลการเรียนรู จําแนกคําเปนคําตายและนําความรูไปใชในการผันวรรณยุกตได 3. เนื้อหา ลักษณะของคําเปน คําตาย 4. กระบวนการจัดการเรียนรู 4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม และตรวจสอบความรู ใหนักเรียนยืนเปนวงกลม ยกตัวอยาง อักษร สระ หรือคํา ที่ครู กําหนดมาคนละ 1 คํา ลักษณะคําถามเชน จงบอกสระเสียงสั้น จงบอกสระเสียงยาว จงบอกตัวสะกดในแมกก แมกด แมกบ แมกง แมกน แมกม แมเกอย แมเกอว 4.1 ครูสังเกตวานักเรียนโดยรวมมีความรูหรือไม กลาวชมเชยนักเรียนทุกคนที่รวมกิจกรรมดวยดี 4.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ 4.3 นักเรียนเรียนรูโดยการสังเกต ครูเขียนคําเปนและคําตายอยางละ 5 ซึ่งมีลักษณะแตกตางกันลงบนกระดาน แลวให นักเรียนสังเกตวา ที่ครูบอกวาเปนคําเปนและคําตายนั้น สังเกตอยางไร นักเรียนคนใดบอกไดใหออกมาเขียนขอ สังเกตบนกระดานคนละ 1 ขอ แลวใหนักเรียนทุกคนรวมกันพิจารณาวาถูกตองหรือไม 4.4 ครูสังเกตวานักเรียนสามารถบอกไดครอบคลุมหรือไม ถาไมใหใชคําถามนํา หรือยั่วใหนักเรียนคนพบ หากนัก เรียนตอบไดครอบคลุม ครูอธิบายซํ้าอีกครั้งหนึ่ง 4.6 ครูอธิบายการนําความรูเรื่องคําเปน คําตายไปใช ในกรณีการผันวรรณยุกตและการแตงคําประพันธ 4.7 ยํ้าความรู โดยเลนเกม แบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม นักเรียนนั่งลอมวง แตละกลุมสงตัวแทนมา กลุมละ 1 คน เมื่อ ครูบอกคําใดไปใหบอกวาเปนหรือตาย ใครบอกกอนไดคะแนน 1 แตม พรอมเชลย 1 คน คะแนนและเชลยของใคร มากที่สุด กลุมนั้นคือผูชนะ 5 คุณลักษณะอันพึงประสงค ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน ความกระตือรือรนรวมกิจกรรมการเรียนรู 6 การวัดและประเมินผล สังเกตความสามารถในการตอบคําถาม ความสามารถในการยกตัวอยาง และการเลนเกม 7 สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน ครู เพลง รักเธอที่หนาประตู 8 กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 21. 9 บันทึกหลังสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 10 ความเห็นของนักเรียนที่มตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู ี  รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู  มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่ 5 4 3 2 สุด 1 1. ความรูที่ไดรับ 2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน 3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 11 ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย ี ……………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ท031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2547 หนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน 15 ชั่วโมง แผนที่ 8 คํา 7ชนิดขยายใหเรียนรู เวลา 3 ชั่วโมง 1. สาระสําคัญ คํามี 7 ชนิด คือ คํานาม สรรพยาม กริยา วิเศษณ บุรพบท สันธาน และอุทาน ในการสื่อ สาร คําเปนสวนหนึ่งของประโยค คําแตละชนิดมีหนาที่และการวางในตําแหนงที่ตางกัน เมื่อนักเรียนมี ความรูความเขาใจในเรื่องชนิดของคํา จะทําใหนักเรียนสามารถเรียบเรียงประโยคในการสื่อสารไดถูกตอง  2. ผลการเรียนรู 2.1 สืบคนแหลงเรียนรูเรื่องชนิดของคําได 2.2 จําแนกคําทั้ง 7 ชนิดได 2.3 บอกหนาที่ของคําในประโยคได . 3. เนื้อหา ชนิดของคํา ไดแก คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ คําบุรพบท คําสันธาน และคําอุทาน 4. กระบวนการจัดการเรียนรู คาบที่ 1 4.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม และตรวจสอบความรูเดิม นักเรียนยืนเปนวงกลม ครูเดินไปหยุดที่ นักเรียนแลวบอกให นักเรียนยกตัวอยางคําที่กําหนด โดยไมใหซํ้ากัน เชน ยกตัวอยาง คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําบุรพบท คําสันธาน และคําอุทาน คนละ 1 คํา ครูสังเกตวานักเรียนสามารถยกตัวอยางไดถูกตองหรือไม 4.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนกเรียนทราบ ั 4.3 นักเรียนสืบคนแหลงเรียนรูและสรุปเนื้อหาเรื่องชนิดของคําจากอินเตอรเน็ตลงสมุด 4.4 ครูประเมินผลทักษะการสืบคนขอมูล คาบที่ 2 4.5 ครูแจงผลการประเมินการสืบคนขอมูลในคาบที่ผานมา 4.6 ครูอธิบายใหความรูเรื่องคําทั้ง 7 ชนิด พรอมใชคําถามนํา นักเรียนตอบคําถามโดยอาศัยความรูจากอานเนื้อหาที่สืบ คนจากใบงานและแบบเรียน กิจกรรมพัฒนาความรู ความคิด และการทํางานรวมกัน 4.7 นักเรียนจัดเกมถอดรหัสคํา โดยซอนคํานาม คําสรรพนาม และคํากริยา ไวในตาราง แลวใบคําโดยใชเลขรหัสแนว นอนและแนวตั้ง โดยใหมีคํานาม คําสรรพนาม คํากริยา วิเศษณ บุพบท สันธาน อุทาน ปะปนอยูในตาราง 4.8 นักเรียนทบทวนความรูแลวรวมกันทําเกม คาบที่ 3 4.9 นักเรียนนําผลงานแลกเปลี่ยนกับเพื่อนกลุมอื่น ถอดรหัสคําและนําคําที่ถอดรหัสแลวไปใสใหถูกตอง 4.10นักเรียนเลนเกมถอดรหัสคํา 4.11เจาของผลงานเฉลยและประเมินผลโดยใหผูเฉลยอธิบายหนาชั้น 4.12ครูสังเกตพฤติกรรมในการเรียนรูและการเลนเกม
  • 23. 4.13 กิจกรรมสรางความคงทนในการเรียนรู แบงนักเรียนออกเปน 5 กลุม แขงขันกันแตงประโยคในกระดาษ A4 โดยเรียงลําดับคําที่กําหนดมาให โดยครูกําหนดคําใหทีละขอ กลุมไหนเสร็จกอนใหนําผลงานไปติดไวกับกระดาน ครู เขียนหมายเลขตามลําดับ แลวใหทุกคนรวมกันพิจารณาความถูกตองของ แตละกลุม ลักษณะคําที่กําหนดใหมีดังนี้ 1) คํานาม คํากริยา คําวิเศษณ 2) คํานาม คําวิเศษณ คํากริยา คํานาม 3) คํานาม คํากริยา คํานาม คําบุพบท คํานาม 4) คํานาม คํานาม คําวิเศษณ คํากริยา คําวิเศษณ คําวิเศษณ 5) คําอุทาน คําสรรพนาม คําบุรพบท คํานาม คํากริยา คําวิเศษณ 6) คําสรรพนาม คําวิเศษณ คํากริยา คําวิเศษณ คําบุพบท คําสรรพนาม 4.15 ครูสังเกตวานักเรียนสามารถประเมินผลถูกตองหรือ ครูอธิบายสิ่งที่ถูกตอง 4.16 นักเรียนสรุปทบทวนความรูโดยครูใชคําถามนํา 5 คุณลักษณะอันพึงประสงค ความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา ความตั้งใจในการทําผลงาน ความซื่อสัตยในการสืบคนขอมูล การทํางานรวมกับผูอื่น 6 การวัดและประเมินผล วัดทักษะการสืบคนขอมูล ตามแบบประเมิน สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู กระบวนการสรางองคความรู แบบประเมินการสืบคนขอมูลและสรุปเนื้อหาเรื่อง ชนิดของคําจากInternet รายการ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได หมายเหตุ 1. ความสําเร็จของงานที่สืบคน 4 2. มารยาทในการสืบคน 2 3. ความมุงมั่นเอาใจใสในการสืบคน 2 4. ความถูกตองของผลงาน 2 รวม 10 แบบประเมินกิจกรรมพัฒนาความรู ความคิด และการทํางานรวมกัน รายการ ดีมาก พอใช ปรับปรุง หมายเหตุ ความสําเร็จและความถูกตองของงาน การใหความรวมมือในการทํางาน ความคิดสรางสรรค สรุปผล 7 สื่อและแหลงเรียนรู แบบเรียน ใบงาน แหลงเรียนรูทางอินเตอรเน็ต 8 กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 9 บันทึกหลังสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 24. …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 10 ความเห็นของนักเรียนที่มตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู ี  รายการความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรู  มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่ 5 4 3 2 สุด 1 1. ความรูที่ไดรับ 2. ความพึงใจในผลงานของนักเรียน 3. ความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดการเรียนรู อุปสรรคปญหา/ขอเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 11 ความเห็นของผูบังคับบัญชา หรือผูท่ไดรับมอบหมาย ี ……………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 25. ใบงานวิชาภาษาไทย 1 ท 031101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 แผนการเรียนรูหนวยที่ 2 หลักภาษาเบื้องตน แผนที่ 8 ชนิดของคํา คําชี้แจง ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเรื่องชนิดของคําจากอินเตอรเน็ต แลวสรุปเนื้อหาลงในใบงานนี้ โดยมีวธการดังนี้ ิี 1. สืบคนคําวา ชนิดของคํา คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ คําบุรพบท คําสันธาน และอุทาน จาก www.google.co.th 2. เขียนเว็บไซต (Address) ที่คนพบและเนื้อหาโดยสังเขป ลงสมุดในรูปแบบดังนี้ ผลการสืบคนคําวา ชนิดของคํา พบที่ www……………………………………………………………… ไดรับความรูโดยสังเขปดังนี้ ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ผลการสืบคนคําวา คํานาม พบที่ www……………………………………………………………… ไดรบความรูโดยสังเขปดังนี้ ั ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ผลการสืบคนคําวา คําสรรพนาม พบที่ www……………………………………………………………… ไดรับความรูโดยสังเขปดังนี้ ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ผลการสืบคนคําวา คํากริยา พบที่ www……………………………………………………………… ไดรับความรูโดยสังเขปดังนี้ ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ผลการสืบคนคําวา คําวิเศษณ พบที่ www………………………………………………………………