SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
คำำ นำำ
สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 เป็น
หน่วยงำนที่มีภำรกิจรับผิดชอบ กำรจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ซึ่ง
โรงเรียนขนำดเล็กเป็นประเด็นหนึ่งที่สำำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำ
ขั้นพื้นฐำนและสำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1
ให้ควำมสำำคัญและสนับสนุนส่งเสริมเพื่อให้โรงเรียนสำมำรถบริหำร
จัดกำรและจัดกำรเรียนกำรสอนส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้ อย่ำงมี
คุณภำพโรงเรียนขนำดเล็กส่วนใหญ่ประสบปัญหำด้ำนกำรบริหำร
จัดกำร ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภำพและประสิทธิภำพของกำร
จัดกำรศึกษำ ดังนั้นเพื่อให้กำรพัฒนำคุณภำพโรงเรียนขนำดเล็กเกิด
ประสิทธิภำพด้ำนกำรบริหำรจัดกำรอันส่งผลต่อคุณภำพนักเรียนให้มี
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนให้มีขนำดที่
เหมำะสมกับควำมต้องกำรของท้องถิ่น สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ
ประถมศึกษำน่ำน เขต 1 จึงได้จัดทำำแผนพัฒนำประสิทธิภำพกำร
บริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็กให้มีขนำดที่เหมำะสมกับท้องถิ่นขึ้น
เพื่อเป็นแนวทำงในกำรปฏิบัติงำนของผู้บริหำร ครูและบุคลำกรทำงกำร
ศึกษำในกำรพัฒนำโรงเรียนขนำดเล็ก เป็นเครื่องมือในกำรนิเทศ
ติดตำม ชี้แนะ ให้ควำมช่วยเหลือ คำำปรึกษำ นิเทศติดตำมควำม
ก้ำวหน้ำกำรจัดกำรเรียนกำรสอนของโรงเรียนขนำดเล็กให้มีคุณภำพ
ตำมมำตรฐำนกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ตำมเป้ำหมำยอย่ำงมีประสิทธิภำพ
และเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องเข้ำใจบริบท โดยรวมของโรงเรียนในสังกัด
สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 ให้ควำมร่วมมือ
ส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำให้มีคุณภำพ
ขอขอบพระคุณผู้มีส่วนร่วมทุกท่ำนในกำรจัดทำำแผนพัฒนำ
ประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็กให้มีขนำดที่เหมำะสม
กับท้องถิ่น ฉบับนี้ ให้มีควำมถูกต้องเหมำะสม และสำำเร็จลุล่วงด้วยดี

สำำ นัก งำนเขตพื้น ที่ก ำรศึก ษำประถมศึก ษำน่ำ น เขต 1
สำรบัญ
ส่ว นที่ 1 บทนำำ

เรื่อ ง

ส่ว นที่ 2 แผนพัฒ นำประสิท ธิภ ำพกำรบริห ำรจัด กำร
โรงเรีย นขนำดเล็ก
ให้ม ีข นำดที่เ หมำะสมกับ ท้อ งถิ่น
ส่ว นที่ 3 กำรบริห ำรจัด กำรโรงเรีย นขนำดเล็ก
รูปแบบกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็ก
กำรบริหำรจัดกำรกำรเดินทำงไปเรียนรวม
กำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็กที่ประสงค์จะดำำรง
อยู่
ภำพควำมสำำเร็จ
ส่ว นที่ 4 แนวปฏิบ ัต ิก ำรบริห ำรจัด กำร 4 งำน ของ
โรงเรีย นเรีย นรวม
กำรบริหำรจัดกำรงำนบริหำรบุคคล
กำรบริหำรจัดกำรงำนวิชำกำร
กำรบริหำรจัดกำรงำนบริหำรทั่วไป
กำรบริหำรจัดกำรงำนงบประมำณ
ส่ว นที่ 5 กำรบริห ำรจัด กำรโรงเรีย นขนำดเล็ก ที่

หน้ำ
1
5
10
10
12
14
14
15
15
18
20
21
24
ประสบผลสำำ เร็จ
ตัวอย่ำงกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็กที่ประสบ
ผลสำำเร็จ
-รูปแบบโรงเรียนเครือข่ำย
-รูปแบบโรงเรียนศูนย์กำรเรียนรวม
-รูปแบบโรงเรียนเรียนรวม(ทุกชั้น)
-รูปแบบโรงเรียนเรียนรวม(บำงชั้น)
-รูปแบบโรงเรียนจัดกำรเรียนกำรสอนแบบคละชั้น
ภำคผนวก
ตัวอย่ำงกำรบริหำรงบประมำณแบบบูรณำกำร
ข้อมูลโรงเรียนขนำดเล็กในสังกัดสำำนักงำนเขตพื้นที่
กำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1
คำำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมกำรจัดทำำแผนพัฒนำ
ประสิทธิภำพ กำรบริหำรจัดกำร
โรงเรียนขนำดเล็ก ให้มีขนำดที่เหมำะสมกับท้องถิ่น

24
24
30
35
37
39
41
46

1

ส่ว นที่ 1
บทนำำ

สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 เป็น
หน่วยงำนหลักในกำรดำำเนินกำร
จัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน โดยมีกลุ่มโรงเรียน โรงเรียนเป็นหน่วยปฏิบัติ
ในกำรจัดกำรศึกษำ ซึ่งสำำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
มีนโยบำยกระจำยอำำนำจกำรบริหำรจัดกำรศึกษำให้แก่หน่วยงำนทุก
ระดับ โดยในส่วนของโรงเรียนให้กำรบริหำรจัดกำรโดยใช้โรงเรียน
เป็นฐำน ( School – Based Management) มีกำรกระจำยอำำนำจทั้ง
4 งำน เน้นกำรให้ผู้มีส่วนได้เสียเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำ
โรงเรียนทั้งระบบ กำรบริหำรจัดกำรมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงำนตำม
ยุทธศำสตร์ ( Strategic Result- Based Management) แต่กำรกระ
จำยทรัพยำกรที่มีอยู่อย่ำงจำำกัดให้ทั่วถึงย่อมเป็นไปได้ยำก โดยเฉพำะ
อย่ำงยิ่งกำรดำำเนินงำนบริหำรจัดกำรในโรงเรียนขนำดเล็ก ที่พบว่ำ
คุณภำพทำงกำรศึกษำค่อนข้ำงตำ่ำเมื่อเปรียบเทียบกับโรงเรียนขนำด
กลำงและขนำดใหญ่ เนื่องจำกขำดควำมพร้อมด้ำนปัจจัยหลำยประกำร
สอดคล้องกับผลกำรประเมินของสำำนักงำนรับรองมำตรฐำนและประเมิน
คุณภำพกำรศึกษำ (องค์กำรมหำชน) ที่พบว่ำผลสัมฤทธิ์ทำงกำรศึกษำ
ระดับชำติโดยรวมยังตำ่ำ และโรงเรียนจำำนวนมำกยังไม่สำมำรถพัฒนำ
คุณภำพนักเรียนได้อย่ำงพึงพอใจ ส่วนใหญ่เป็นโรงเรียนขนำดเล็ก และ
จำกกำรประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำในโรงเรียนของสำำนักงำนคณะ
กรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (สำำนักนโยบำยกำรศึกษำขั้นพื้น
ฐำน,2551) พบว่ำกำรดำำเนินงำนจัดกำรศึกษำในโรงเรียนขนำดเล็กที่
ไม่ประสบผลสำำเร็จ ซึ่งมีขอสังเกต 3 ประเด็น คือ ด้ำนกำรจัดกำรเรียน
้
กำรสอน กำรบริหำรจัดกำรโรงเรียน และประสิทธิภำพกำรจัดกำรศึกษำ
ดังนี้
1.ด้ำ นกำรจัด กำรเรีย นกำรสอน
(1) ครูไม่ครบชั้นและไม่ครบวิชำเอก เนื่องจำก
โรงเรียนมีนักเรียนจำำนวนน้อย และครูขำดทักษะกำร บูรณำกำรทั้งด้ำน
เนื้อหำและคุณลักษณะที่พึงประสงค์
(2) เนื่องจำกกำรจัดกำรเรียนกำรสอนแบบคละชั้นเป็น
เรื่องใหม่ ครูและผู้ปกครองนักเรียนจำำนวนหนึ่งยังไม่เชื่อมั่นในกำร
จัดกำรเรียนกำรสอนลักษณะนี้
(3) กำรละเลยกำรรู้จักเด็กและติดตำมกำรพัฒนำเด็ก
เป็นรำยบุคคล ทำำให้นักเรียนจำำนวนหนึ่งเรียนไม่ทันและอำจถูกทอดทิ้ง
(4) บทเรียนและกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนไม่น่ำสนใจ
ที่จะจูงใจนักเรียนให้กระตือรือร้นต่อกำรเรียน
(5) ครูมีงำนธุรกำรจำำนวนมำก ทำำให้มีเวลำสำำหรับ
นักเรียนน้อย เช่น สร้ำงควำมอบอุ่นและควำมใกล้ชิดกับนักเรียน
บรรยำกำศประชำธิปไตยในห้องเรียนและเคำรพควำมคิดเห็นและสิทธิ
ของนักเรียน
2.กำรบริห ำรจัด กำรโรงเรีย น
(1) กำรมีส่วนร่วมของคณะกรรมกำรสถำนศึกษำ
ขั้นพื้นฐำนยังมีบทบำทน้อยแต่ขำดควำมเข้ำใจชัดเจนเกี่ยวกับบทบำท
หน้ำที่ของคณะกรรมกำร
2
(2) แม้โรงเรียนได้ดำำเนินกำรตำมระบบประกัน
คุณภำพภำยใน แต่ระบบควำมรับผิดชอบต่อผลงำน (Accountability
System) ยังขำดควำมชัดเจน ซึ่งสมควรส่งเสริมและพัฒนำ โดยมีองค์
ประกอบที่สำำคัญได้แก่
-กำรวำงแผนพัฒนำโรงเรียนระยะปำนกลำง 4 ปี และ
แผนปฏิบัติกำรประจำำปี
-กำรประเมินผลควำมก้ำวหน้ำกำรปฏิบัติงำนของ
โรงเรียนโดยกำรประเมินหรือทบทวนผลงำนของตนเอง
-กำรรำยงำนผลกำรปฏิบัติงำนประจำำปีต่อคณะ
กรรมกำรสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำน
ผู้ปกครอง ชุมชน สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำและ
สำธำรณชน
-สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำติดตำม
ควำมก้ำวหน้ำกำรดำำเนินงำนของ
โรงเรียนเป็นรำยโรง
3. ประสิท ธิภ ำพกำรจัด กำรศึก ษำ
ภำยใต้ทรัพยำกรทำงกำรศึกษำที่มีอยู่อย่ำงจำำกัด กำร
วำงแผนกำรจัดกำรศึกษำจึงมีควำมสำำคัญอย่ำงยิ่งที่ส่งผลกระทบต่อ
คุณภำพและประสิทธิภำพกำรจัดกำรศึกษำ ซึ่งสมควรพิจำรณำสำระ
สำำคัญดังต่อไปนี้
(1) กำรเพิ่มอัตรำครูต่อนักเรียนเป็นประเด็นสำำคัญที่
จำำเป็นต้องมีกำรจัดกำรอย่ำงจริงจัง โดยมีกำรวำงแผนอัตรำกำำลังเมื่อมี
กำรเกษียณอำยุรำชกำรและกำรบรรจุแต่งตั้งครูใหม่
(2) กำรพัฒนำบุคลำกร ครูและผู้บริหำรโรงเรียนยัง
ทำำได้น้อย และส่วนใหญ่จะพัฒนำครูด้ำนอื่นๆ มำกกว่ำด้ำนกำรเรียน
กำรสอน
(3) ระบบกำรจัดสรรงบประมำณและทรัพยำกรเพื่อกำร
ศึกษำ ซึ่งยังต้องพัฒนำให้มีประสิทธิภำพเนื่องจำกยังมีกำรได้เปรียบเสีย
เปรียบกันระหว่ำงโรงเรียน ซึ่งโดยหลักกำรควรคำำนึงถึง
- ควำมเป็นธรรม (Equity) เป็นหลักกำรพื้นฐำน
ของกำรสนับสนุนงบประมำณให้แก่โรงเรียนว่ำ จะต้องไม่มีโรงเรียนใดๆ
ได้รับงบประมำณอย่ำงได้เปรียบโรงเรียนอื่น
- ควำมยุติธรรม (Fairness) กล่ำวคือ โรงเรียน
ที่มีลักษณะหรือองค์ประกอบคล้ำยกันควรได้รับงบประมำณจำำนวนเท่ำ
กันหรือไม่แตกต่ำงกัน
(4) โรงเรียนตัดสินใช้งบประมำณโครงกำรต่ำงๆ ที่
ทำำให้เกิดผลกำรพัฒนำเหมำะสมกับควำมต้องกำรจำำเป็นของนักเรียน
ทั้งนี้ ภำยใต้กรอบนโยบำยและมำตรฐำนของรัฐ
(5) กำรจัดศูนย์เครือข่ำยโรงเรียน เพื่อให้เกิดควำม
ร่วมมือและกำรใช้ทรัพยำกรร่วมกันระหว่ำงโรงเรียนที่อยู่ใกล้เคียงกัน
(6) กำรรวมและเลิกโรงเรียน หำกมีนักเรียนจำำนวน
น้อยมำก โรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกันและกำรคมนำคมสะดวก
จำกแนวคิดและหลักกำรดังกล่ำวกระทรวงศึกษำธิกำรโดย
กำรนำำของศำสตรำจำรย์สุชำติ ธำดำธำำรงเวช รัฐมนตรีว่ำกำร
กระทรวงศึกษำธิกำรได้มอบนโยบำยในกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียน
ขนำดเล็ก เมื่อวันที่ 9 กุมภำพันธ์ 2555 สรุปได้ดังนี้
1. นโยบำยหลัก คือ กำรให้โอกำสนักเรียนได้รับกำรศึกษำที่
มีคุณภำพ ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลำง
3
คนลงมำ

2. บริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็กที่มีนักเรียนจำำนวน 60

-ไปเรียนรวมกับโรงเรียนขนำดใหญ่หรือโรงเรียนที่อยู่
ใกล้เคียงกัน และมีพำหนะเดินทำงที่สะดวกปลอดภัย
-โรงเรียนที่อยู่ห่ำงไกล หรือพื้นที่พิเศษไม่สำมำรถควบ
รวมกับโรงเรียนใดได้ควรจัดระบบกำรสอนทำงไกลเข้ำมำช่วย และให้ผู้
ปกครองและท้องถิ่นเข้ำมำมีส่วนร่วมให้กำรสนับสนุน
3. กำรควบรวมโรงเรียน เป้ำหมำยคือให้นักเรียนมีคุณภำพดี
ขึ้น จัดหำอุปกรณ์กำรเรียนที่ทันสมัย จัดหำครูเก่งไปสอนนักเรียนใน
โรงเรียนควบรวม
4. ผู้ปกครองเป็นคนตัดสินใจเลือกสถำนที่เรียนให้นักเรียน
โดยรัฐจะสนับสนุนงบประมำณค่ำพำหนะเดินทำง หรือจัดรถรับส่ง
นักเรียน และครูเดินทำงไปสอนโรงเรียนที่ควบรวม

สภำพปัญ หำของโรงเรีย นขนำดเล็ก สัง กัด สำำ นัก งำนเขต
พื้น ที่ก ำรศึก ษำประถมศึก ษำน่ำ นเขต 1
สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 มี
โรงเรียนในสังกัดทั้งสิ้น จำำนวน 202 โรงเรียน 4 สำขำ (ไม่มีนักเรียน
จัดกำรเรียนกำรสอน จำำนวน 3 โรง คือโรงเรียนบ้ำนห้วยยื่น โรงเรียน
บ้ำนดอย และโรงเรียนชุมชนบ้ำนดอนมูล) คงเหลือโรงเรียนจัดกำร
เรียนกำรสอน จำำนวน 199 โรงเรียน 4 สำขำ เป็นโรงเรียนขนำดเล็กที่
มีนักเรียน 120 คนลงมำ จำำนวน 150 โรงเรียน 3 สำขำ และ ในจำำนวน
นี้ เป็นโรงเรียนขนำดเล็กมำกที่มีนักเรียน 60 คนลงมำ จำำนวน 101
โรงเรียน 2 สำขำ (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนำยน 2555 ) ซึ่งสรุปผลกำร
บริหำรจัดกำรได้ดังนี้
1. โรงเรียนที่จัดกำรศึกษำโดยมีควำมจำำเป็นต้องดำำรงอยู่
จำำนวน 80 โรงเรียน 2 สำขำ จำำแนกรำยอำำเภอ ได้ดังนี้
1.1 อำำเภอเมืองน่ำน จำำนวน 17 โรงเรียน 1 สำขำ
1.2 อำำเภอแม่จริม จำำนวน 6 โรงเรียน
1.3 อำำเภอบ้ำนหลวง จำำนวน 2 โรงเรียน
1.4 อำำเภอนำน้อย จำำนวน 10 โรงเรียน
1.5 อำำเภอเวียงสำ จำำนวน 28 โรงเรียน
1.6 อำำเภอนำหมื่น จำำนวน 9 โรงเรียน 1 สำขำ
1.7 อำำเภอสันติสุข จำำนวน 1 โรงเรียน
1.8 อำำเภอภูเพียง จำำนวน 7 โรงเรียน
2. โรงเรียนที่จัดกำรศึกษำแบบเรียนรวม มีนักเรียน จำำนวน 19
โรงเรียน ไม่มีนักเรียน
จำำนวน 1 โรงเรียน จำำแนกรำยอำำเภอ ได้
ดังนี้
2.1 อำำเภอเมืองน่ำน มีนักเรียนจำำนวน 4 โรงเรียน ไม่มี
นักเรียน จำำนวน 1 โรงเรียน
2.2 อำำเภอบ้ำนหลวง จำำนวน 2 โรงเรียน
2.3 อำำเภอนำน้อย จำำนวน 1 โรงเรียน
2.4 อำำเภอเวียงสำ จำำนวน 6 โรงเรียน
2.5 อำำเภอภูเพียง จำำนวน 6 โรงเรียน
4
3. โรงเรียนที่จัดกำรศึกษำแบบโรงเรียนเครือข่ำย จำำนวน 2
โรงเรียน จำำแนกรำยอำำเภอ ได้ดังนี้
3.1 อำำเภอนำน้อย จำำนวน 2 โรงเรียน
4. โรงเรียนที่ไม่มีนักเรียน จำำนวน 3 โรงเรียน จำำแนกรำย
อำำเภอ ได้ดังนี้
4.1 อำำเภอเมืองน่ำน จำำนวน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียน
ชุมชนบ้ำนดอนมูล(เรียนรวม) และโรงเรียนบ้ำนห้วยยื่น
4.2 อำำเภอบ้ำนหลวง จำำนวน 1 โรงเรียน คือ โรงเรียนบ้ำน
ดอย
จำกกำรประชุมร่วมกันระหว่ำงสำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ
โรงเรียน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
กับโรงเรียน พบว่ำโรงเรียนขนำดเล็กส่วนใหญ่ประสบปัญหำ ดังนี้
1. มีครูไม่ครบชั้น ซึ่งส่งผลให้โรงเรียนประสบปัญหำในกำร
จัดกระบวนกำรเรียนกำรสอน เนื่องจำกครูต้องรับผิดชอบนักเรียนหลำย
ชั้นจึงไม่สำมำรถพัฒนำเด็กด้วยวิธีกำรสอนที่หลำกหลำยได้
2. ขำดวัสดุอุปกรณ์ในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน เนื่องจำก
กำรจัดสรรงบประมำณ ในปัจจุบันจัดสรรตำมรำยหัวของนักเรียนที่มีอยู่
จริง ทำำให้งบประมำณที่จะนำำมำใช้ในกำรพัฒนำกำรเรียนกำรสอนไม่
เพียงพอ
3. มีข้อจำำกัดในกำรจัดกิจกรรมกำรสอน เนื่องจำกจำำนวน
นักเรียนมีน้อย กำรจัดกิจกรรมกลุ่มเป็นไปด้วยควำมลำำบำก ส่งผลให้
เกิดควำมเบื่อหน่ำยทั้งครูและนักเรียน
4. ขวัญและกำำลังใจของครูตำ่ำเนื่องจำกรับผิดชอบนักเรียน
จำำนวนน้อย หรือรับผิดชอบนักเรียนหลำยชั้น ซึ่งส่งผลให้ครูขำดกำร
พัฒนำงำนสอน ไม่มีควำมก้ำวหน้ำทำงอำชีพ
5. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนตำ่ำ เนื่องจำกมีครูไม่
ครบชั้น ไม่มีครูเฉพำะวิชำโดยเฉพำะในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้หลัก
6. ผู้ปกครอง ชุมชน ยังต้องกำรให้มีโรงเรียนดำำรงสภำพอยู่
คู่กับหมู่บ้ำน ชุมชน ไม่ยินยอมให้โรงเรียนจัดกำรเรียนกำรสอนแบบ
เรียนรวมตำมนโยบำยกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็ก
ภำยใต้ข้อจำำกัดดังกล่ำว สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ
ประถมศึกษำน่ำน เขต 1 จึงตระหนักถึงควำมสำำคัญ ในกำรยกระดับ
คุณภำพโรงเรียนขนำดเล็กให้มีควำมเสมอภำคทำงด้ำนโอกำสทำงกำร
ศึกษำ สำมำรถจัดกำรเรียนกำรสอนที่มีคุณภำพตำมเกณฑ์มำตรฐำน
อย่ำงมีประสิทธิภำพ มีกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนให้มีขนำดที่เหมำะสม
กับควำมต้องกำรของท้องถิ่น จึงได้จัดทำำแผนพัฒนำประสิทธิภำพกำร
บริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็กให้มีขนำดที่เหมำะสมกับท้องถิ่น เพื่อ
เป็นแนวทำงในกำรปฏิบัติงำนของผู้บริหำร ครูและบุคลำกรทำงกำร
ศึกษำในกำรพัฒนำโรงเรียนขนำดเล็ก เป็นเครื่องมือในกำรนิเทศ
ติดตำม ชี้แนะ ให้ควำมช่วยเหลือ คำำปรึกษำ นิเทศติดตำมควำม
ก้ำวหน้ำกำรจัดกำรเรียนกำรสอนของโรงเรียนขนำดเล็กให้มีคุณภำพ
ตำมมำตรฐำนกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ตำมเป้ำหมำยอย่ำงมีประสิทธิภำพ
และเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องเข้ำใจบริบทและมองเห็นภำพโดยรวมของ
โรงเรียนในสังกัดสำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1
ให้ควำมร่วมมือส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำให้มีคุณภำพต่อไป
5

ส่ว นที่ 2

แผนพัฒ นำประสิท ธิภ ำพกำรบริห ำรจัด กำร
โรงเรีย นขนำดเล็ก ให้ม ีข นำดที่เ หมำะสมกับ ท้อ งถิ่น
วิส ัย ทัศ น์

ปี 2558 โรงเรียนขนำดเล็ก ในสังกัดสำำนักงำนเขตพื้นที่กำร
ศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1
จัดกำรศึกษำ ได้อย่ำงมีคุณภำพตำม
เกณฑ์มำตรฐำน สนองต่อควำมต้องกำรของท้องถิ่นโดยกำรมีส่วนร่วม
ทุกภำคส่วน

พัน ธกิจ

1. ส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำโรงเรียนขนำดเล็กให้มีคุณภำพตำม
เกณฑ์มำตรฐำน
2. ส่งเสริมให้ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมใน
กำรพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำร่วมกับโรงเรียนและสำำนักงำนเขตพื้นที่กำร
ศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1

เป้ำ ประสงค์

1. โรงเรียนขนำดเล็กในสังกัดสำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ
ประถมศึกษำน่ำน เขต 1 มีกำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำได้ตำม
เกณฑ์มำตรฐำน
2. ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมในกำรพัฒนำ
คุณภำพกำรจัดกำรศึกษำร่วมกับโรงเรียนและสำำนักงำนเขตพื้นที่กำร
ศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1

จุด เน้น

1. ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน 5 กลุ่มสำระหลักเพิ่มขึ้นสูงกว่ำค่ำเฉลี่ย
ระดับประเทศ
2. ผู้เรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 3 ทุกคนอ่ำนออกเขียนได้คิดเลข
เป็น
3. โรงเรียนขนำดเล็กในสังกัด มีระบบประกันคุณภำพภำยในที่
เข้มแข็งและได้รับกำรรับรองผ่ำนเกณฑ์มำตรฐำน จำกสำำนักงำนรับรอง
มำตรฐำนและประเมินคุณภำพกำรศึกษำ(องค์กำรมหำชน)
4. โรงเรียนขนำดเล็กที่มีนักเรียน 60 คนลงมำ มีกำรเรียนรวมตำม
นโยบำยกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็กเพิ่มขึ้น
5. ส่งเสริมให้ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมใน
กำรพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำร่วมกับโรงเรียนและเขตพื้นที่กำรศึกษำ

กลยุท ธ์

กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำโรงเรียนขนำดเล็กให้
เป็นไปตำมเกณฑ์มำตรฐำน
กลยุทธ์ที่ 2 เผยแพร่ประชำสัมพันธ์ กำรบริหำรจัดกำรโรงเรียน
ขนำดเล็ก และส่งเสริมให้ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วน
ร่วมในกำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ
6
กลยุท ธ์ท ี่ 1 พัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำโรงเรียนขนำดเล็กให้เป็น
ไปตำมเกณฑ์มำตรฐำน
กิจ กรรม
1. ส่งเสริม กำรนิเทศ กำำกับ ติดตำม ให้โรงเรียนขนำดเล็กมี
กำรพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำหลำกหลำยรูปแบบ ได้แก่ โครงกำร/
กิจกรรม
1.1 ส่งเสริมสนับสนุนสถำนศึกษำให้มีควำมเข้มแข็งผ่ำน
กำรรับรองมำตรฐำน
1.2 พัฒนำระบบนิเทศ ติดตำม ประเมินผล กำรดำำเนินงำน
สถำนศึกษำ
1.3 ต่อยอดกำรเรียนรู้สู่ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้ 5 กลุ่ม
สำระ
1.4 พัฒนำกำรจัดกำรเรียนรู้ 8 กลุ่มสำระ
1.5 พัฒนำผู้เรียนชั้น ป.3 ให้อ่ำนออกเขียนได้
1.6 พัฒนำทักษะกำรคิดเลขเป็น คิดเลข คล่อง ป.1-6
1.7 ยกระดับผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียน
2. สรรหำโรงเรียนขนำดเล็กที่มีวิธีบริหำรจัดกำรศึกษำ โดย
พัฒนำคุณภำพผู้เรียนได้ตำมเกณฑ์มำตรฐำนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ได้
อย่ำงต่อเนื่อง เป็นต้นแบบแก่โรงเรียนในสังกัด
3. จัดทำำเกียรติบัตร ยกย่อง ชมเชย โรงเรียนขนำดเล็กที่มี
วิธีบริหำรจัดกำรโรงเรียนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพอย่ำงต่อเนื่อง
4. เผยแพร่ประชำสัมพันธ์โรงเรียนต้นแบบไปสู่โรงเรียนที่
จำำเป็นต้องพัฒนำให้มีคุณภำพตำมเกณฑ์มำตรฐำน
5. ส่งเสริมให้โรงเรียนขนำดเล็กมีกำรเรียนรวม ตำม
นโยบำยรัฐบำล
6. เสริมสร้ำงขวัญกำำลังใจให้แก่ ครู และผู้บริหำรโรงเรียน
ที่มีส่วนส่งเสริมพัฒนำประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำด
เล็กให้มีขนำดที่เหมำะสมกับท้องถิ่น
7. สนับสนุนงบประมำณกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำด
เล็กให้ต่อเนื่อง รวดเร็ว โดยเฉพำะโรงเรียนหลัก กำรจัดหำพำหนะ และ
ค่ำพำหนะรับส่งนักเรียน
กลยุท ธ์ท ี่ 2 เผยแพร่ประชำสัมพันธ์ กำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำด
เล็ก และส่งเสริมให้ชุมชนและ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมในกำรพัฒนำคุณภำพ
กำรจัดกำรศึกษำ
กิจ กรรม
1. เผยแพร่ประชำสัมพันธ์นโยบำยกำรบริหำรจัดกำร
โรงเรียนขนำดเล็กให้ชุมชนและท้องถิ่นได้รับทรำบ
2. รำยงำนผลกำรจัดกำรศึกษำโรงเรียนขนำดเล็กให้
โรงเรียน ชุมชนและท้องถิ่น ได้รับทรำบต่อเนื่อง ทุกปี
3. ส่งเสริมให้ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วน
ร่วมในกำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ

7
แผนพัฒ นำประสิท ธิภ ำพกำรบริห ำรจัด กำรโรงเรีย นขนำดเล็ก
ให้ม ีข นำดที่เ หมำะสมกับ ท้อ งถิ่น
ปีง บประมำณ 2556 - ปี 2558
กลยุท ธ์ท ี่ 1 พัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำโรงเรียนขนำดเล็กให้เป็น
ไปตำมเกณฑ์มำตรฐำน
เป้ำ ประ
สงค์

ตัว ชี้ว ัด ควำม
สำำ เร็จ

ข้อ มู ค่ำ เป้ำ หมำยตัว ชี้
ลปี
วัด
ฐำน
ปี56 ปี57 ปี58
ปี55

โครงกำร/
กิจ กรรม
1.โรงเรี
ยนขนำด
เล็กใน
สังกัดฯ มี
กำร
พัฒนำ
คุณภำพ
กำร
จัดกำร
ศึกษำได้
ตำม
เกณฑ์
มำตรฐำ
น

1.โรงเรียนขนำด
เล็กในสังกัดฯได้
รับกำรรับรอง
ผ่ำนเกณฑ์
มำตรฐำนจำก
สมศ.
2.โรงเรียนขนำด
เล็ก มีกำรประกัน
คุณภำพภำยใน
และรำยงำนผลฯ
ให้สพป.ทรำบ
ภำยในกำำหนด
เวลำ
3.ร้อยละของ
รร.ขนำดเล็กที่
นักเรียนชั้นป.6
มีผลสัมฤทธิ์
Onet สูงกว่ำค่ำ
เฉลี่ยระดับ
ประเทศ
4.ร้อยละของ
รร.ขนำดเล็กที่
นักเรียนชั้นม.3
มีผลสัมฤทธิ์
Onet สูงกว่ำค่ำ
เฉลี่ยระดับ
ประเทศ
5.ร้อยละของ
รร.ที่มี
นักเรียน 60 คน
ลงมำชั้นป.6 มี
ผลสัมฤทธิ์
ทำงกำรเรียนรู้ 5
กลุ่มสำระ
หลัก(Onet)
สูงกว่ำระดับ
ประเทศ

78
%

80
%

70
%

100
%

50
%

60
%

38
%

50
%

48
%

60
%

1.ส่ง เสริม
80% 80% สนับ สนุน
สถำน
ศึก ษำให้ม ี
ควำมเข้ม
แข็ง ผ่ำ น
กำรรับ รอง
100 100 มำตรฐำน
%
%
2.พัฒ นำ
ระบบนิเ ทศ
ติด ตำม
ประเมิน
ผลฯ
1.ต่อ ยอด
70% 80% กำรเรีย นรู้
สู่ผ ล
สัม ฤทธิ์
ทำงกำร
เรีย นรู้ 5
กลุ่ม สำระ
2.พัฒ นำก
50% 55% ำรจัด กำร
เรีย นรู้ 8
กลุ่ม สำระ
3.ยกระดับ
ผลสัม ฤทธิ์
ของ
โรงเรีย น
70% 80%
6.ร้อยละของนัก
เรียนชั้นป.3
รร.ขนำดเล็ก
ทีอ่ำนออก เขียน
่
ได้
7.ร้อยละของ
นักเรียน
รร.ขนำดเล็กที่มี
ปัญหำกำรอ่ำน
กำรเขียนภำษำ
ไทยตำ่ำกว่ำ
เกณฑ์ลดลง
เป้ำ ประ
สงค์
1.โรงเรี
ยนขนำด
เล็กใน
สังกัดฯ มี
กำร
พัฒนำ
คุณภำพ
กำร
จัดกำร
ศึกษำได้
ตำม
เกณฑ์
มำตรฐำ
น

ตัว ชี้ว ัด ควำม
สำำ เร็จ

98
%

99%

99%

2%

1%

1%

1.พัฒ นำผู้
100% เรีย นชั้น
ป.3 ให้อ ่ำ น
ออกเขีย น
ได้
1%

8
ข้อ มู ค่ำ เป้ำ หมำยตัว ชี้
ลปี
วัด
ฐำน
ปี56 ปี57 ปี58
ปี55

โครงกำร/
กิจ กรรม

8.ร้อยละของ
1.พัฒ นำ
1%
1% ทัก ษะกำร
นักเรียน
2% 1%
รร.ขนำดเล็กที่ผู้
คิด เลขเป็น
เรียนมีปัญหำกำร
คิด เลข
คิดคำำนวณลดลง
คล่อ งป.1-6
9.ร้อยละของ
1.สรรหำ
รร.ขนำดเล็กเป็น 5% 10
15% 20% โรงเรียน
รร.ต้นแบบกำร
ขนำดเล็กที่
%
บริหำรจัดกำร
มีวิธีบริหำร
โรงเรียนขนำด
จัด
เล็ก พัฒนำผู้
ได้ตำม
เรียนได้ตำม
เกณฑ์
เกณฑ์มำตรฐำน
มำตรฐำน
ระดับดีขึ้นไปและ
และยกระดับ
ยกระดับผล
ผลสัมฤทธิ์
สัมฤทธิ์ได้อย่ำง
ได้อย่ำงต่อ
ต่อเนื่อง
เนื่อง
เป็นต้นแบบ
10.ร้อยละ
โรงเรียนขนำด
24
30 40% 50% แก่โรงเรียน
เล็กที่มี
%
นักเรียน 60 คน
ลงมำไปเรียน
รวม/ควบรวม/
ยุบรวม/เครือข่ำย
ตำมนโยบำยกำร
บริหำรจัดกำร
โรงเรียนขนำด
เล็ก

%

ในสังกัด
2.จัดทำำ
เกียรติบัตร
ยกย่อง
ชมเชย
3.เผยแพร่
ประชำสัมพั
นธ์โรงเรียน
ต้นแบบไปสู่
โรงเรียนที่
จำำเป็นต้อง
พัฒนำให้มี
คุณภำพตำม
เกณฑ์
มำตรฐำน
4.เสริมสร้ำง
ขวัญกำำลัง
ใจให้แก่ ครู
และผู้บริหำร
รร. ที่ส่ง
เสริมพัฒนำ
ประสิทธิภำ
พ กำร
บริหำร
จัดกำร
โรงเรียน
ขนำดเล็ก
5. สนับสนุน
งบประมำณ
บริหำร
จัดกำร
รร.ขนำด
เล็ก ให้ต่อ
เนื่อง
รวดเร็ว
9
กลยุท ธที่ 2 เผยแพร่ประชำสัมพันธ์ กำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำด
เล็ก และส่งเสริมให้ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมใน
กำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ
เป้ำ ประ
สงค์

ตัว ชี้ว ัด ควำม
สำำ เร็จ

1.ชุมชน
และ
องค์กร
ปกครอง
ส่วนท้อง
ถิ่น มี
ส่วนร่วม
ในกำร
พัฒนำ
คุณภำพ
กำร
จัดกำร
ศึกษำ
ร่วมกับ
รร.และ
สพป.น่ำ
นเขต 1

1.ผู้นำำชุมชน
ท้องถิ่นรับทรำบ
นโยบำยกำร
บริหำรจัดกำร
โรงเรียนขนำด
เล็กและนำำไปเผย
แพร่
ประชำสัมพันธ์
ต่อผู้ปกครอง
เพื่อพร้อมรับกำร
เปลี่ยนแปลง
2.ผู้ปกครอง
ชุมชน ให้กำร
สนับสนุนกำร
พัฒนำกำร
จัดกำรศึกษำของ
โรงเรียนในท้อง
ทีของตนเอง
่
อย่ำงต่อเนื่องทุก
ปี
3.องค์กร
ปกครองส่วนท้อง
ถิ่น สนับสนุนงบ
ประมำณ/
กิจกรรม
พัฒนำกำร
จัดกำรศึกษำของ
โรงเรียนใน
สังกัดฯ(นอกจำก
อำหำรกลำงวัน

ข้อ มู ค่ำ เป้ำ หมำยตัว ชี้
ลปี
วัด
ฐำน
ปี56 ปี57 ปี58
ปี55
ไม่
ครบ
ทุก
ตำำบ
ล/
หมู่บ้
ำน

ทุก
ตำำบล/
ทุกหมู่
บ้ำน

ทุก
ตำำบ
ล/ทุก
หมู่
บ้ำน

ทุก
ตำำบล/
ทุกหมู่
บ้ำน

60
%

70%

80%

90%

60
%

70%

80%

90%

โครงกำร/
กิจ กรรม
สพป.และรร.
1.เผยแพร่
ประชำสัมพั
นธ์นโยบำย
กำรบริหำร
จัดกำร
โรงเรียน
ขนำดเล็กให้
ชุมชนและ
ท้องถิ่นได้
รับทรำบ
2.รำยงำน
ผลกำร
จัดกำร
ศึกษำ
โรงเรียน
ขนำดเล็กให้
โรงเรียน
ชุมชนและ
ท้องถิ่น ได้
รับทรำบต่อ
เนื่อง
ทุกปี
3.ส่งเสริมให้
ชุมชน
องค์กร
ปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
มีส่วนร่วม
ในกำร
และนม)

พัฒนา
คุณภาพการ
จัดการ
ศึกษา

ส่ว นที่ 3

10

การบริห ารจัด การโรงเรีย นขนาดเล็ก
--------------------------------

รูป แบบการบริห ารจัด การโรงเรีย นขนาดเล็ก

สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ได้กำาหนด
รูปแบบในการบริหารจัดการให้โรงเรียนขนาดเล็ก เลือกดำาเนินการ 4
รูปแบบมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2551 พบว่าทุกรูปแบบมีปัญหาและอุปสรรค
ในการดำาเนินการและเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายแนวดำาเนินการของ
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำานักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จึงได้ปรับปรุงแนวดำาเนินการของ
โรงเรียนขนาดเล็ก ให้สามารถนำาปฏิบัติได้อย่างประสบผลสำาเร็จดังนี้
รูป แบบการบริห ารจัด การโรงเรีย นขนาดเล็ก
รูป แบบที่ 1 การบริหารจัดการแบบคละชั้นหรือรวมชั้นเรียน
หมายถึง รวมนักเรียนชั้นที่ต่อเนื่องกันมาเรียนรวมในชั้นเดียวกัน โดย
ใช้ครูคนเดียวหรือทีมเดียว ดังแผนภูมิ
รวม
รวม
1-2
รวม
2-3
รวม
3
รวม
4-5
รวม
5-6
4-6

ชั้น
ชั้น
ชั้น
ชั้น
ชั้น
ชั้น

ป.
ป.
ป. 1ป.
ป.
ป.
รูป แบบที่ 2 การบริหารจัดการแบบเรียนรวม หมายถึงการนำา
นักเรียน 2 โรงเรียนมาเรียนรวมกัน แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
(1)
เรียนรวมเป็นบางชั้น หรือบางช่วงชั้นเรียน หมายถึง
โรงเรียนขนาดเล็กนำานักเรียน บางชั้น หรือบางช่วงชั้นไปเรียนรวมกับ
โรงเรียนหลักที่มีความพร้อมและอยู่ใกล้เคียง ตัวอย่างเช่นโรงเรียน ก.
นำานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ไปเรียนรวมที่โรงเรียน ข. คง
เหลือนักเรียน ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 – 3 เรียนอยู่ในโรงเรียน ก. ดัง
แผนภูมิ
ป.4-6
รร.ก.
ป.1 - 3

รร.ข.
ป.1 - 6

(2)
เรียนรวมทั้งโรงเรียนหรือเรียนรวมทุกชั้น หมายถึง
โรงเรียนขนาดเล็กนำานักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ไปเรียน
รวมกับโรงเรียนหลักที่มีความพร้อมและอยู่ใกล้เคียง
ตัว อย่า งเช่น โรงเรียน ค. นำานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6
ไปเรียนรวมที่โรงเรียน ง. คงเหลือนักเรียนระดับอนุบาล หรือไม่มี
นักเรียนเหลือในโรงเรียน ค. ดังแผนภูมิ
รร.ค
อบ. 1-

ป.1-6

รร. ง.
ป.1-6

11
รูป แบบที่ 3 การบริหารจัดการแบบศูนย์เรียนรวม หมายถึง การ
2
จัดการเรียนการสอนที่โรงเรียนขนาดเล็กตั้งแต่สามโรงเรียนขึ้นไป นำา
นักเรียนทุกชั้นไปเรียนรวมกันที่โรงเรียนหลัก ดังแผนภูมิ
ป.
34

ป. 1- 6

-6

ป.1

ป. 1 -

6

รูป แบบที่ 4 การบริหารจัดการแบบโรงเรียนเครือข่าย หมายถึง
การจัดการเรียนการสอน ของโรงเรียนขนาดเล็กตั้งแต่สองโรงเรียน
ขึ้นไปร่วมกันจัดการเรียนการสอน โดยแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบใน
การจัดการเรียนการสอนให้แต่ละโรงเรียนรับผิดชอบ
ตัว อย่า งที่ 1 โรงเรียน จ. เป็นเครือข่ายร่วมกับโรงเรียน ช. โดย
โรงเรียน จ. จัดการเรียน
การสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3
แล้วนำานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ไปเรียนรวมที่โรงเรียน ช.
และโรงเรียน ช. นำานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ไปเรียนรวมที่
โรงเรียน ค. ดังแผนภูมิ
จ.

รร.
ป. 1-

ป.4-6
ป.1-3

รร. ช.
ป.4-6

ตัว อย่า งที่ 2 โรงเรียน ต. โรงเรียน ถ. และโรงเรียน น. เป็นเครือ
ข่ายร่วมกัน โรงเรียน ต. จัดการเรียนการสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 2
โรงเรียน ถ. และโรงเรียน น.ส่งนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 2 มา
เรียนรวม
โรงเรียน น. จัดการเรียนการสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 - 4
โรงเรียน ถ. และโรงเรียน ต. ส่งนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 – 4 มา
เรียนรวม
โรงเรียน ถ. จัดการเรียนการสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 - 6
โรงเรียน ต. และโรงเรียน น.ส่งนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 – 6 มา
เรียนรวม ดังแผนภูมิ

ป.
3-4
รร. ต.
ป. 1-2

รร.น.
ป. 3-4
ป. 34
ป. 3 –
ป. 1-2 4
ป. 5-6

2

ป. 1-

ป. 5-6

6

รร. ถ.
ป. 5-

12

นิย ามศัพ ท์
โรงเรีย นหลัก หมายถึง โรงเรียนที่รับนักเรียนมาเรียนรวมอาจ
จะเป็นโรงเรียนขนาดเล็กหรือโรงเรียนขนาดกลางหรือขนาดใหญ่ก็ได้
นัก เรีย นที่น ำา ไปเรีย นรวม หมายถึง นักเรียนระดับชั้นประถม
ศึกษาชั้นปีที่ 1 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อาจจะเป็นบางชั้น บาง
ช่วงชั้น หรือทั้งโรงเรียน

การบริห ารจัด การการเดิน ทางไปเรีย นรวม
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำาหนดแนวทาง
การบริหารจัดการการเดินทางมาเรียน หลักเกณฑ์ เงื่อนไข การจัดตั้ง
และจัดสรรงบประมาณ สำาหรับชดเชยค่าเดินทางแก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง
ค่ายานพาหนะ ค่าจ้างเหมาบริการ โดยกำาหนดแนวทางการดำาเนินงาน
ของหน่วยงานใน แต่ละระดับ ดังนี้
1.การกำาหนดบทบาท หน้าที่ของโรงเรียน และสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษา ดังนี้
1.1 ระดับ โรงเรีย น
โรงเรียนมารวมดำาเนินการในช่วงระยะเวลาที่อยู่ระหว่าง
การรวม และเมื่อมีการประกาศรวมแล้วให้เป็นหน้าที่ของโรงเรียนหลัก
การดำาเนินการ ดังนี้
1) จัดทำาข้อมูลพื้นฐานนักเรียนโรงเรียนมารวม ประกอบ
ด้วย
(1) รายชื่อนักเรียน จำาแนกเป็นรายชั้น โดยมีเลข 13
หลักกำากับ
(2) พื้นที่เขตบริการโรงเรียนมารวม ทั้งต้องนำาไปปรับ
รวมเป็นพื้นที่บริการของ โรงเรียนหลัก
(3) ประชากรวัยเรียน ที่ตองได้รับการศึกษาในพืนทีเขต
้
้ ่
บริการโรงเรียนมารวม
(4) ระยะทาง สภาพการคมนาคมจากบ้านไปโรงเรียน
หลัก
(5) วิธีการเดินทางของนักเรียนเป็นรายคน
(6) รายชื่อประชากรวัยเรียนที่จะเข้าเรียนในเขตพื้นที่
บริการของโรงเรียนเรียนรวม ในแต่ละปีการศึกษา
2) ขอสนับสนุนงบประมาณค่าพาหนะนักเรียนสำาหรับการ
บริหารจัดการโรงเรียน
มารวม ดังนี้
(1) สำาหรับนักเรียนของโรงเรียนมารวมที่มาเรียน
โรงเรียนหลัก
(2) สำาหรับนักเรียนที่เข้าใหม่ในปีการศึกษาต่อ ๆ มา ที่
มีอายุเข้าเกณฑ์ระดับปฐมวัยและเข้าเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับและ
มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตบริการของโรงเรียน มารวมให้ได้รับ ค่า
พาหนะจนจบการศึกษาชั้นสูงสุดของโรงเรียนหลัก
3) กรณีนักเรียนไม่ได้ไปเรียนที่โรงเรียนหลักแต่ไปเรียนที่
โรงเรียนอื่นในสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเดียวกันให้โรงเรียน
นั้นเสนอของบประมาณ
4) รายงานผลการใช้งบประมาณ ค่าพาหนะนักเรียน

13
1.2 ระดับ สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษา
1) จัดทำาแผนที่การศึกษา (School Mapping) กำาหนด
พื้นที่บริการโรงเรียนหลักและโรงเรียนมารวม
2) ตรวจสอบ / วิเคราะห์ ข้อมูลที่โรงเรียนรวมเสนอของบ
ประมาณ
3) เสนอสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พิจารณาจัดสรรงบประมาณ
4) แจ้งจัดสรรงบประมาณที่ได้รับจากสำานักงานคณะ
กรรมการการศึกษา
ขันพื้นฐานให้โรงเรียนทราบ
้
5) นิเทศ ติดตาม กำากับการดำาเนินงานให้เป็นไปตาม
นโยบายและรายงานผล
2.หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจัดตั้งและจัดสรรงบประมาณ
ทางการบริหารจัดการ การเดินทางของนักเรียนไปเรียนกรณีรวม
2.1 กรณีค่าพาหนะ (ใช้งบประมาณปี พ.ศ. 2555)
1) จัดสรรให้ตามระยะทางจากบ้านถึงโรงเรียนหลัก กรณี
การคมนาคมสะดวก
(1)
ไม่เกิน 3 กิโลเมตร คนละ 10 บาทต่อวัน
(2)
มากกว่า 3–10 กิโลเมตร คนละ 15 บาทต่อวัน
(3)
มากกว่า 10 กิโลเมตรขึ้นไป คนละ 20 บาทต่อวัน
จำานวน 200 วันต่อคนต่อปีการศึกษา
2) จัดสรรให้ตามระยะทางจากบ้านถึงโรงเรียนหลัก กรณี
การคมนาคมในพื้นที่พิเศษตามระเบียบกระทรวงการคลัง
(1)
เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินตามข้อตกลงกับกระทรวง
การคลัง
(2)
จ้างเหมายานพาหนะรับส่งนักเรียน กรณีเช่า
เหมารถยนต์เป็นคัน
2.2 กรณีค่าจ้างเหมาบริการ
1) จัดสรรค่าจ้างเหมาบริการให้โรงเรียนมารวมหรือ
โรงเรียนหลัก บริหารจัดการด้วยวิธีการที่เหมาะสม จ้างเหมายาน
พาหนะรับส่งนักเรียนจากโรงเรียนมารวม
2) จัดสรรให้ผู้ปกครองที่รับส่งนักเรียนไปโรงเรียนหลัก
2.3 กรณีจัดสรรยานพาหนะให้โรงเรียนหลักหรือกรณีที่
โรงเรียนได้รับการบริจาค ยานพาหนะสำาหรับรับ-ส่งนักเรียน
1) จัดสรรจักรยานสำาหรับนักเรียนบ้านใกล้ เพื่อทดแทนค่า
พาหนะ
2) จัดสรรยานพาหนะ เช่น รถยนต์ ให้โรงเรียนหลักเพื่อ
ใช้รับ - ส่งนักเรียนจัดสรรค่านำ้ามันเชื้อเพลิงและค่าบำารุงรักษายาน
พาหนะให้กับโรงเรียนหลักที่ได้รับการจัดสรรยานพาหนะหรือได้รับ
บริจาค
2.4 การประกันอุบัติเหตุ
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะจัดสรรงบ
ประมาณให้กับสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสำาหรับดำาเนินการจัดทำา
ประกันอุบัติเหตุหมู่ให้กับนักเรียนที่มาเรียนโรงเรียนหลัก (ทั้งนี้จะเสนอ
เรื่องเข้า ครม.ให้อนุมัติหลักการเสนอขอตั้งงบประมาณปี 2556)
14

การบริห ารจัด การโรงเรีย นขนาดเล็ก ที่ป ระสงค์จ ะดำา รง
อยู่
1) โรงเรียนขนาดเล็กใดจะดำารงอยู่ให้แสดงเหตุผลว่ามี
คุณลักษณะทั้ง 4 ประการ ดังนี้
1.1) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ ในปีการศึกษาที่
ผ่านมาสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก
ได้แก่ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษาและภาษา
อังกฤษ
1.2) ได้รับการรับรองจากสำานักงานรับรองมาตรฐานและ
การประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน)
1.3) ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการเขตพื้นที่การ
ศึกษาเพื่อให้ดำารงโรงเรียนอยู่ได้โดยไม่ดูดซับทรัพยากร
1.4) ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วม
ในการสนับสนุนการจัดการศึกษา
2) โรงเรียนที่ได้รับยกเว้นให้ดำารงอยู่ ให้โรงเรียนจัดทำาแผน
พัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 3 ปี ที่ชัดเจน ในการเพิ่มคุณภาพการ
ศึกษา ทั้งด้านการบริหารงานบุคคล การบริหารงานวิชาการ การบริหาร
งบประมาณ และการบริหารทั่วไป เสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน และรายงานสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา โดยให้คณะ
กรรมการเขตพื้นที่ให้ความเห็นชอบ
3) โรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่พิเศษ ห่างไกล กันดาร ไม่สามารถรวม
กับโรงเรียนใด ๆ ได้ ให้จัดการเรียน การสอนตามปกติ และต้องได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา

ภาพความสำา เร็จ

สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ได้กำาหนด
ภาพความสำาเร็จของการดำาเนินการรวมโรงเรียนไว้เป็น ดังนี้
1. ด้า นประสิท ธิภ าพ
1.1 จำานวนโรงเรียนขนาดเล็กลดลงเหมาะสมกับความจำาเป็น
ของพื้นที่
1.2 การบริหารจัดการบุคลากรมีความสมดุลและสอดคล้องกับ
ภารกิจ
1.3 การบริหารจัดการทรัพยากรด้านการศึกษามีประสิทธิภาพ
และเกิดประสิทธิผล
2. ด้า นคุณ ภาพ
2.1 โรงเรียนมีคุณภาพได้ตามมาตรฐาน
2.2 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบ
ระดับชาติสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ
3. ด้า นโอกาสทางการศึก ษา
เพิ่มโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ในโรงเรียนดีที่มีคุณภาพ
เพื่อให้การดำาเนินการตามนโยบายการบริหารจัดการโรงเรียน
ขนาดเล็ก มีการพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพ โรงเรียนจึงจำาเป็น
ต้องปรับเปลี่ยนการดำาเนินการให้เกิดคุณภาพ และประสิทธิภาพ ซึ่ง
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ตระหนักถึงความ
สำาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาประสิทธิภาพโรงเรียนขนาดเล็กในครั้งนี้

15
ส่ว นที่ 4

แนวปฏิบ ัต ิก ารบริห ารจัด การ 4 งานของโรงเรีย นเรีย น
รวม
การบริห ารจัด การงานบุค ลากร
1. อำา นาจการบริห ารสถานศึก ษา
ในการรวมโรงเรียน โดยนำานักเรียนตั้งแต่ 2 โรงเรียนขึ้น
ไป ไปเรียนรวมกัน ก่อนจะดำาเนินการรวมจำาเป็นต้องมีการดำาเนินการ
เบื้องต้นเพื่อลดปัญหาหรือความขัดแย้งที่จะเกิดขึ้นและ
ยัง
เป็นการเตรียมความพร้อม ก่อนการรวม มีแนวทางดำาเนินการ ดังนี้
(1) กรณีที่ 1 โรงเรียนที่ไปเรียนรวมไม่มีผูอำานวยการ
้
โรงเรียน
1) ให้ผู้อำานวยการโรงเรียนหลักทำาหน้าที่ในการบริหาร
จัดการให้ครอบคลุมทุก
ภาระงานการบริหารจัดการศึกษาโรงเรียน
2) โดยผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาน่านเขต 1 ออกคำาสั่งแต่งตั้งผู้อำานวยการโรงเรียนหลัก
ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำานวยการโรงเรียนเรียนรวม ตามมาตรา 69 ของ
พ.ร.บ.ระเบียบครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยอนุมัติจาก
อ.ค.ก.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา
กรณีที่ 2 โรงเรียนที่ไปเรียนรวมมีผู้อำานวยการโรงเรียน
ให้ผู้อำานวยการโรงเรียนทั้งโรงเรียนหลักและโรงเรียนมาเรียนรวม
เลือกปฏิบัติ ดังนี้
แนวทางที่ 1) บริหารร่วมกันโดยตกลงแบ่งหน้าที่
ภายใน กำาหนดบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบตามความสามารถ
หรือตามความเหมาะสม ทั้งนี้การแบ่งความรับผิดชอบ ต้องเกิดจากข้อ
ตกลงร่วมกันจนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง โดยมีรองผู้อำานวยการ
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 และศึกษานิเทศก์
ที่กำากับดูแลโรงเรียนเป็นพยานรับทราบในการตกลงร่วมกัน เสนอให้ผู้
อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 เป็นผู้
ออกคำาสั่งมอบหมายงานภายใน ตามข้อตกลง เว้นแต่เป็นอำานาจหน้าที่
ที่กฎหมายกำาหนดไว้
แนวทางที่ 2) กำาหนดให้ผู้บริหารโรงเรียนหลัก เป็นผู้
มีหน้าที่และใช้อำานาจในการบริหารทั้งโรงเรียนหลักและโรงเรียนมา
เรียนรวม โดยผู้บริหารโรงเรียนมาเรียนรวมเป็นผู้ใช้อำานาจรองจากผู้
บริหารโรงเรียนหลัก เสนอให้ผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาน่าน เขต 1 เป็นผู้ออกคำาสั่งมอบหมายงานภายใน เว้นแต่
เป็นอำานาจหน้าที่ที่กฎหมายกำาหนดไว้
แนวทางที่ 3) ผู้บริหารโรงเรียนหลัก และผู้บริหาร
โรงเรียนที่มาเรียนรวม มีอำานาจหน้าที่บริหารงานโดยอิสระต่อกัน กรณี
ผู้บริหารโรงเรียนใดไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ผู้บริหารโรงเรียนที่
เรียนรวมทำาหน้าที่แทน
(2) ผู้อำานวยการโรงเรียนตาม (1) ดำาเนินการจัดการศึกษา
โดยกำาหนดบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบสำาหรับครูผู้สอนทั้งใน
โรงเรียนหลักและโรงเรียนมารวมในการจัดการเรียน การสอนและภาระ
งานอื่น ๆ

16
2. การย้า ยผู้อ ำา นวยการโรงเรีย น
การย้ายผู้อำานวยการโรงเรียนให้ถือปฏิบัติตามมติ
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาน่าน เขต 1 ในคราวประชุม
ครั้งที่ 5 / 2555 เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ให้สำานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 หาแนวทางในการดูแลแก้ไขปัญหา
การย้ายผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ที่นำานักเรียนไปเรียน
รวมกับโรงเรียนหลักตามแนวทางการบริหารจัดการบุคลากรโรงเรียน
ควบรวม
ของสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นกรณีพิเศษ เพื่อ
ให้การดำาเนินการพิจารณาย้ายผู้บริหารสถานศึกษากรณีเพื่อแก้ปัญหา
การบริหารจัดการในสถานศึกษาเรียนรวม เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการย้ายผู้บริหารสถานศึกษาที่ ก.ค.ศ. กำาหนด ตามหนังสือ
สำานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.4/ว 9 ลงวันที่ 29 กรกฎาคม 2554
โดยอนุโลม โดยความเห็นชอบของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาประถม
ศึกษาน่าน เขต 1 ในคราวประชุมครั้งที่ 8 / 2555 เมื่อวันที่ 24
กรกฎาคม 2555 ซึ่งประกาศนโยบายการพิจารณาย้ายผู้บริหารสถาน
เพื่อแก้ปัญหาการบริหารจัดการในสถานศึกษาเรียนรวม สังกัด
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1
ดังนี้
ก. ความหมาย
1) การย้าย หมายถึง การแต่งตั้งผู้บริหารสถานศึกษาให้
ดำารงตำาแหน่งเดิมในสถานศึกษาอื่น
2) ผู้บริหารสถานศึกษาเรียนรวม หมายถึง ผู้บริหารสถาน
ศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กที่
นำานักเรียน ไปเรียนรวมกับโรงเรียนหลัก ตามประกาศของสำานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาน่าน เขต 1
3) สถานศึกษาที่มีขนาดไม่ใหญ่กว่าเดิม หมายถึง สถาน
ศึกษาที่มีขนาดของจำานวนนักเรียนไม่เกิน 80 คน
ข. แนวทางการพิจ ารณาย้า ย
ให้นำาหลักเกณฑ์และวิธีการย้ายกรณีเพื่อประโยชน์ของ
ทางราชการ ตามนัยหนังสือสำานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.4/ว 9 ลงวัน
ที่ 29 กรกฎาคม 2554 ได้แก่ การย้ายเพื่อแก้ปัญหาการบริหารจัดการ
ในสถานศึกษา มาใช้โดยอนุโลม ดังนี้
1) การย้ายเพื่อแก้ปัญหาการบริหารจัดการในสถานศึกษา
กรณีที่เกิดปัญหาในสถานศึกษาเรียนรวมที่ส่งผลกระทบ
ต่อการบริหารจัดการ และมีความจำาเป็นต้องย้ายผู้บริหารสถานศึกษา
เรียนรวมเพื่อแก้ปัญหานั้น ให้คำานึงถึงความเหมาะสม ประโยชน์ของ
ทางราชการและความเป็นธรรมแก่ผู้บริหารสถานศึกษานั้นด้วย
2) ขั้นตอนการดำาเนินการพิจารณาย้าย
2.1) กรณีมีตำาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาที่มี จำา นวน
นัก เรีย นไม่เ กิน 80 คน ว่างลง
ให้สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 แจ้งให้ผู้
บริหารสถานศึกษาเรียนรวมที่ประสงค์ขอย้ายยื่นคำาร้องขอย้าย โดยจัด
ทำาข้อมูลที่ชัดเจนว่ามีปัญหาในการบริหารจัดการในสถานศึกษาจริง ให้
สรุปข้อเท็จจริงพร้อมเอกสารหลักฐานและความเห็นของคณะกรรมการ
สถานศึกษา เสนอไปยังสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน
เขต 1 เพื่อเสนอเรื่องให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน
เขต 1 พิจารณา
17
2.2) การพิจารณาย้ายผู้บริหารสถานศึกษาเรียนรวม
ให้พิจารณาย้ายไปยังสถานศึกษาที่มีขนาดไม่ใหญ่กว่าเดิมเท่านั้น
2.3) ให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
น่าน เขต 1 พิจารณาย้ายเป็นรายๆ ไปโดยให้ระบุเหตุผล ความจำาเป็น
และประโยชน์ที่ทางราชการจะได้รับจากการย้ายผู้บริหารสถานศึกษาผู้
นั้นให้ชัดเจน
กรณีมีผู้บริหารสถานศึกษาเรียนรวมยื่นคำาร้องขอย้าย
เกินกว่าหนึ่งราย อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1
ให้นำาองค์ประกอบการประเมินศักยภาพการย้ายผู้บริหารสถานศึกษา
มาบังคับใช้โดยอนุโลม
2.4) เมื่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
น่าน เขต 1 พิจารณาอนุมัติย้ายผู้บริหารสถานศึกษาเรียนรวมแล้ว ให้ผู้
มีอำานาจตามมาตรา 53 สั่งแต่งตั้งผู้บริหารสถานศึกษาผู้นั้น
2.5) เมื่อออกคำาสั่งแต่งตั้งแล้ว ให้ส่งสำาเนาคำาสั่งให้
สำานักงาน ก.ค.ศ. และสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จำานวน 2 ชุด ภายใน 7 วัน นับแต่วันออกคำาสั่ง
3. แนวทางการบริห ารงานบุค คล
3.1 การเลื่อนขั้นเงินเดือน
1) ให้นับจำานวนครูผู้สอนรวมกัน เพื่อคิดคำานวณ
โควต้ารวมในการเลื่อนขั้นเงินเดือน
2) ให้ผู้บริหารโรงเรียนที่ได้รับมอบหมายงานบริหาร
บุคคล เป็นผู้เสนอความดี ความชอบ ผ่านคณะกรรมการกลั่นกรองของ
สถานศึกษาร่วมกัน
3) การออกคำาสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนให้เป็นไปตามที่
กฎหมายกำาหนด
3.2 การลา
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ทั้ง
โรงเรียนหลักและโรงเรียนที่มาเรียนรวม เสนอใบอนุญาตการลาต่อผู้
บริหารโรงเรียนที่ได้รับมอบหมายในการบริหารงานบุคคล เป็นผู้มี
อำานาจพิจารณาอนุมัติการลาทุกประเภท
3.3 การอนุมัติไปราชการ
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ทั้ง
โรงเรียนหลักและโรงเรียนที่มาเรียนรวม เสนอขออนุมัติไปราชการต่อผู้
บริหารโรงเรียนที่ได้รับมอบหมายในการบริหารงานบุคคล เป็นผู้มี
อำานาจพิจารณาอนุมัติการไปราชการ
3.4 การดำาเนินการทางวินัย
ให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำาหนด
3.5 ให้ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา เห็นชอบให้โรงเรียน
ที่เปิดศูนย์การเรียนรวมสามารถ
กำาหนดวิชาเอก ในการขอรับย้ายครูผู้สอน
3.6 การใดนอกเหนือจากนี้ ให้ดำาเนินการตามที่กฎหมาย
กำาหนด
4. บุค ลากรสนับ สนุน การสอน
ในการรวมโรงเรียน ให้บุคลากรสนับสนุนการสอน เช่น
ลูกจ้าง พนักงานราชการ พนักงานธุรการ ครูอัตราจ้างหรือพนักงาน
บริการอื่น ๆ จากโรงเรียนมาเรียนรวมปฏิบัติหน้าที่ ที่โรงเรียนหลัก
จนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง
18
5. คณะกรรมการสถานศึก ษาขั้น พื้น ฐาน
ในระยะเริ่มแรกก่อนมีการประกาศรวมโรงเรียน ให้คณะ
กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของแต่ละโรงเรียน ยังคงสถานะเป็น
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนนั้น ๆ อยู่ ให้คณะ
กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งของโรงเรียนหลักและโรงเรียนมา
เรียนรวม ร่วมกันในการจัดการศึกษาที่โรงเรียนหลัก จนกว่าจะมี
ประกาศรวมโรงเรียนแล้วให้เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พื้นฐานคณะใหม่ ตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด แต่ทั้งนี้ควรให้ครอบคลุม
และเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนใหม่หลังรวมโรงเรียนแล้ว

การบริห ารจัด การงานวิช าการ
จากการศึกษาสภาพปัญหาพบว่า โรงเรียนขนาดเล็กส่วนใหญ่
ประสบปัญหาด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านความ
พร้อมทางปัจจัยของโรงเรียนและด้านการมีส่วนร่วม เพื่อให้การดำาเนิน
งานมีประสิทธิภาพ จึงกำาหนดแนวปฏิบัติการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กใน
การเรียนรวม ดังนี้
1. งานพัฒ นาหลัก สูต ร
ในระยะเริ่มแรกให้ดำาเนินการดังนี้
1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ
ของโรงเรียนร่วมกันระหว่างโรงเรียนหลักและโรงเรียนมารวม โดยผู้
อำานวยการโรงเรียนหลัก หรือผู้อำานวยการโรงเรียนที่ได้รับมอบหมาย
เป็นผู้ ลงนามแต่งตั้ง
1.2 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของ
โรงเรียน ศึกษา วิเคราะห์เอกสารหลักสูตร วิเคราะห์สภาพแวดล้อม
บริบทของโรงเรียนหลักและโรงเรียนมารวม เพื่อกำาหนดวิสัยทัศน์
ภารกิจ เป้าหมาย โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
1.3 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของ
โรงเรียน ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบท
สภาพแวดล้อมของโรงเรียนหลักและโรงเรียนมารวม ทั้งนี้ให้ดำาเนินการ
ตามกระบวนการจัดทำาหลักสูตรสถานศึกษา
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ
แผนฯ

More Related Content

Similar to แผนฯ

ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556 ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556 Duangnapa Inyayot
 
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้JaengJy Doublej
 
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]Anna Wongpattanakit
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Nichakorn Sengsui
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 

Similar to แผนฯ (20)

ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 7
 
จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8
 
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556 ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
 
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
 
แผนอบรมยาเสพติด
แผนอบรมยาเสพติดแผนอบรมยาเสพติด
แผนอบรมยาเสพติด
 
C hapter 8 ppt
C hapter 8 pptC hapter 8 ppt
C hapter 8 ppt
 
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Sar2553
Sar2553Sar2553
Sar2553
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 8
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 8ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 8
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
plan ablpn 2561 กลยุทธ์ที่ 1 .
plan ablpn  2561 กลยุทธ์ที่ 1 .plan ablpn  2561 กลยุทธ์ที่ 1 .
plan ablpn 2561 กลยุทธ์ที่ 1 .
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 

แผนฯ

  • 1.
  • 2. คำำ นำำ สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 เป็น หน่วยงำนที่มีภำรกิจรับผิดชอบ กำรจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ซึ่ง โรงเรียนขนำดเล็กเป็นประเด็นหนึ่งที่สำำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำ ขั้นพื้นฐำนและสำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 ให้ควำมสำำคัญและสนับสนุนส่งเสริมเพื่อให้โรงเรียนสำมำรถบริหำร จัดกำรและจัดกำรเรียนกำรสอนส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้ อย่ำงมี คุณภำพโรงเรียนขนำดเล็กส่วนใหญ่ประสบปัญหำด้ำนกำรบริหำร จัดกำร ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภำพและประสิทธิภำพของกำร จัดกำรศึกษำ ดังนั้นเพื่อให้กำรพัฒนำคุณภำพโรงเรียนขนำดเล็กเกิด ประสิทธิภำพด้ำนกำรบริหำรจัดกำรอันส่งผลต่อคุณภำพนักเรียนให้มี คุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนให้มีขนำดที่ เหมำะสมกับควำมต้องกำรของท้องถิ่น สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ประถมศึกษำน่ำน เขต 1 จึงได้จัดทำำแผนพัฒนำประสิทธิภำพกำร บริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็กให้มีขนำดที่เหมำะสมกับท้องถิ่นขึ้น เพื่อเป็นแนวทำงในกำรปฏิบัติงำนของผู้บริหำร ครูและบุคลำกรทำงกำร ศึกษำในกำรพัฒนำโรงเรียนขนำดเล็ก เป็นเครื่องมือในกำรนิเทศ ติดตำม ชี้แนะ ให้ควำมช่วยเหลือ คำำปรึกษำ นิเทศติดตำมควำม ก้ำวหน้ำกำรจัดกำรเรียนกำรสอนของโรงเรียนขนำดเล็กให้มีคุณภำพ ตำมมำตรฐำนกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ตำมเป้ำหมำยอย่ำงมีประสิทธิภำพ และเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องเข้ำใจบริบท โดยรวมของโรงเรียนในสังกัด สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 ให้ควำมร่วมมือ ส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำให้มีคุณภำพ ขอขอบพระคุณผู้มีส่วนร่วมทุกท่ำนในกำรจัดทำำแผนพัฒนำ ประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็กให้มีขนำดที่เหมำะสม กับท้องถิ่น ฉบับนี้ ให้มีควำมถูกต้องเหมำะสม และสำำเร็จลุล่วงด้วยดี สำำ นัก งำนเขตพื้น ที่ก ำรศึก ษำประถมศึก ษำน่ำ น เขต 1
  • 3. สำรบัญ ส่ว นที่ 1 บทนำำ เรื่อ ง ส่ว นที่ 2 แผนพัฒ นำประสิท ธิภ ำพกำรบริห ำรจัด กำร โรงเรีย นขนำดเล็ก ให้ม ีข นำดที่เ หมำะสมกับ ท้อ งถิ่น ส่ว นที่ 3 กำรบริห ำรจัด กำรโรงเรีย นขนำดเล็ก รูปแบบกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็ก กำรบริหำรจัดกำรกำรเดินทำงไปเรียนรวม กำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็กที่ประสงค์จะดำำรง อยู่ ภำพควำมสำำเร็จ ส่ว นที่ 4 แนวปฏิบ ัต ิก ำรบริห ำรจัด กำร 4 งำน ของ โรงเรีย นเรีย นรวม กำรบริหำรจัดกำรงำนบริหำรบุคคล กำรบริหำรจัดกำรงำนวิชำกำร กำรบริหำรจัดกำรงำนบริหำรทั่วไป กำรบริหำรจัดกำรงำนงบประมำณ ส่ว นที่ 5 กำรบริห ำรจัด กำรโรงเรีย นขนำดเล็ก ที่ หน้ำ 1 5 10 10 12 14 14 15 15 18 20 21 24
  • 4. ประสบผลสำำ เร็จ ตัวอย่ำงกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็กที่ประสบ ผลสำำเร็จ -รูปแบบโรงเรียนเครือข่ำย -รูปแบบโรงเรียนศูนย์กำรเรียนรวม -รูปแบบโรงเรียนเรียนรวม(ทุกชั้น) -รูปแบบโรงเรียนเรียนรวม(บำงชั้น) -รูปแบบโรงเรียนจัดกำรเรียนกำรสอนแบบคละชั้น ภำคผนวก ตัวอย่ำงกำรบริหำรงบประมำณแบบบูรณำกำร ข้อมูลโรงเรียนขนำดเล็กในสังกัดสำำนักงำนเขตพื้นที่ กำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 คำำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมกำรจัดทำำแผนพัฒนำ ประสิทธิภำพ กำรบริหำรจัดกำร โรงเรียนขนำดเล็ก ให้มีขนำดที่เหมำะสมกับท้องถิ่น 24 24 30 35 37 39 41 46 1 ส่ว นที่ 1 บทนำำ สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 เป็น หน่วยงำนหลักในกำรดำำเนินกำร จัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน โดยมีกลุ่มโรงเรียน โรงเรียนเป็นหน่วยปฏิบัติ ในกำรจัดกำรศึกษำ ซึ่งสำำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน มีนโยบำยกระจำยอำำนำจกำรบริหำรจัดกำรศึกษำให้แก่หน่วยงำนทุก ระดับ โดยในส่วนของโรงเรียนให้กำรบริหำรจัดกำรโดยใช้โรงเรียน เป็นฐำน ( School – Based Management) มีกำรกระจำยอำำนำจทั้ง 4 งำน เน้นกำรให้ผู้มีส่วนได้เสียเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำ โรงเรียนทั้งระบบ กำรบริหำรจัดกำรมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงำนตำม ยุทธศำสตร์ ( Strategic Result- Based Management) แต่กำรกระ จำยทรัพยำกรที่มีอยู่อย่ำงจำำกัดให้ทั่วถึงย่อมเป็นไปได้ยำก โดยเฉพำะ
  • 5. อย่ำงยิ่งกำรดำำเนินงำนบริหำรจัดกำรในโรงเรียนขนำดเล็ก ที่พบว่ำ คุณภำพทำงกำรศึกษำค่อนข้ำงตำ่ำเมื่อเปรียบเทียบกับโรงเรียนขนำด กลำงและขนำดใหญ่ เนื่องจำกขำดควำมพร้อมด้ำนปัจจัยหลำยประกำร สอดคล้องกับผลกำรประเมินของสำำนักงำนรับรองมำตรฐำนและประเมิน คุณภำพกำรศึกษำ (องค์กำรมหำชน) ที่พบว่ำผลสัมฤทธิ์ทำงกำรศึกษำ ระดับชำติโดยรวมยังตำ่ำ และโรงเรียนจำำนวนมำกยังไม่สำมำรถพัฒนำ คุณภำพนักเรียนได้อย่ำงพึงพอใจ ส่วนใหญ่เป็นโรงเรียนขนำดเล็ก และ จำกกำรประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำในโรงเรียนของสำำนักงำนคณะ กรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (สำำนักนโยบำยกำรศึกษำขั้นพื้น ฐำน,2551) พบว่ำกำรดำำเนินงำนจัดกำรศึกษำในโรงเรียนขนำดเล็กที่ ไม่ประสบผลสำำเร็จ ซึ่งมีขอสังเกต 3 ประเด็น คือ ด้ำนกำรจัดกำรเรียน ้ กำรสอน กำรบริหำรจัดกำรโรงเรียน และประสิทธิภำพกำรจัดกำรศึกษำ ดังนี้ 1.ด้ำ นกำรจัด กำรเรีย นกำรสอน (1) ครูไม่ครบชั้นและไม่ครบวิชำเอก เนื่องจำก โรงเรียนมีนักเรียนจำำนวนน้อย และครูขำดทักษะกำร บูรณำกำรทั้งด้ำน เนื้อหำและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (2) เนื่องจำกกำรจัดกำรเรียนกำรสอนแบบคละชั้นเป็น เรื่องใหม่ ครูและผู้ปกครองนักเรียนจำำนวนหนึ่งยังไม่เชื่อมั่นในกำร จัดกำรเรียนกำรสอนลักษณะนี้ (3) กำรละเลยกำรรู้จักเด็กและติดตำมกำรพัฒนำเด็ก เป็นรำยบุคคล ทำำให้นักเรียนจำำนวนหนึ่งเรียนไม่ทันและอำจถูกทอดทิ้ง (4) บทเรียนและกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนไม่น่ำสนใจ ที่จะจูงใจนักเรียนให้กระตือรือร้นต่อกำรเรียน (5) ครูมีงำนธุรกำรจำำนวนมำก ทำำให้มีเวลำสำำหรับ นักเรียนน้อย เช่น สร้ำงควำมอบอุ่นและควำมใกล้ชิดกับนักเรียน บรรยำกำศประชำธิปไตยในห้องเรียนและเคำรพควำมคิดเห็นและสิทธิ ของนักเรียน 2.กำรบริห ำรจัด กำรโรงเรีย น (1) กำรมีส่วนร่วมของคณะกรรมกำรสถำนศึกษำ ขั้นพื้นฐำนยังมีบทบำทน้อยแต่ขำดควำมเข้ำใจชัดเจนเกี่ยวกับบทบำท หน้ำที่ของคณะกรรมกำร 2
  • 6. (2) แม้โรงเรียนได้ดำำเนินกำรตำมระบบประกัน คุณภำพภำยใน แต่ระบบควำมรับผิดชอบต่อผลงำน (Accountability System) ยังขำดควำมชัดเจน ซึ่งสมควรส่งเสริมและพัฒนำ โดยมีองค์ ประกอบที่สำำคัญได้แก่ -กำรวำงแผนพัฒนำโรงเรียนระยะปำนกลำง 4 ปี และ แผนปฏิบัติกำรประจำำปี -กำรประเมินผลควำมก้ำวหน้ำกำรปฏิบัติงำนของ โรงเรียนโดยกำรประเมินหรือทบทวนผลงำนของตนเอง -กำรรำยงำนผลกำรปฏิบัติงำนประจำำปีต่อคณะ กรรมกำรสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำน ผู้ปกครอง ชุมชน สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำและ สำธำรณชน -สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำติดตำม ควำมก้ำวหน้ำกำรดำำเนินงำนของ โรงเรียนเป็นรำยโรง 3. ประสิท ธิภ ำพกำรจัด กำรศึก ษำ ภำยใต้ทรัพยำกรทำงกำรศึกษำที่มีอยู่อย่ำงจำำกัด กำร วำงแผนกำรจัดกำรศึกษำจึงมีควำมสำำคัญอย่ำงยิ่งที่ส่งผลกระทบต่อ คุณภำพและประสิทธิภำพกำรจัดกำรศึกษำ ซึ่งสมควรพิจำรณำสำระ สำำคัญดังต่อไปนี้ (1) กำรเพิ่มอัตรำครูต่อนักเรียนเป็นประเด็นสำำคัญที่ จำำเป็นต้องมีกำรจัดกำรอย่ำงจริงจัง โดยมีกำรวำงแผนอัตรำกำำลังเมื่อมี กำรเกษียณอำยุรำชกำรและกำรบรรจุแต่งตั้งครูใหม่ (2) กำรพัฒนำบุคลำกร ครูและผู้บริหำรโรงเรียนยัง ทำำได้น้อย และส่วนใหญ่จะพัฒนำครูด้ำนอื่นๆ มำกกว่ำด้ำนกำรเรียน กำรสอน (3) ระบบกำรจัดสรรงบประมำณและทรัพยำกรเพื่อกำร ศึกษำ ซึ่งยังต้องพัฒนำให้มีประสิทธิภำพเนื่องจำกยังมีกำรได้เปรียบเสีย เปรียบกันระหว่ำงโรงเรียน ซึ่งโดยหลักกำรควรคำำนึงถึง - ควำมเป็นธรรม (Equity) เป็นหลักกำรพื้นฐำน ของกำรสนับสนุนงบประมำณให้แก่โรงเรียนว่ำ จะต้องไม่มีโรงเรียนใดๆ ได้รับงบประมำณอย่ำงได้เปรียบโรงเรียนอื่น - ควำมยุติธรรม (Fairness) กล่ำวคือ โรงเรียน ที่มีลักษณะหรือองค์ประกอบคล้ำยกันควรได้รับงบประมำณจำำนวนเท่ำ กันหรือไม่แตกต่ำงกัน
  • 7. (4) โรงเรียนตัดสินใช้งบประมำณโครงกำรต่ำงๆ ที่ ทำำให้เกิดผลกำรพัฒนำเหมำะสมกับควำมต้องกำรจำำเป็นของนักเรียน ทั้งนี้ ภำยใต้กรอบนโยบำยและมำตรฐำนของรัฐ (5) กำรจัดศูนย์เครือข่ำยโรงเรียน เพื่อให้เกิดควำม ร่วมมือและกำรใช้ทรัพยำกรร่วมกันระหว่ำงโรงเรียนที่อยู่ใกล้เคียงกัน (6) กำรรวมและเลิกโรงเรียน หำกมีนักเรียนจำำนวน น้อยมำก โรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกันและกำรคมนำคมสะดวก จำกแนวคิดและหลักกำรดังกล่ำวกระทรวงศึกษำธิกำรโดย กำรนำำของศำสตรำจำรย์สุชำติ ธำดำธำำรงเวช รัฐมนตรีว่ำกำร กระทรวงศึกษำธิกำรได้มอบนโยบำยในกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียน ขนำดเล็ก เมื่อวันที่ 9 กุมภำพันธ์ 2555 สรุปได้ดังนี้ 1. นโยบำยหลัก คือ กำรให้โอกำสนักเรียนได้รับกำรศึกษำที่ มีคุณภำพ ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลำง 3 คนลงมำ 2. บริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็กที่มีนักเรียนจำำนวน 60 -ไปเรียนรวมกับโรงเรียนขนำดใหญ่หรือโรงเรียนที่อยู่ ใกล้เคียงกัน และมีพำหนะเดินทำงที่สะดวกปลอดภัย -โรงเรียนที่อยู่ห่ำงไกล หรือพื้นที่พิเศษไม่สำมำรถควบ รวมกับโรงเรียนใดได้ควรจัดระบบกำรสอนทำงไกลเข้ำมำช่วย และให้ผู้ ปกครองและท้องถิ่นเข้ำมำมีส่วนร่วมให้กำรสนับสนุน 3. กำรควบรวมโรงเรียน เป้ำหมำยคือให้นักเรียนมีคุณภำพดี ขึ้น จัดหำอุปกรณ์กำรเรียนที่ทันสมัย จัดหำครูเก่งไปสอนนักเรียนใน โรงเรียนควบรวม 4. ผู้ปกครองเป็นคนตัดสินใจเลือกสถำนที่เรียนให้นักเรียน โดยรัฐจะสนับสนุนงบประมำณค่ำพำหนะเดินทำง หรือจัดรถรับส่ง นักเรียน และครูเดินทำงไปสอนโรงเรียนที่ควบรวม สภำพปัญ หำของโรงเรีย นขนำดเล็ก สัง กัด สำำ นัก งำนเขต พื้น ที่ก ำรศึก ษำประถมศึก ษำน่ำ นเขต 1 สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 มี โรงเรียนในสังกัดทั้งสิ้น จำำนวน 202 โรงเรียน 4 สำขำ (ไม่มีนักเรียน จัดกำรเรียนกำรสอน จำำนวน 3 โรง คือโรงเรียนบ้ำนห้วยยื่น โรงเรียน บ้ำนดอย และโรงเรียนชุมชนบ้ำนดอนมูล) คงเหลือโรงเรียนจัดกำร เรียนกำรสอน จำำนวน 199 โรงเรียน 4 สำขำ เป็นโรงเรียนขนำดเล็กที่
  • 8. มีนักเรียน 120 คนลงมำ จำำนวน 150 โรงเรียน 3 สำขำ และ ในจำำนวน นี้ เป็นโรงเรียนขนำดเล็กมำกที่มีนักเรียน 60 คนลงมำ จำำนวน 101 โรงเรียน 2 สำขำ (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนำยน 2555 ) ซึ่งสรุปผลกำร บริหำรจัดกำรได้ดังนี้ 1. โรงเรียนที่จัดกำรศึกษำโดยมีควำมจำำเป็นต้องดำำรงอยู่ จำำนวน 80 โรงเรียน 2 สำขำ จำำแนกรำยอำำเภอ ได้ดังนี้ 1.1 อำำเภอเมืองน่ำน จำำนวน 17 โรงเรียน 1 สำขำ 1.2 อำำเภอแม่จริม จำำนวน 6 โรงเรียน 1.3 อำำเภอบ้ำนหลวง จำำนวน 2 โรงเรียน 1.4 อำำเภอนำน้อย จำำนวน 10 โรงเรียน 1.5 อำำเภอเวียงสำ จำำนวน 28 โรงเรียน 1.6 อำำเภอนำหมื่น จำำนวน 9 โรงเรียน 1 สำขำ 1.7 อำำเภอสันติสุข จำำนวน 1 โรงเรียน 1.8 อำำเภอภูเพียง จำำนวน 7 โรงเรียน 2. โรงเรียนที่จัดกำรศึกษำแบบเรียนรวม มีนักเรียน จำำนวน 19 โรงเรียน ไม่มีนักเรียน จำำนวน 1 โรงเรียน จำำแนกรำยอำำเภอ ได้ ดังนี้ 2.1 อำำเภอเมืองน่ำน มีนักเรียนจำำนวน 4 โรงเรียน ไม่มี นักเรียน จำำนวน 1 โรงเรียน 2.2 อำำเภอบ้ำนหลวง จำำนวน 2 โรงเรียน 2.3 อำำเภอนำน้อย จำำนวน 1 โรงเรียน 2.4 อำำเภอเวียงสำ จำำนวน 6 โรงเรียน 2.5 อำำเภอภูเพียง จำำนวน 6 โรงเรียน 4 3. โรงเรียนที่จัดกำรศึกษำแบบโรงเรียนเครือข่ำย จำำนวน 2 โรงเรียน จำำแนกรำยอำำเภอ ได้ดังนี้ 3.1 อำำเภอนำน้อย จำำนวน 2 โรงเรียน 4. โรงเรียนที่ไม่มีนักเรียน จำำนวน 3 โรงเรียน จำำแนกรำย อำำเภอ ได้ดังนี้ 4.1 อำำเภอเมืองน่ำน จำำนวน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียน ชุมชนบ้ำนดอนมูล(เรียนรวม) และโรงเรียนบ้ำนห้วยยื่น 4.2 อำำเภอบ้ำนหลวง จำำนวน 1 โรงเรียน คือ โรงเรียนบ้ำน ดอย จำกกำรประชุมร่วมกันระหว่ำงสำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ โรงเรียน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
  • 9. กับโรงเรียน พบว่ำโรงเรียนขนำดเล็กส่วนใหญ่ประสบปัญหำ ดังนี้ 1. มีครูไม่ครบชั้น ซึ่งส่งผลให้โรงเรียนประสบปัญหำในกำร จัดกระบวนกำรเรียนกำรสอน เนื่องจำกครูต้องรับผิดชอบนักเรียนหลำย ชั้นจึงไม่สำมำรถพัฒนำเด็กด้วยวิธีกำรสอนที่หลำกหลำยได้ 2. ขำดวัสดุอุปกรณ์ในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน เนื่องจำก กำรจัดสรรงบประมำณ ในปัจจุบันจัดสรรตำมรำยหัวของนักเรียนที่มีอยู่ จริง ทำำให้งบประมำณที่จะนำำมำใช้ในกำรพัฒนำกำรเรียนกำรสอนไม่ เพียงพอ 3. มีข้อจำำกัดในกำรจัดกิจกรรมกำรสอน เนื่องจำกจำำนวน นักเรียนมีน้อย กำรจัดกิจกรรมกลุ่มเป็นไปด้วยควำมลำำบำก ส่งผลให้ เกิดควำมเบื่อหน่ำยทั้งครูและนักเรียน 4. ขวัญและกำำลังใจของครูตำ่ำเนื่องจำกรับผิดชอบนักเรียน จำำนวนน้อย หรือรับผิดชอบนักเรียนหลำยชั้น ซึ่งส่งผลให้ครูขำดกำร พัฒนำงำนสอน ไม่มีควำมก้ำวหน้ำทำงอำชีพ 5. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนตำ่ำ เนื่องจำกมีครูไม่ ครบชั้น ไม่มีครูเฉพำะวิชำโดยเฉพำะในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้หลัก 6. ผู้ปกครอง ชุมชน ยังต้องกำรให้มีโรงเรียนดำำรงสภำพอยู่ คู่กับหมู่บ้ำน ชุมชน ไม่ยินยอมให้โรงเรียนจัดกำรเรียนกำรสอนแบบ เรียนรวมตำมนโยบำยกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็ก ภำยใต้ข้อจำำกัดดังกล่ำว สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ประถมศึกษำน่ำน เขต 1 จึงตระหนักถึงควำมสำำคัญ ในกำรยกระดับ คุณภำพโรงเรียนขนำดเล็กให้มีควำมเสมอภำคทำงด้ำนโอกำสทำงกำร ศึกษำ สำมำรถจัดกำรเรียนกำรสอนที่มีคุณภำพตำมเกณฑ์มำตรฐำน อย่ำงมีประสิทธิภำพ มีกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนให้มีขนำดที่เหมำะสม กับควำมต้องกำรของท้องถิ่น จึงได้จัดทำำแผนพัฒนำประสิทธิภำพกำร บริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็กให้มีขนำดที่เหมำะสมกับท้องถิ่น เพื่อ เป็นแนวทำงในกำรปฏิบัติงำนของผู้บริหำร ครูและบุคลำกรทำงกำร ศึกษำในกำรพัฒนำโรงเรียนขนำดเล็ก เป็นเครื่องมือในกำรนิเทศ ติดตำม ชี้แนะ ให้ควำมช่วยเหลือ คำำปรึกษำ นิเทศติดตำมควำม ก้ำวหน้ำกำรจัดกำรเรียนกำรสอนของโรงเรียนขนำดเล็กให้มีคุณภำพ ตำมมำตรฐำนกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ตำมเป้ำหมำยอย่ำงมีประสิทธิภำพ และเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องเข้ำใจบริบทและมองเห็นภำพโดยรวมของ โรงเรียนในสังกัดสำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 ให้ควำมร่วมมือส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำให้มีคุณภำพต่อไป
  • 10. 5 ส่ว นที่ 2 แผนพัฒ นำประสิท ธิภ ำพกำรบริห ำรจัด กำร โรงเรีย นขนำดเล็ก ให้ม ีข นำดที่เ หมำะสมกับ ท้อ งถิ่น วิส ัย ทัศ น์ ปี 2558 โรงเรียนขนำดเล็ก ในสังกัดสำำนักงำนเขตพื้นที่กำร ศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 จัดกำรศึกษำ ได้อย่ำงมีคุณภำพตำม เกณฑ์มำตรฐำน สนองต่อควำมต้องกำรของท้องถิ่นโดยกำรมีส่วนร่วม ทุกภำคส่วน พัน ธกิจ 1. ส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำโรงเรียนขนำดเล็กให้มีคุณภำพตำม เกณฑ์มำตรฐำน 2. ส่งเสริมให้ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมใน กำรพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำร่วมกับโรงเรียนและสำำนักงำนเขตพื้นที่กำร ศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 เป้ำ ประสงค์ 1. โรงเรียนขนำดเล็กในสังกัดสำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ประถมศึกษำน่ำน เขต 1 มีกำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำได้ตำม เกณฑ์มำตรฐำน 2. ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมในกำรพัฒนำ คุณภำพกำรจัดกำรศึกษำร่วมกับโรงเรียนและสำำนักงำนเขตพื้นที่กำร ศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 จุด เน้น 1. ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน 5 กลุ่มสำระหลักเพิ่มขึ้นสูงกว่ำค่ำเฉลี่ย ระดับประเทศ 2. ผู้เรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 3 ทุกคนอ่ำนออกเขียนได้คิดเลข เป็น 3. โรงเรียนขนำดเล็กในสังกัด มีระบบประกันคุณภำพภำยในที่ เข้มแข็งและได้รับกำรรับรองผ่ำนเกณฑ์มำตรฐำน จำกสำำนักงำนรับรอง มำตรฐำนและประเมินคุณภำพกำรศึกษำ(องค์กำรมหำชน)
  • 11. 4. โรงเรียนขนำดเล็กที่มีนักเรียน 60 คนลงมำ มีกำรเรียนรวมตำม นโยบำยกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำดเล็กเพิ่มขึ้น 5. ส่งเสริมให้ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมใน กำรพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำร่วมกับโรงเรียนและเขตพื้นที่กำรศึกษำ กลยุท ธ์ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำโรงเรียนขนำดเล็กให้ เป็นไปตำมเกณฑ์มำตรฐำน กลยุทธ์ที่ 2 เผยแพร่ประชำสัมพันธ์ กำรบริหำรจัดกำรโรงเรียน ขนำดเล็ก และส่งเสริมให้ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วน ร่วมในกำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ 6 กลยุท ธ์ท ี่ 1 พัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำโรงเรียนขนำดเล็กให้เป็น ไปตำมเกณฑ์มำตรฐำน กิจ กรรม 1. ส่งเสริม กำรนิเทศ กำำกับ ติดตำม ให้โรงเรียนขนำดเล็กมี กำรพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำหลำกหลำยรูปแบบ ได้แก่ โครงกำร/ กิจกรรม 1.1 ส่งเสริมสนับสนุนสถำนศึกษำให้มีควำมเข้มแข็งผ่ำน กำรรับรองมำตรฐำน 1.2 พัฒนำระบบนิเทศ ติดตำม ประเมินผล กำรดำำเนินงำน สถำนศึกษำ 1.3 ต่อยอดกำรเรียนรู้สู่ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้ 5 กลุ่ม สำระ 1.4 พัฒนำกำรจัดกำรเรียนรู้ 8 กลุ่มสำระ 1.5 พัฒนำผู้เรียนชั้น ป.3 ให้อ่ำนออกเขียนได้ 1.6 พัฒนำทักษะกำรคิดเลขเป็น คิดเลข คล่อง ป.1-6 1.7 ยกระดับผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียน 2. สรรหำโรงเรียนขนำดเล็กที่มีวิธีบริหำรจัดกำรศึกษำ โดย พัฒนำคุณภำพผู้เรียนได้ตำมเกณฑ์มำตรฐำนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ได้ อย่ำงต่อเนื่อง เป็นต้นแบบแก่โรงเรียนในสังกัด 3. จัดทำำเกียรติบัตร ยกย่อง ชมเชย โรงเรียนขนำดเล็กที่มี วิธีบริหำรจัดกำรโรงเรียนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพอย่ำงต่อเนื่อง
  • 12. 4. เผยแพร่ประชำสัมพันธ์โรงเรียนต้นแบบไปสู่โรงเรียนที่ จำำเป็นต้องพัฒนำให้มีคุณภำพตำมเกณฑ์มำตรฐำน 5. ส่งเสริมให้โรงเรียนขนำดเล็กมีกำรเรียนรวม ตำม นโยบำยรัฐบำล 6. เสริมสร้ำงขวัญกำำลังใจให้แก่ ครู และผู้บริหำรโรงเรียน ที่มีส่วนส่งเสริมพัฒนำประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำด เล็กให้มีขนำดที่เหมำะสมกับท้องถิ่น 7. สนับสนุนงบประมำณกำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำด เล็กให้ต่อเนื่อง รวดเร็ว โดยเฉพำะโรงเรียนหลัก กำรจัดหำพำหนะ และ ค่ำพำหนะรับส่งนักเรียน กลยุท ธ์ท ี่ 2 เผยแพร่ประชำสัมพันธ์ กำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำด เล็ก และส่งเสริมให้ชุมชนและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมในกำรพัฒนำคุณภำพ กำรจัดกำรศึกษำ กิจ กรรม 1. เผยแพร่ประชำสัมพันธ์นโยบำยกำรบริหำรจัดกำร โรงเรียนขนำดเล็กให้ชุมชนและท้องถิ่นได้รับทรำบ 2. รำยงำนผลกำรจัดกำรศึกษำโรงเรียนขนำดเล็กให้ โรงเรียน ชุมชนและท้องถิ่น ได้รับทรำบต่อเนื่อง ทุกปี 3. ส่งเสริมให้ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วน ร่วมในกำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ 7 แผนพัฒ นำประสิท ธิภ ำพกำรบริห ำรจัด กำรโรงเรีย นขนำดเล็ก ให้ม ีข นำดที่เ หมำะสมกับ ท้อ งถิ่น ปีง บประมำณ 2556 - ปี 2558 กลยุท ธ์ท ี่ 1 พัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำโรงเรียนขนำดเล็กให้เป็น ไปตำมเกณฑ์มำตรฐำน เป้ำ ประ สงค์ ตัว ชี้ว ัด ควำม สำำ เร็จ ข้อ มู ค่ำ เป้ำ หมำยตัว ชี้ ลปี วัด ฐำน ปี56 ปี57 ปี58 ปี55 โครงกำร/ กิจ กรรม
  • 13. 1.โรงเรี ยนขนำด เล็กใน สังกัดฯ มี กำร พัฒนำ คุณภำพ กำร จัดกำร ศึกษำได้ ตำม เกณฑ์ มำตรฐำ น 1.โรงเรียนขนำด เล็กในสังกัดฯได้ รับกำรรับรอง ผ่ำนเกณฑ์ มำตรฐำนจำก สมศ. 2.โรงเรียนขนำด เล็ก มีกำรประกัน คุณภำพภำยใน และรำยงำนผลฯ ให้สพป.ทรำบ ภำยในกำำหนด เวลำ 3.ร้อยละของ รร.ขนำดเล็กที่ นักเรียนชั้นป.6 มีผลสัมฤทธิ์ Onet สูงกว่ำค่ำ เฉลี่ยระดับ ประเทศ 4.ร้อยละของ รร.ขนำดเล็กที่ นักเรียนชั้นม.3 มีผลสัมฤทธิ์ Onet สูงกว่ำค่ำ เฉลี่ยระดับ ประเทศ 5.ร้อยละของ รร.ที่มี นักเรียน 60 คน ลงมำชั้นป.6 มี ผลสัมฤทธิ์ ทำงกำรเรียนรู้ 5 กลุ่มสำระ หลัก(Onet) สูงกว่ำระดับ ประเทศ 78 % 80 % 70 % 100 % 50 % 60 % 38 % 50 % 48 % 60 % 1.ส่ง เสริม 80% 80% สนับ สนุน สถำน ศึก ษำให้ม ี ควำมเข้ม แข็ง ผ่ำ น กำรรับ รอง 100 100 มำตรฐำน % % 2.พัฒ นำ ระบบนิเ ทศ ติด ตำม ประเมิน ผลฯ 1.ต่อ ยอด 70% 80% กำรเรีย นรู้ สู่ผ ล สัม ฤทธิ์ ทำงกำร เรีย นรู้ 5 กลุ่ม สำระ 2.พัฒ นำก 50% 55% ำรจัด กำร เรีย นรู้ 8 กลุ่ม สำระ 3.ยกระดับ ผลสัม ฤทธิ์ ของ โรงเรีย น 70% 80%
  • 14. 6.ร้อยละของนัก เรียนชั้นป.3 รร.ขนำดเล็ก ทีอ่ำนออก เขียน ่ ได้ 7.ร้อยละของ นักเรียน รร.ขนำดเล็กที่มี ปัญหำกำรอ่ำน กำรเขียนภำษำ ไทยตำ่ำกว่ำ เกณฑ์ลดลง เป้ำ ประ สงค์ 1.โรงเรี ยนขนำด เล็กใน สังกัดฯ มี กำร พัฒนำ คุณภำพ กำร จัดกำร ศึกษำได้ ตำม เกณฑ์ มำตรฐำ น ตัว ชี้ว ัด ควำม สำำ เร็จ 98 % 99% 99% 2% 1% 1% 1.พัฒ นำผู้ 100% เรีย นชั้น ป.3 ให้อ ่ำ น ออกเขีย น ได้ 1% 8 ข้อ มู ค่ำ เป้ำ หมำยตัว ชี้ ลปี วัด ฐำน ปี56 ปี57 ปี58 ปี55 โครงกำร/ กิจ กรรม 8.ร้อยละของ 1.พัฒ นำ 1% 1% ทัก ษะกำร นักเรียน 2% 1% รร.ขนำดเล็กที่ผู้ คิด เลขเป็น เรียนมีปัญหำกำร คิด เลข คิดคำำนวณลดลง คล่อ งป.1-6 9.ร้อยละของ 1.สรรหำ รร.ขนำดเล็กเป็น 5% 10 15% 20% โรงเรียน รร.ต้นแบบกำร ขนำดเล็กที่ % บริหำรจัดกำร มีวิธีบริหำร โรงเรียนขนำด จัด เล็ก พัฒนำผู้ ได้ตำม เรียนได้ตำม เกณฑ์ เกณฑ์มำตรฐำน มำตรฐำน ระดับดีขึ้นไปและ และยกระดับ ยกระดับผล ผลสัมฤทธิ์ สัมฤทธิ์ได้อย่ำง ได้อย่ำงต่อ ต่อเนื่อง เนื่อง เป็นต้นแบบ 10.ร้อยละ โรงเรียนขนำด 24 30 40% 50% แก่โรงเรียน
  • 15. เล็กที่มี % นักเรียน 60 คน ลงมำไปเรียน รวม/ควบรวม/ ยุบรวม/เครือข่ำย ตำมนโยบำยกำร บริหำรจัดกำร โรงเรียนขนำด เล็ก % ในสังกัด 2.จัดทำำ เกียรติบัตร ยกย่อง ชมเชย 3.เผยแพร่ ประชำสัมพั นธ์โรงเรียน ต้นแบบไปสู่ โรงเรียนที่ จำำเป็นต้อง พัฒนำให้มี คุณภำพตำม เกณฑ์ มำตรฐำน 4.เสริมสร้ำง ขวัญกำำลัง ใจให้แก่ ครู และผู้บริหำร รร. ที่ส่ง เสริมพัฒนำ ประสิทธิภำ พ กำร บริหำร จัดกำร โรงเรียน ขนำดเล็ก 5. สนับสนุน งบประมำณ บริหำร จัดกำร รร.ขนำด เล็ก ให้ต่อ เนื่อง รวดเร็ว 9
  • 16. กลยุท ธที่ 2 เผยแพร่ประชำสัมพันธ์ กำรบริหำรจัดกำรโรงเรียนขนำด เล็ก และส่งเสริมให้ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมใน กำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ เป้ำ ประ สงค์ ตัว ชี้ว ัด ควำม สำำ เร็จ 1.ชุมชน และ องค์กร ปกครอง ส่วนท้อง ถิ่น มี ส่วนร่วม ในกำร พัฒนำ คุณภำพ กำร จัดกำร ศึกษำ ร่วมกับ รร.และ สพป.น่ำ นเขต 1 1.ผู้นำำชุมชน ท้องถิ่นรับทรำบ นโยบำยกำร บริหำรจัดกำร โรงเรียนขนำด เล็กและนำำไปเผย แพร่ ประชำสัมพันธ์ ต่อผู้ปกครอง เพื่อพร้อมรับกำร เปลี่ยนแปลง 2.ผู้ปกครอง ชุมชน ให้กำร สนับสนุนกำร พัฒนำกำร จัดกำรศึกษำของ โรงเรียนในท้อง ทีของตนเอง ่ อย่ำงต่อเนื่องทุก ปี 3.องค์กร ปกครองส่วนท้อง ถิ่น สนับสนุนงบ ประมำณ/ กิจกรรม พัฒนำกำร จัดกำรศึกษำของ โรงเรียนใน สังกัดฯ(นอกจำก อำหำรกลำงวัน ข้อ มู ค่ำ เป้ำ หมำยตัว ชี้ ลปี วัด ฐำน ปี56 ปี57 ปี58 ปี55 ไม่ ครบ ทุก ตำำบ ล/ หมู่บ้ ำน ทุก ตำำบล/ ทุกหมู่ บ้ำน ทุก ตำำบ ล/ทุก หมู่ บ้ำน ทุก ตำำบล/ ทุกหมู่ บ้ำน 60 % 70% 80% 90% 60 % 70% 80% 90% โครงกำร/ กิจ กรรม สพป.และรร. 1.เผยแพร่ ประชำสัมพั นธ์นโยบำย กำรบริหำร จัดกำร โรงเรียน ขนำดเล็กให้ ชุมชนและ ท้องถิ่นได้ รับทรำบ 2.รำยงำน ผลกำร จัดกำร ศึกษำ โรงเรียน ขนำดเล็กให้ โรงเรียน ชุมชนและ ท้องถิ่น ได้ รับทรำบต่อ เนื่อง ทุกปี 3.ส่งเสริมให้ ชุมชน องค์กร ปกครอง ส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วม ในกำร
  • 17. และนม) พัฒนา คุณภาพการ จัดการ ศึกษา ส่ว นที่ 3 10 การบริห ารจัด การโรงเรีย นขนาดเล็ก -------------------------------- รูป แบบการบริห ารจัด การโรงเรีย นขนาดเล็ก สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ได้กำาหนด รูปแบบในการบริหารจัดการให้โรงเรียนขนาดเล็ก เลือกดำาเนินการ 4 รูปแบบมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2551 พบว่าทุกรูปแบบมีปัญหาและอุปสรรค ในการดำาเนินการและเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายแนวดำาเนินการของ สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จึงได้ปรับปรุงแนวดำาเนินการของ โรงเรียนขนาดเล็ก ให้สามารถนำาปฏิบัติได้อย่างประสบผลสำาเร็จดังนี้ รูป แบบการบริห ารจัด การโรงเรีย นขนาดเล็ก รูป แบบที่ 1 การบริหารจัดการแบบคละชั้นหรือรวมชั้นเรียน หมายถึง รวมนักเรียนชั้นที่ต่อเนื่องกันมาเรียนรวมในชั้นเดียวกัน โดย ใช้ครูคนเดียวหรือทีมเดียว ดังแผนภูมิ รวม รวม 1-2 รวม 2-3 รวม 3 รวม 4-5 รวม 5-6 4-6 ชั้น ชั้น ชั้น ชั้น ชั้น ชั้น ป. ป. ป. 1ป. ป. ป.
  • 18. รูป แบบที่ 2 การบริหารจัดการแบบเรียนรวม หมายถึงการนำา นักเรียน 2 โรงเรียนมาเรียนรวมกัน แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ (1) เรียนรวมเป็นบางชั้น หรือบางช่วงชั้นเรียน หมายถึง โรงเรียนขนาดเล็กนำานักเรียน บางชั้น หรือบางช่วงชั้นไปเรียนรวมกับ โรงเรียนหลักที่มีความพร้อมและอยู่ใกล้เคียง ตัวอย่างเช่นโรงเรียน ก. นำานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ไปเรียนรวมที่โรงเรียน ข. คง เหลือนักเรียน ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 – 3 เรียนอยู่ในโรงเรียน ก. ดัง แผนภูมิ ป.4-6 รร.ก. ป.1 - 3 รร.ข. ป.1 - 6 (2) เรียนรวมทั้งโรงเรียนหรือเรียนรวมทุกชั้น หมายถึง โรงเรียนขนาดเล็กนำานักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ไปเรียน รวมกับโรงเรียนหลักที่มีความพร้อมและอยู่ใกล้เคียง ตัว อย่า งเช่น โรงเรียน ค. นำานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ไปเรียนรวมที่โรงเรียน ง. คงเหลือนักเรียนระดับอนุบาล หรือไม่มี นักเรียนเหลือในโรงเรียน ค. ดังแผนภูมิ รร.ค อบ. 1- ป.1-6 รร. ง. ป.1-6 11 รูป แบบที่ 3 การบริหารจัดการแบบศูนย์เรียนรวม หมายถึง การ 2 จัดการเรียนการสอนที่โรงเรียนขนาดเล็กตั้งแต่สามโรงเรียนขึ้นไป นำา นักเรียนทุกชั้นไปเรียนรวมกันที่โรงเรียนหลัก ดังแผนภูมิ ป. 34 ป. 1- 6 -6 ป.1 ป. 1 - 6 รูป แบบที่ 4 การบริหารจัดการแบบโรงเรียนเครือข่าย หมายถึง การจัดการเรียนการสอน ของโรงเรียนขนาดเล็กตั้งแต่สองโรงเรียน
  • 19. ขึ้นไปร่วมกันจัดการเรียนการสอน โดยแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบใน การจัดการเรียนการสอนให้แต่ละโรงเรียนรับผิดชอบ ตัว อย่า งที่ 1 โรงเรียน จ. เป็นเครือข่ายร่วมกับโรงเรียน ช. โดย โรงเรียน จ. จัดการเรียน การสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 แล้วนำานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ไปเรียนรวมที่โรงเรียน ช. และโรงเรียน ช. นำานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ไปเรียนรวมที่ โรงเรียน ค. ดังแผนภูมิ จ. รร. ป. 1- ป.4-6 ป.1-3 รร. ช. ป.4-6 ตัว อย่า งที่ 2 โรงเรียน ต. โรงเรียน ถ. และโรงเรียน น. เป็นเครือ ข่ายร่วมกัน โรงเรียน ต. จัดการเรียนการสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 2 โรงเรียน ถ. และโรงเรียน น.ส่งนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 2 มา เรียนรวม โรงเรียน น. จัดการเรียนการสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 - 4 โรงเรียน ถ. และโรงเรียน ต. ส่งนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 – 4 มา เรียนรวม โรงเรียน ถ. จัดการเรียนการสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 - 6 โรงเรียน ต. และโรงเรียน น.ส่งนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 – 6 มา เรียนรวม ดังแผนภูมิ ป. 3-4 รร. ต. ป. 1-2 รร.น. ป. 3-4 ป. 34 ป. 3 – ป. 1-2 4 ป. 5-6 2 ป. 1- ป. 5-6 6 รร. ถ. ป. 5- 12 นิย ามศัพ ท์ โรงเรีย นหลัก หมายถึง โรงเรียนที่รับนักเรียนมาเรียนรวมอาจ จะเป็นโรงเรียนขนาดเล็กหรือโรงเรียนขนาดกลางหรือขนาดใหญ่ก็ได้
  • 20. นัก เรีย นที่น ำา ไปเรีย นรวม หมายถึง นักเรียนระดับชั้นประถม ศึกษาชั้นปีที่ 1 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อาจจะเป็นบางชั้น บาง ช่วงชั้น หรือทั้งโรงเรียน การบริห ารจัด การการเดิน ทางไปเรีย นรวม สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำาหนดแนวทาง การบริหารจัดการการเดินทางมาเรียน หลักเกณฑ์ เงื่อนไข การจัดตั้ง และจัดสรรงบประมาณ สำาหรับชดเชยค่าเดินทางแก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง ค่ายานพาหนะ ค่าจ้างเหมาบริการ โดยกำาหนดแนวทางการดำาเนินงาน ของหน่วยงานใน แต่ละระดับ ดังนี้ 1.การกำาหนดบทบาท หน้าที่ของโรงเรียน และสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษา ดังนี้ 1.1 ระดับ โรงเรีย น โรงเรียนมารวมดำาเนินการในช่วงระยะเวลาที่อยู่ระหว่าง การรวม และเมื่อมีการประกาศรวมแล้วให้เป็นหน้าที่ของโรงเรียนหลัก การดำาเนินการ ดังนี้ 1) จัดทำาข้อมูลพื้นฐานนักเรียนโรงเรียนมารวม ประกอบ ด้วย (1) รายชื่อนักเรียน จำาแนกเป็นรายชั้น โดยมีเลข 13 หลักกำากับ (2) พื้นที่เขตบริการโรงเรียนมารวม ทั้งต้องนำาไปปรับ รวมเป็นพื้นที่บริการของ โรงเรียนหลัก (3) ประชากรวัยเรียน ที่ตองได้รับการศึกษาในพืนทีเขต ้ ้ ่ บริการโรงเรียนมารวม (4) ระยะทาง สภาพการคมนาคมจากบ้านไปโรงเรียน หลัก (5) วิธีการเดินทางของนักเรียนเป็นรายคน (6) รายชื่อประชากรวัยเรียนที่จะเข้าเรียนในเขตพื้นที่ บริการของโรงเรียนเรียนรวม ในแต่ละปีการศึกษา 2) ขอสนับสนุนงบประมาณค่าพาหนะนักเรียนสำาหรับการ บริหารจัดการโรงเรียน มารวม ดังนี้ (1) สำาหรับนักเรียนของโรงเรียนมารวมที่มาเรียน โรงเรียนหลัก (2) สำาหรับนักเรียนที่เข้าใหม่ในปีการศึกษาต่อ ๆ มา ที่ มีอายุเข้าเกณฑ์ระดับปฐมวัยและเข้าเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับและ
  • 21. มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตบริการของโรงเรียน มารวมให้ได้รับ ค่า พาหนะจนจบการศึกษาชั้นสูงสุดของโรงเรียนหลัก 3) กรณีนักเรียนไม่ได้ไปเรียนที่โรงเรียนหลักแต่ไปเรียนที่ โรงเรียนอื่นในสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเดียวกันให้โรงเรียน นั้นเสนอของบประมาณ 4) รายงานผลการใช้งบประมาณ ค่าพาหนะนักเรียน 13 1.2 ระดับ สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษา 1) จัดทำาแผนที่การศึกษา (School Mapping) กำาหนด พื้นที่บริการโรงเรียนหลักและโรงเรียนมารวม 2) ตรวจสอบ / วิเคราะห์ ข้อมูลที่โรงเรียนรวมเสนอของบ ประมาณ 3) เสนอสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พิจารณาจัดสรรงบประมาณ 4) แจ้งจัดสรรงบประมาณที่ได้รับจากสำานักงานคณะ กรรมการการศึกษา ขันพื้นฐานให้โรงเรียนทราบ ้ 5) นิเทศ ติดตาม กำากับการดำาเนินงานให้เป็นไปตาม นโยบายและรายงานผล 2.หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจัดตั้งและจัดสรรงบประมาณ ทางการบริหารจัดการ การเดินทางของนักเรียนไปเรียนกรณีรวม 2.1 กรณีค่าพาหนะ (ใช้งบประมาณปี พ.ศ. 2555) 1) จัดสรรให้ตามระยะทางจากบ้านถึงโรงเรียนหลัก กรณี การคมนาคมสะดวก (1) ไม่เกิน 3 กิโลเมตร คนละ 10 บาทต่อวัน (2) มากกว่า 3–10 กิโลเมตร คนละ 15 บาทต่อวัน (3) มากกว่า 10 กิโลเมตรขึ้นไป คนละ 20 บาทต่อวัน จำานวน 200 วันต่อคนต่อปีการศึกษา 2) จัดสรรให้ตามระยะทางจากบ้านถึงโรงเรียนหลัก กรณี การคมนาคมในพื้นที่พิเศษตามระเบียบกระทรวงการคลัง (1) เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินตามข้อตกลงกับกระทรวง การคลัง
  • 22. (2) จ้างเหมายานพาหนะรับส่งนักเรียน กรณีเช่า เหมารถยนต์เป็นคัน 2.2 กรณีค่าจ้างเหมาบริการ 1) จัดสรรค่าจ้างเหมาบริการให้โรงเรียนมารวมหรือ โรงเรียนหลัก บริหารจัดการด้วยวิธีการที่เหมาะสม จ้างเหมายาน พาหนะรับส่งนักเรียนจากโรงเรียนมารวม 2) จัดสรรให้ผู้ปกครองที่รับส่งนักเรียนไปโรงเรียนหลัก 2.3 กรณีจัดสรรยานพาหนะให้โรงเรียนหลักหรือกรณีที่ โรงเรียนได้รับการบริจาค ยานพาหนะสำาหรับรับ-ส่งนักเรียน 1) จัดสรรจักรยานสำาหรับนักเรียนบ้านใกล้ เพื่อทดแทนค่า พาหนะ 2) จัดสรรยานพาหนะ เช่น รถยนต์ ให้โรงเรียนหลักเพื่อ ใช้รับ - ส่งนักเรียนจัดสรรค่านำ้ามันเชื้อเพลิงและค่าบำารุงรักษายาน พาหนะให้กับโรงเรียนหลักที่ได้รับการจัดสรรยานพาหนะหรือได้รับ บริจาค 2.4 การประกันอุบัติเหตุ สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะจัดสรรงบ ประมาณให้กับสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสำาหรับดำาเนินการจัดทำา ประกันอุบัติเหตุหมู่ให้กับนักเรียนที่มาเรียนโรงเรียนหลัก (ทั้งนี้จะเสนอ เรื่องเข้า ครม.ให้อนุมัติหลักการเสนอขอตั้งงบประมาณปี 2556) 14 การบริห ารจัด การโรงเรีย นขนาดเล็ก ที่ป ระสงค์จ ะดำา รง อยู่ 1) โรงเรียนขนาดเล็กใดจะดำารงอยู่ให้แสดงเหตุผลว่ามี คุณลักษณะทั้ง 4 ประการ ดังนี้ 1.1) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ ในปีการศึกษาที่ ผ่านมาสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก ได้แก่ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษาและภาษา อังกฤษ 1.2) ได้รับการรับรองจากสำานักงานรับรองมาตรฐานและ การประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) 1.3) ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการเขตพื้นที่การ ศึกษาเพื่อให้ดำารงโรงเรียนอยู่ได้โดยไม่ดูดซับทรัพยากร
  • 23. 1.4) ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วม ในการสนับสนุนการจัดการศึกษา 2) โรงเรียนที่ได้รับยกเว้นให้ดำารงอยู่ ให้โรงเรียนจัดทำาแผน พัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 3 ปี ที่ชัดเจน ในการเพิ่มคุณภาพการ ศึกษา ทั้งด้านการบริหารงานบุคคล การบริหารงานวิชาการ การบริหาร งบประมาณ และการบริหารทั่วไป เสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน และรายงานสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา โดยให้คณะ กรรมการเขตพื้นที่ให้ความเห็นชอบ 3) โรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่พิเศษ ห่างไกล กันดาร ไม่สามารถรวม กับโรงเรียนใด ๆ ได้ ให้จัดการเรียน การสอนตามปกติ และต้องได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ภาพความสำา เร็จ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ได้กำาหนด ภาพความสำาเร็จของการดำาเนินการรวมโรงเรียนไว้เป็น ดังนี้ 1. ด้า นประสิท ธิภ าพ 1.1 จำานวนโรงเรียนขนาดเล็กลดลงเหมาะสมกับความจำาเป็น ของพื้นที่ 1.2 การบริหารจัดการบุคลากรมีความสมดุลและสอดคล้องกับ ภารกิจ 1.3 การบริหารจัดการทรัพยากรด้านการศึกษามีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล 2. ด้า นคุณ ภาพ 2.1 โรงเรียนมีคุณภาพได้ตามมาตรฐาน 2.2 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบ ระดับชาติสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ 3. ด้า นโอกาสทางการศึก ษา เพิ่มโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ในโรงเรียนดีที่มีคุณภาพ เพื่อให้การดำาเนินการตามนโยบายการบริหารจัดการโรงเรียน ขนาดเล็ก มีการพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพ โรงเรียนจึงจำาเป็น ต้องปรับเปลี่ยนการดำาเนินการให้เกิดคุณภาพ และประสิทธิภาพ ซึ่ง สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ตระหนักถึงความ สำาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาประสิทธิภาพโรงเรียนขนาดเล็กในครั้งนี้ 15
  • 24. ส่ว นที่ 4 แนวปฏิบ ัต ิก ารบริห ารจัด การ 4 งานของโรงเรีย นเรีย น รวม การบริห ารจัด การงานบุค ลากร 1. อำา นาจการบริห ารสถานศึก ษา ในการรวมโรงเรียน โดยนำานักเรียนตั้งแต่ 2 โรงเรียนขึ้น ไป ไปเรียนรวมกัน ก่อนจะดำาเนินการรวมจำาเป็นต้องมีการดำาเนินการ เบื้องต้นเพื่อลดปัญหาหรือความขัดแย้งที่จะเกิดขึ้นและ ยัง เป็นการเตรียมความพร้อม ก่อนการรวม มีแนวทางดำาเนินการ ดังนี้ (1) กรณีที่ 1 โรงเรียนที่ไปเรียนรวมไม่มีผูอำานวยการ ้ โรงเรียน 1) ให้ผู้อำานวยการโรงเรียนหลักทำาหน้าที่ในการบริหาร จัดการให้ครอบคลุมทุก ภาระงานการบริหารจัดการศึกษาโรงเรียน 2) โดยผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาน่านเขต 1 ออกคำาสั่งแต่งตั้งผู้อำานวยการโรงเรียนหลัก ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำานวยการโรงเรียนเรียนรวม ตามมาตรา 69 ของ พ.ร.บ.ระเบียบครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยอนุมัติจาก อ.ค.ก.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา กรณีที่ 2 โรงเรียนที่ไปเรียนรวมมีผู้อำานวยการโรงเรียน ให้ผู้อำานวยการโรงเรียนทั้งโรงเรียนหลักและโรงเรียนมาเรียนรวม เลือกปฏิบัติ ดังนี้ แนวทางที่ 1) บริหารร่วมกันโดยตกลงแบ่งหน้าที่ ภายใน กำาหนดบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบตามความสามารถ หรือตามความเหมาะสม ทั้งนี้การแบ่งความรับผิดชอบ ต้องเกิดจากข้อ ตกลงร่วมกันจนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง โดยมีรองผู้อำานวยการ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 และศึกษานิเทศก์ ที่กำากับดูแลโรงเรียนเป็นพยานรับทราบในการตกลงร่วมกัน เสนอให้ผู้ อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 เป็นผู้ ออกคำาสั่งมอบหมายงานภายใน ตามข้อตกลง เว้นแต่เป็นอำานาจหน้าที่ ที่กฎหมายกำาหนดไว้ แนวทางที่ 2) กำาหนดให้ผู้บริหารโรงเรียนหลัก เป็นผู้ มีหน้าที่และใช้อำานาจในการบริหารทั้งโรงเรียนหลักและโรงเรียนมา เรียนรวม โดยผู้บริหารโรงเรียนมาเรียนรวมเป็นผู้ใช้อำานาจรองจากผู้
  • 25. บริหารโรงเรียนหลัก เสนอให้ผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาน่าน เขต 1 เป็นผู้ออกคำาสั่งมอบหมายงานภายใน เว้นแต่ เป็นอำานาจหน้าที่ที่กฎหมายกำาหนดไว้ แนวทางที่ 3) ผู้บริหารโรงเรียนหลัก และผู้บริหาร โรงเรียนที่มาเรียนรวม มีอำานาจหน้าที่บริหารงานโดยอิสระต่อกัน กรณี ผู้บริหารโรงเรียนใดไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ผู้บริหารโรงเรียนที่ เรียนรวมทำาหน้าที่แทน (2) ผู้อำานวยการโรงเรียนตาม (1) ดำาเนินการจัดการศึกษา โดยกำาหนดบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบสำาหรับครูผู้สอนทั้งใน โรงเรียนหลักและโรงเรียนมารวมในการจัดการเรียน การสอนและภาระ งานอื่น ๆ 16 2. การย้า ยผู้อ ำา นวยการโรงเรีย น การย้ายผู้อำานวยการโรงเรียนให้ถือปฏิบัติตามมติ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาน่าน เขต 1 ในคราวประชุม ครั้งที่ 5 / 2555 เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ให้สำานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 หาแนวทางในการดูแลแก้ไขปัญหา การย้ายผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ที่นำานักเรียนไปเรียน รวมกับโรงเรียนหลักตามแนวทางการบริหารจัดการบุคลากรโรงเรียน ควบรวม ของสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นกรณีพิเศษ เพื่อ ให้การดำาเนินการพิจารณาย้ายผู้บริหารสถานศึกษากรณีเพื่อแก้ปัญหา การบริหารจัดการในสถานศึกษาเรียนรวม เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ วิธีการย้ายผู้บริหารสถานศึกษาที่ ก.ค.ศ. กำาหนด ตามหนังสือ สำานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.4/ว 9 ลงวันที่ 29 กรกฎาคม 2554 โดยอนุโลม โดยความเห็นชอบของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาน่าน เขต 1 ในคราวประชุมครั้งที่ 8 / 2555 เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2555 ซึ่งประกาศนโยบายการพิจารณาย้ายผู้บริหารสถาน เพื่อแก้ปัญหาการบริหารจัดการในสถานศึกษาเรียนรวม สังกัด สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ดังนี้ ก. ความหมาย 1) การย้าย หมายถึง การแต่งตั้งผู้บริหารสถานศึกษาให้ ดำารงตำาแหน่งเดิมในสถานศึกษาอื่น
  • 26. 2) ผู้บริหารสถานศึกษาเรียนรวม หมายถึง ผู้บริหารสถาน ศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กที่ นำานักเรียน ไปเรียนรวมกับโรงเรียนหลัก ตามประกาศของสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาน่าน เขต 1 3) สถานศึกษาที่มีขนาดไม่ใหญ่กว่าเดิม หมายถึง สถาน ศึกษาที่มีขนาดของจำานวนนักเรียนไม่เกิน 80 คน ข. แนวทางการพิจ ารณาย้า ย ให้นำาหลักเกณฑ์และวิธีการย้ายกรณีเพื่อประโยชน์ของ ทางราชการ ตามนัยหนังสือสำานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.4/ว 9 ลงวัน ที่ 29 กรกฎาคม 2554 ได้แก่ การย้ายเพื่อแก้ปัญหาการบริหารจัดการ ในสถานศึกษา มาใช้โดยอนุโลม ดังนี้ 1) การย้ายเพื่อแก้ปัญหาการบริหารจัดการในสถานศึกษา กรณีที่เกิดปัญหาในสถานศึกษาเรียนรวมที่ส่งผลกระทบ ต่อการบริหารจัดการ และมีความจำาเป็นต้องย้ายผู้บริหารสถานศึกษา เรียนรวมเพื่อแก้ปัญหานั้น ให้คำานึงถึงความเหมาะสม ประโยชน์ของ ทางราชการและความเป็นธรรมแก่ผู้บริหารสถานศึกษานั้นด้วย 2) ขั้นตอนการดำาเนินการพิจารณาย้าย 2.1) กรณีมีตำาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาที่มี จำา นวน นัก เรีย นไม่เ กิน 80 คน ว่างลง ให้สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 แจ้งให้ผู้ บริหารสถานศึกษาเรียนรวมที่ประสงค์ขอย้ายยื่นคำาร้องขอย้าย โดยจัด ทำาข้อมูลที่ชัดเจนว่ามีปัญหาในการบริหารจัดการในสถานศึกษาจริง ให้ สรุปข้อเท็จจริงพร้อมเอกสารหลักฐานและความเห็นของคณะกรรมการ สถานศึกษา เสนอไปยังสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 เพื่อเสนอเรื่องให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 พิจารณา 17 2.2) การพิจารณาย้ายผู้บริหารสถานศึกษาเรียนรวม ให้พิจารณาย้ายไปยังสถานศึกษาที่มีขนาดไม่ใหญ่กว่าเดิมเท่านั้น 2.3) ให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา น่าน เขต 1 พิจารณาย้ายเป็นรายๆ ไปโดยให้ระบุเหตุผล ความจำาเป็น และประโยชน์ที่ทางราชการจะได้รับจากการย้ายผู้บริหารสถานศึกษาผู้ นั้นให้ชัดเจน
  • 27. กรณีมีผู้บริหารสถานศึกษาเรียนรวมยื่นคำาร้องขอย้าย เกินกว่าหนึ่งราย อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ให้นำาองค์ประกอบการประเมินศักยภาพการย้ายผู้บริหารสถานศึกษา มาบังคับใช้โดยอนุโลม 2.4) เมื่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา น่าน เขต 1 พิจารณาอนุมัติย้ายผู้บริหารสถานศึกษาเรียนรวมแล้ว ให้ผู้ มีอำานาจตามมาตรา 53 สั่งแต่งตั้งผู้บริหารสถานศึกษาผู้นั้น 2.5) เมื่อออกคำาสั่งแต่งตั้งแล้ว ให้ส่งสำาเนาคำาสั่งให้ สำานักงาน ก.ค.ศ. และสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำานวน 2 ชุด ภายใน 7 วัน นับแต่วันออกคำาสั่ง 3. แนวทางการบริห ารงานบุค คล 3.1 การเลื่อนขั้นเงินเดือน 1) ให้นับจำานวนครูผู้สอนรวมกัน เพื่อคิดคำานวณ โควต้ารวมในการเลื่อนขั้นเงินเดือน 2) ให้ผู้บริหารโรงเรียนที่ได้รับมอบหมายงานบริหาร บุคคล เป็นผู้เสนอความดี ความชอบ ผ่านคณะกรรมการกลั่นกรองของ สถานศึกษาร่วมกัน 3) การออกคำาสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนให้เป็นไปตามที่ กฎหมายกำาหนด 3.2 การลา ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ทั้ง โรงเรียนหลักและโรงเรียนที่มาเรียนรวม เสนอใบอนุญาตการลาต่อผู้ บริหารโรงเรียนที่ได้รับมอบหมายในการบริหารงานบุคคล เป็นผู้มี อำานาจพิจารณาอนุมัติการลาทุกประเภท 3.3 การอนุมัติไปราชการ ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ทั้ง โรงเรียนหลักและโรงเรียนที่มาเรียนรวม เสนอขออนุมัติไปราชการต่อผู้ บริหารโรงเรียนที่ได้รับมอบหมายในการบริหารงานบุคคล เป็นผู้มี อำานาจพิจารณาอนุมัติการไปราชการ 3.4 การดำาเนินการทางวินัย ให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำาหนด 3.5 ให้ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา เห็นชอบให้โรงเรียน ที่เปิดศูนย์การเรียนรวมสามารถ กำาหนดวิชาเอก ในการขอรับย้ายครูผู้สอน 3.6 การใดนอกเหนือจากนี้ ให้ดำาเนินการตามที่กฎหมาย กำาหนด 4. บุค ลากรสนับ สนุน การสอน
  • 28. ในการรวมโรงเรียน ให้บุคลากรสนับสนุนการสอน เช่น ลูกจ้าง พนักงานราชการ พนักงานธุรการ ครูอัตราจ้างหรือพนักงาน บริการอื่น ๆ จากโรงเรียนมาเรียนรวมปฏิบัติหน้าที่ ที่โรงเรียนหลัก จนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง 18 5. คณะกรรมการสถานศึก ษาขั้น พื้น ฐาน ในระยะเริ่มแรกก่อนมีการประกาศรวมโรงเรียน ให้คณะ กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของแต่ละโรงเรียน ยังคงสถานะเป็น คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนนั้น ๆ อยู่ ให้คณะ กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งของโรงเรียนหลักและโรงเรียนมา เรียนรวม ร่วมกันในการจัดการศึกษาที่โรงเรียนหลัก จนกว่าจะมี ประกาศรวมโรงเรียนแล้วให้เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐานคณะใหม่ ตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด แต่ทั้งนี้ควรให้ครอบคลุม และเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนใหม่หลังรวมโรงเรียนแล้ว การบริห ารจัด การงานวิช าการ จากการศึกษาสภาพปัญหาพบว่า โรงเรียนขนาดเล็กส่วนใหญ่ ประสบปัญหาด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านความ พร้อมทางปัจจัยของโรงเรียนและด้านการมีส่วนร่วม เพื่อให้การดำาเนิน งานมีประสิทธิภาพ จึงกำาหนดแนวปฏิบัติการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กใน การเรียนรวม ดังนี้ 1. งานพัฒ นาหลัก สูต ร ในระยะเริ่มแรกให้ดำาเนินการดังนี้ 1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ ของโรงเรียนร่วมกันระหว่างโรงเรียนหลักและโรงเรียนมารวม โดยผู้ อำานวยการโรงเรียนหลัก หรือผู้อำานวยการโรงเรียนที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้ ลงนามแต่งตั้ง 1.2 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของ โรงเรียน ศึกษา วิเคราะห์เอกสารหลักสูตร วิเคราะห์สภาพแวดล้อม บริบทของโรงเรียนหลักและโรงเรียนมารวม เพื่อกำาหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมาย โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 1.3 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของ โรงเรียน ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบท สภาพแวดล้อมของโรงเรียนหลักและโรงเรียนมารวม ทั้งนี้ให้ดำาเนินการ ตามกระบวนการจัดทำาหลักสูตรสถานศึกษา