SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
27
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
บทที 2
ทรงกลมท้องฟ้ า
2.1 ลักษณะทรงกลมท้องฟ้ า
คนในสมัยโบราณเชือว่า ดวงดาวทังหมดบนท้องฟ้าอยู่ห่างจากโลกเป็นระยะทางเท่า ๆ กัน โดย
ดวงดาวเหล่านันถูกตรึงอยู่บนผิวของทรงกลมขนาดใหญ่เรียกว่า “ทรงกลมท้องฟ้า” (Celestial sphere)
โดยมีโลกอยู่ทีศูนย์กลางของทรงกลม ทรงกลมท้องฟ้าหมุนรอบโลกจากทิศตะวันออกไปยังทิศ
ตะวันตก โดยทีโลกหยุดนิงอยู่กับที ไม่เคลือนไหว
นักปราชญ์ในยุคต่อมาทําการศึกษาดาราศาสตร์กันมากขึน จึงพบว่า ดวงดาวบนท้องฟ้าอยู่ห่าง
จากโลกเป็นระยะทางทีแตกต่างกัน กลางวันและกลางคืนเกิดจากการหมุนรอบตัวเองของโลก มิใช่การ
หมุนของทรงกลมท้องฟ้า ดังทีเคยเชือกันในอดีต อย่างไรก็ตามในปัจจุบันนักดาราศาสตร์ยังคงใช้ทรง
กลมท้องฟ้า เป็นเครืองมือในการระบุตําแหน่งทางดาราศาสตร์ ทังนีเป็นเพราะ หากเราจินตนาการให้โลก
เป็นศูนย์กลาง โดยมีทรงกลมท้องฟ้าเคลือนทีหมุนรอบ จะทําให้ง่ายต่อการระบุพิกัด หรือเปรียบเทียบ
ตําแหน่งของวัตถุบนท้องฟ้า และสังเกตการเคลือนทีของวัตถุเหล่านันได้ง่ายขึน
ภาพที 1 ทรงกลมท้องฟ้า
จินตนาการจากอวกาศ
• หากต่อแกนหมุนของโลกออกไปบนท้องฟ้าทัง
สองด้าน เราจะได้จุดสมมติเรียกว่า “ขัวฟ้าเหนือ”
(North celestial pole) และ “ขัวฟ้าใต้” (South
celestial pole) โดยขัวฟ้าทังสองจะมีแกน
เดียวกันกับแกนการหมุนรอบตัวเองของโลก และ
ขัวฟ้าเหนือจะชีไปประมาณตําแหน่งของดาว
เหนือ ทําให้เรามองเห็นว่า ดาวเหนือไม่มีการ
เคลือนที
• หากขยายเส้นศูนย์สูตรโลกออกไปบนท้องฟ้า
โดยรอบ เราจะได้เส้นสมมติเรียกว่า “เส้นศูนย์
สูตรฟ้า” (Celestial equator) เส้นศูนย์สูตรฟ้า
แบ่งท้องฟ้าออกเป็น “ซีกฟ้าเหนือ” (Northern
hemisphere) และ “ซีกฟ้าใต้” (Southern
hemisphere) เช่นเดียวกับทีเส้นศูนย์สูตรโลก
แบ่งโลก ออกเป็นซีกโลกเหนือ และซีกโลกใต้
จินตนาการจากพืนโลก
• ในความเป็นจริง เราไม่สามารถมองเห็นทรงกลม
28
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
ภาพที 2 เส้นสมมติบนทรงกลมท้องฟ้า
ท้องฟ้าได้ทังหมด เนืองจากเราอยู่บนพืนผิวโลก จึง
มองเห็นทรงกลมท้องฟ้าได้เพียงครึงเดียว และเรียก
แนวทีท้องฟ้าสัมผัสกับพืนโลกรอบตัวเราว่า “เส้น
ขอบฟ้า” (Horizon) ซึงเป็นเสมือนเส้นรอบวงบนพืน
ราบ ทีมีตัวเราเป็นจุดศูนย์กลาง
• หากลากเส้นโยงจากทิศเหนือมายังทิศใต้ โดยผ่านจุด
เหนือศรีษะ จะได้เส้นสมมติซึงเรียกว่า “เส้นเม
อริเดียน” (Meridian)
• หากลากเส้นเชือมทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก โดยให้
เส้นสมมตินันเอียงตังฉากกับขัวฟ้าเหนือตลอดเวลา
จะได้ “เส้นศูนย์สูตรฟ้า” ซึงแบ่งท้องฟ้าออกเป็นซีก
ฟ้าเหนือและซีกฟ้าใต้ หากทําการสังเกตการณ์จาก
ประเทศไทย ซึงอยู่บนซีกโลกเหนือ จะมองเห็นซีกฟ้า
เหนือมีอาณาบริเวณมากกว่าซีกฟ้าใต้เสมอ
การเคลือนทีของทรงกลมท้องฟ้ า
เมือมองจากพืนโลกเราจะเห็นทรงกลมท้องฟ้าเคลือนทีจากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก
อย่างไรก็ตามเนืองจากโลกของเราเป็นทรงกลม ดังนันมุมมองของการเคลือนทีของทรงกลมท้องฟ้า
ย่อมขึนอยู่กับตําแหน่งละติจูด (เส้นรุ้ง) ของผู้สังเกตการณ์ เป็นต้นว่า
• ถ้าผู้สังเกตการณ์อยู่บนเส้นศูนย์สูตร หรือละติจูด 0° ขัวฟ้าเหนือก็จะอยู่ทีขอบฟ้าด้านทิศเหนือ
พอดี (ภาพที 3)
• ถ้าผู้สังเกตการณ์อยู่ทีละติจูดสูงขึนไป เช่น ละติจูด 13° ขัวฟ้าเหนือก็จะอยู่สูงจากขอบฟ้า 13°
(ภาพที 4)
• ถ้าผู้สังเกตการณ์อยู่ทีขัวโลกเหนือ หรือละติจูด 90° ขัวฟ้าเหนือก็จะอยู่สูงจากขอบฟ้า 90° (ภาพ
ที 5)
เราสามารถสรุปได้ว่า ถ้าผู้สังเกตการณ์อยู่ทีละติจูดเท่าใด ขัวฟ้าเหนือก็จะอยู่สูงจากขอบฟ้าเท่ากับ
ละติจูดนัน
29
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
ภาพที 3 ละติจูด 0° N
ผู้สังเกตการณ์อยู่ทีเส้นศูนย์สูตร (ละติจูด 0°)
ดาวเหนือจะอยู่บนเส้นขอบฟ้าพอดี
ดาวขึน – ตก ในแนวในตังฉากกับพืนโลก
ภาพที 4 ละติจูด 13° N
ผู้สังเกตการณ์อยู่ที กรุงเทพ ฯ (ละติจูด 13° N)
ดาวเหนือจะอยู่สูงเหนือเส้นขอบฟ้า 13°
ดาวขึน – ตก ในแนวเฉียงไปทางใต้ 13°
ภาพที 5 ละติจูด 90° N
ผู้สังเกตการณ์อยู่ทีขัวโลกเหนือ (ละติจูด 90° N)
ดาวเหนือจะอยู่สูงเหนือเส้นขอบฟ้า 90°
ดาวเคลือนทีในแนวขนานกับพืนโลก
30
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
การขึนตกของดาว 5 รูปแบบ
1. แบบที 1 North circumpolar star จะเป็นกลุ่มดาวทีไม่ลับขอบฟ้า ซึงอยู่ทางซีกฟ้าเหนือ
2. แบบที 2 South circumpolar star จะเป็นกลุ่มดาวทีไม่ปรากฏบนท้องฟ้าให้เห็น ซึงอยู่ทางซีก
ฟ้าใต้
3. แบบที 3 ดาวทีปรากฏบนเส้นศูนย์สูตร เป็นกลุ่มดาวทีใช้เวลาปรากฏบนท้องฟ้าเท่ากับเวลาที
ลับขอบฟ้า
4. แบบที 4 ดาวทีปรากฏด้านซีกฟ้าเหนือ เป็นกลุ่มดาวทีใช้เวลาปรากฏบนท้องฟ้านานกว่าลับ
ขอบฟ้า
5. แบบที 5 ดาวทีปรากฏด้านซีกฟ้าใต้ เป็นกลุ่มดาวทีใช้เวลาลับขอบฟ้านานกว่าปรากฏบน
ท้องฟ้า
2.2 ลักษณะการเคลือนทีของดวงอาทิตย์
โลกของเราโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรีโดยมีดวงอาทิตย์อยู่ทีจุดโฟกัสจุดเหนือ แกน
หมุนของโลกเรานันเอียงทํามุม 23.5 องศา กับเส้นตังฉากกับระนาบวงโคจรของโลกรอบดวง
อาทิตย์ ทําให้ตําแหน่งของวงโคจรแกนหมุนเอียงเข้าหาดวงอาทิตย์ไม่เท่ากันและทําให้เกิดฤดูกาล
บนโลกด้วย
ภาพที 3 แสดงทางเดินของโลกรอบดวงอาทิตย์และการเอียงของแกนหมุน
จากการทีโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ทําให้เราเห็นดวงอาทิตย์เคลือนทีไปบนท้องฟ้าเรียกเส้นนีว่า
เส้นสุริยะวิถี โดยทํามุมกับเส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า 23.5 องศา ตําแหน่งทีสําคัญบนเส้นสุริยะวถีมีอยู่ 4
ตําแหน่งคือ จุดเส้นสุริยะวิถีตัดกับเส้นศูนย์สูตรท้องฟ้าเรียกว่าจุดอิควินอกซ์ มีอยู่ 2 จุด คือ จุดเวอร์
31
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
นอลอิคลินอกซ์ (Vernal Equinox) เป็นตําแหน่งของดวงอาทิตย์ในวันที 21 มีนาคม และอีกจุดคือ ออทัม
นอลอิคลินอกซ์ (Autumnal Equinox) เป็นตําแหน่งของดวงอาทิตย์ในวันที 23 กันยายน เมือดวงอาทิตย์
อยู่ทีตําแหน่งอิคลินอกซ์เวลากลางวันจะเท่ากันกับเวลากลางคืน
อีก 2 จุดคือ จุดโซสตีสฤดูร้อน (Summer Solstice) เป็นตําแหน่งของดวงอาทิตย์ในวันที 22
มิถุนายนซึงโลกจะหันขัวโลกเหนือเข้าหาดวงอาทิตย์มากทีสุด ทําให้กลางวันยาวนานมากทีสุด และจุดตรง
ข้ามคือจุดโซสติสฤดูหนาว (Winter Solstice) เป็นตําแหน่งของดวงอาทิตย์มากทีสุดทําให้กลางวันนันสัน
ทีสุด คือวันที 22 ธันวาคม
จากแกนหมุนของโลกเอียงทําให้ตําแหน่งของดวงอาทิตย์แต่ละวันนันเปลียนแปลงไปเรือย ๆ ทัง
จากการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์และการทีแกนหมุนของโลกเอียง โดย 1 รอบ หรือ 360 องศา ใน
เวลา 365 วัน หรือประมาณวันละ 1 องศา ทําให้แต่ละวันตําแหน่งทีดวงอาทิตย์ขึนเปลียนแปลงไปเรือย ๆ
โดยในเดือนมิถุนายนดวงอาทิตย์จะขึนไปทางเหนือมากทีสุด และลงใต้มากทีสุดในเดือนธันวาคม ส่วน
วันที 21 มีนาคม และ 23 กันยายน ดวงอาทิตย์จะขึนทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตกพอดี
ภาพที 4 ทรงกลมท้องฟ้าแสดงเส้นสุริยะ
32
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
การขึนและการตกในแต่ละวันของดวงอาทิตย์จะมี 3 ลักษณะคือ ขึนทางตะวันออกเฉียงเหนือและ
ตกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือทําให้กลางวันวันยาวกว่ากลางคืน แบบที 2 คือ ขึนทางทิศตะวันออกเฉียง
ใต้และตกทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ซึงทําให้กลางวันสันกว่ากลางคืน
ภาพที 5 ทรงกลมท้องฟ้าของผู้สังเกตทีละติจูด องศาเหนือ และทรงกลมแสดงตําแหน่งของดาว
การทีโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในแต่ละวัน ทําให้เห็นดวงอาทิตย์เคลือนทีไปบนท้องฟ้าเมือเทียบ
กับดาวฤกษ์ ซึงเราเรียกกลุ่มดาวทีดวงอาทิตย์เคลือนทีผ่านว่ากลุ่มดาวจักราศีซึงมี 12 กลุ่ม แต่จริงๆ แล้ว
ดวงอาทิตย์เคลือนทีผ่าน 13 กลุ่มดาว ซึงกลุ่มที 13 คือกลุ่มดาวคนแบกงู
2.3 ดาวฤกษ์และกลุ่มดาวบนทรงกลมท้องฟ้ า
กลุ่มดาวคืออะไร ?
คนในสมัยก่อนเชือว่า เบืองบนเป็นสวรรค์เบืองล่างเป็นนรกโดยมีโลกมนุษย์อยู่ตรงกลาง พวก
เขาจินตนาการว่า โลกทีเราอยู่นัน มีทรงกลมท้องฟ้าล้อมรอบ โดยมีดวงดาวติดอยู่ทีทรงกลมนัน ดังนัน
คนโบราณจึงคิดว่า ดวงดาวแต่ละดวงอยู่ห่างจากโลกเป็นระยะทางเท่า ๆ กัน เนืองจากบนท้องฟ้ามี
ดวงดาวอยู่เป็นจํานวนมาก พวกเขาจึงแบ่งดวงดาวออกเป็นกลุ่ม ๆ และวาดภาพจินตนาการว่าเป็น รูป
คน สัตว์ สิงของ ไปต่าง ๆ นานา ตามความเชือ และวิถีชีวิต ของวัฒนธรรมของพวกเขา
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ
ภาพที
กลุ่มดาว (Constellations)
ซึงอยู่บนภูเขามีอาชีพล่าสัตว์ มองเห็นกลุ่มดาว
ใหญ่มีอาชีพทางการเกษตร จึงมองเห็นกลุ่มดาวนีเป็นรูป
ภาพที
กลุ่มดาว “หมีใหญ่” (Ursa Major)
แต่คนไทยใช้ชีวิตอยู่ริมนํา จึงมองเห็นเป็นรูป
จะเห็นได้ว่า กลุ่มดาวเป็นเพียงเรืองของจินตนาการ ซึงมีความแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิน เชือ
ชาติ ภาษา และวัฒนธรรม ฉะนันเพือให้สือความหมายตรงกัน องค์การดาราศาสตร์สากล จึงกําหนด
มาตรฐานเดียวกัน โดยแบ่งกลุ่มดาวบนท้องฟ้าออกเป็น
ตามยุโรป เช่น กลุ่มดาวนายพราน และกลุ่มดาวหมีใหญ่ ส่วนชือกลุ่มดาวเต่า กลุ่มดาวจระเข้นัน ถือเป็น
ชือท้องถินภายในประเทศไทย
ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th
ภาพที 6 กลุ่มดาวเต่า หรือ กลุ่มดาวนายพราน
(Constellations) บนท้องฟ้ามีความแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรม เป็นต้นว่า ชาวยุโรป
ซึงอยู่บนภูเขามีอาชีพล่าสัตว์ มองเห็นกลุ่มดาว “นายพราน” (Orion) เป็นรูป “นายพราน
ใหญ่มีอาชีพทางการเกษตร จึงมองเห็นกลุ่มดาวนีเป็นรูป “เต่า” และ “คันไถ” ดังภาพที
ภาพที 7 กลุ่มดาวจระเข้ หรือ กลุ่มดาวหมีใหญ่
Ursa Major) ก็เช่นกัน ชาวยุโรปซึงใช้ชีวิตบนภูเขามองเห็นเป็นรูป
แต่คนไทยใช้ชีวิตอยู่ริมนํา จึงมองเห็นเป็นรูป “จระเข้” ดังภาพที 7
จะเห็นได้ว่า กลุ่มดาวเป็นเพียงเรืองของจินตนาการ ซึงมีความแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิน เชือ
ชาติ ภาษา และวัฒนธรรม ฉะนันเพือให้สือความหมายตรงกัน องค์การดาราศาสตร์สากล จึงกําหนด
เดียวกัน โดยแบ่งกลุ่มดาวบนท้องฟ้าออกเป็น 88 กลุ่ม โดยมีชือเรียกให้เหมือนกัน โดยถือเอา
ตามยุโรป เช่น กลุ่มดาวนายพราน และกลุ่มดาวหมีใหญ่ ส่วนชือกลุ่มดาวเต่า กลุ่มดาวจระเข้นัน ถือเป็น
ชือท้องถินภายในประเทศไทย
33
nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
บนท้องฟ้ามีความแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรม เป็นต้นว่า ชาวยุโรป
นายพราน” แต่คนไทยส่วน
ดังภาพที 6
ก็เช่นกัน ชาวยุโรปซึงใช้ชีวิตบนภูเขามองเห็นเป็นรูป “หมีใหญ่”
จะเห็นได้ว่า กลุ่มดาวเป็นเพียงเรืองของจินตนาการ ซึงมีความแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิน เชือ
ชาติ ภาษา และวัฒนธรรม ฉะนันเพือให้สือความหมายตรงกัน องค์การดาราศาสตร์สากล จึงกําหนด
กลุ่ม โดยมีชือเรียกให้เหมือนกัน โดยถือเอา
ตามยุโรป เช่น กลุ่มดาวนายพราน และกลุ่มดาวหมีใหญ่ ส่วนชือกลุ่มดาวเต่า กลุ่มดาวจระเข้นัน ถือเป็น
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ
“กลุ่มดาว” ในความหมายทีแท้จริง
ดาวฤกษ์บนท้องฟ้า แท้จริงมีขนาดไม่เท่ากัน และอยู่ห่างจากโลกของเรา ด้วยระยะทางทีแตกต่าง
กันออกไป แต่เนืองจากดาวฤกษ์แต่ละดวงอยู่ห่างจากเรามาก เราจึงมองเห็นเป็นเพียงจุดแสง เพียงแต่
แตกต่างกันทีสีและความสว่าง
ยกตัวอย่าง กลุ่มดาวแคสสิโอเปีย
จินตนาการว่าเป็น “พระราชินี”
ดาวฤกษ์ 5 ดวง เรียงตัวเป็นรูปตัว
ความสว่างใกล้เคียงกัน
ในความเป็นจริง ดาวฤกษ์ทังห้าดวงนี มีขนาดแตกต่างกันมาก และอยู่ห่างจากโลกด้วยระยะทางที
แตกต่างกันมากด้วย ดาวเบต้า
ไกล เราจึงมองเห็นเหมือนว่าดาวทังสองมีความสว่างใกล้เคียงกัน เราม
ระยะเชิงมุมใกล้ ๆ กัน ทว่าความจริงแล้ว ดาวฤกษ์ทังสองอยู่ลึกไปในอวกาศไม่เท่ากัน
ภาพที
ดาวฤกษ์แต่ละดวงมิได้หยุดนิงอยู่ประจําที ทว่าเคลือนทีไปในอวกาศด้วยความเร็วและทิศทางที
แตกต่างกัน เนืองจากว่าดาวฤกษ์อยู่ห่างไกลมาก เราจึงมองเห็นพวกมันคล้ายว่าหยุดนิง และจินตนาการ
ลากเส้นเชือมต่อให้เป็นรูปร่างทีแน่นอน ดังในรูป ข
กาแล็กซีทางช้างเผือก กลุ่มดาวทีเรามองเห็น ย่อมมีรูปร่างแปรเปลียนไปตามกาลเว
เป็นภาพกลุ่มดาวค้าวคาวเมือ
เป็นภาพของกลุ่มดาวค้างคาวในอีก
ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th
ในความหมายทีแท้จริง
องฟ้า แท้จริงมีขนาดไม่เท่ากัน และอยู่ห่างจากโลกของเรา ด้วยระยะทางทีแตกต่าง
กันออกไป แต่เนืองจากดาวฤกษ์แต่ละดวงอยู่ห่างจากเรามาก เราจึงมองเห็นเป็นเพียงจุดแสง เพียงแต่
แตกต่างกันทีสีและความสว่าง
ยกตัวอย่าง กลุ่มดาวแคสสิโอเปีย (Cassiopeia) ซึงอยู่ใกล้ขัวฟ้าเหนือ
” แต่คนไทยเรามองเห็นเป็น “ค้างคาว” เมือมองดูด้วยตาเปล่า เราจะเห็น
นรูปตัว “M” หรือ “W” ควํา โดยทีดาวแต่ละดวงอยู่ห่างกันไม่มาก และมี
ในความเป็นจริง ดาวฤกษ์ทังห้าดวงนี มีขนาดแตกต่างกันมาก และอยู่ห่างจากโลกด้วยระยะทางที
แตกต่างกันมากด้วย ดาวเบต้า (β) มีขนาดเล็กแต่ว่าอยู่ใกล้ ส่วนดาวแกมม่า
ไกล เราจึงมองเห็นเหมือนว่าดาวทังสองมีความสว่างใกล้เคียงกัน เรามองเห็นเหมือนว่า ดาวทังสองมี
ระยะเชิงมุมใกล้ ๆ กัน ทว่าความจริงแล้ว ดาวฤกษ์ทังสองอยู่ลึกไปในอวกาศไม่เท่ากัน
ภาพที 8 กลุ่มดาวค้างคาวในความหมายทีแท้จริง
ดาวฤกษ์แต่ละดวงมิได้หยุดนิงอยู่ประจําที ทว่าเคลือนทีไปในอวกาศด้วยความเร็วและทิศทางที
เนืองจากว่าดาวฤกษ์อยู่ห่างไกลมาก เราจึงมองเห็นพวกมันคล้ายว่าหยุดนิง และจินตนาการ
ลากเส้นเชือมต่อให้เป็นรูปร่างทีแน่นอน ดังในรูป ข. เนืองจากดวงดาวแต่ละดวง ต่างเคลือนทีไปใน
กาแล็กซีทางช้างเผือก กลุ่มดาวทีเรามองเห็น ย่อมมีรูปร่างแปรเปลียนไปตามกาลเว
เป็นภาพกลุ่มดาวค้าวคาวเมือ 50,000 ปีในอดีต, รูป ข เป็นภาพกลุ่มดาวค้างคาวในปัจจุบัน
เป็นภาพของกลุ่มดาวค้างคาวในอีก 50,000 ปีข้างหน้า
34
nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
องฟ้า แท้จริงมีขนาดไม่เท่ากัน และอยู่ห่างจากโลกของเรา ด้วยระยะทางทีแตกต่าง
กันออกไป แต่เนืองจากดาวฤกษ์แต่ละดวงอยู่ห่างจากเรามาก เราจึงมองเห็นเป็นเพียงจุดแสง เพียงแต่
ซึงอยู่ใกล้ขัวฟ้าเหนือ (ในภาพที 8) ชาวยุโรป
เมือมองดูด้วยตาเปล่า เราจะเห็น
ควํา โดยทีดาวแต่ละดวงอยู่ห่างกันไม่มาก และมี
ในความเป็นจริง ดาวฤกษ์ทังห้าดวงนี มีขนาดแตกต่างกันมาก และอยู่ห่างจากโลกด้วยระยะทางที
มีขนาดเล็กแต่ว่าอยู่ใกล้ ส่วนดาวแกมม่า (γ) มีขนาดใหญ่แต่ว่าอยู่
องเห็นเหมือนว่า ดาวทังสองมี
ระยะเชิงมุมใกล้ ๆ กัน ทว่าความจริงแล้ว ดาวฤกษ์ทังสองอยู่ลึกไปในอวกาศไม่เท่ากัน
ดาวฤกษ์แต่ละดวงมิได้หยุดนิงอยู่ประจําที ทว่าเคลือนทีไปในอวกาศด้วยความเร็วและทิศทางที
เนืองจากว่าดาวฤกษ์อยู่ห่างไกลมาก เราจึงมองเห็นพวกมันคล้ายว่าหยุดนิง และจินตนาการ
เนืองจากดวงดาวแต่ละดวง ต่างเคลือนทีไปใน
กาแล็กซีทางช้างเผือก กลุ่มดาวทีเรามองเห็น ย่อมมีรูปร่างแปรเปลียนไปตามกาลเวลา ดังแสดงในรูป ก
รูป ข เป็นภาพกลุ่มดาวค้างคาวในปัจจุบัน, และรูป ค
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ
จักราศี (Zodiac)
โลกหมุนรอบตัวเอง ขณะเดียวกันก็โคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยใช้เวลารอบละ
ปรากฏของดวงอาทิตย์ เทียบกับตําแหน่งของกลุ่มดาว บนท้องฟ้าเปลียนแปลงไป ดังภาพที
ยกตัวอย่าง เช่น ในเดือนมิถุนายน เรามองเห็นดวงอาทิตย์อยู่หน้า
เวลาหนึงเดือนต่อมา ดวงอาทิตย์เคลือนทีในทิศทวนเข็มนาฬิกาไป
เคลือนทีไปอยู่หน้า “กลุ่มดาวปู
เราเรียกกลุ่มดาว ซึงบอกตําแหน่งดวงอาทิตย์ ในแต่ละเดือนว่า
สมัยก่อนใช้กลุ่มดาวจักราศีเป็นเสมือนปฏิทินในการกําหนดเวลาเป็นเดือนและปี โดยการเปรียบเทียบ
ตําแหน่งของดวงอาทิตย์ กับตําแหน่งของกลุ่มดาวจักราศีบนท้องฟ้า โดยการถือเอาเส้นสุริยะวิถี เป็นเส้น
รอบวง 360° หารด้วยจํานวนกลุ่มดาวประจําราศีทัง
ถ้าหากแกนหมุนของโลกตังฉากกับระนาบวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ เส้นศูนย์สูตรฟ้ากับเส้นสุริยะ
วิถีจะเป็นเส้นเดียวกัน และเราจะเห็นดวงอาทิตย์และกลุ่มดาวจักราศี อยู่บนเส้นศูนย์สูตรฟ้าตลอดเวลา
ทว่าในความเป็นจริง แกนของโลกเอียง
จะเรียงตัวอยู่บนเส้นสุริยะวิถี ห่างจากเส้นศูนย์สูตรฟ้าไปทางทิศเหนือหรือใต้ เป็นระยะเชิงมุมไม่เกิน
23.5° ดังภาพที 9
ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th
โลกหมุนรอบตัวเอง ขณะเดียวกันก็โคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยใช้เวลารอบละ
ปรากฏของดวงอาทิตย์ เทียบกับตําแหน่งของกลุ่มดาว บนท้องฟ้าเปลียนแปลงไป ดังภาพที
ยกตัวอย่าง เช่น ในเดือนมิถุนายน เรามองเห็นดวงอาทิตย์อยู่หน้า “กลุ่มดาวคนคู่
เวลาหนึงเดือนต่อมา ดวงอาทิตย์เคลือนทีในทิศทวนเข็มนาฬิกาไป 30 องศา เราก็จะมองเห็นดวงอาทิตย์
กลุ่มดาวปู” (ราศีกรกฏ) ซึงอยู่ถัดไป 30° เช่นกัน
เราเรียกกลุ่มดาว ซึงบอกตําแหน่งดวงอาทิตย์ ในแต่ละเดือนว่า “จักราศี
สมัยก่อนใช้กลุ่มดาวจักราศีเป็นเสมือนปฏิทินในการกําหนดเวลาเป็นเดือนและปี โดยการเปรียบเทียบ
ตําแหน่งของดวงอาทิตย์ กับตําแหน่งของกลุ่มดาวจักราศีบนท้องฟ้า โดยการถือเอาเส้นสุริยะวิถี เป็นเส้น
หารด้วยจํานวนกลุ่มดาวประจําราศีทัง 12 กลุ่ม ซึงห่างกันกลุ่มละ
ภาพที 9 กลุ่มดาวจักราศี
ถ้าหากแกนหมุนของโลกตังฉากกับระนาบวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ เส้นศูนย์สูตรฟ้ากับเส้นสุริยะ
วิถีจะเป็นเส้นเดียวกัน และเราจะเห็นดวงอาทิตย์และกลุ่มดาวจักราศี อยู่บนเส้นศูนย์สูตรฟ้าตลอดเวลา
ทว่าในความเป็นจริง แกนของโลกเอียง 23.5° ขณะทีโคจรไปรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ ดังนันกลุ่มดาวจักราศี
จะเรียงตัวอยู่บนเส้นสุริยะวิถี ห่างจากเส้นศูนย์สูตรฟ้าไปทางทิศเหนือหรือใต้ เป็นระยะเชิงมุมไม่เกิน
35
nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
โลกหมุนรอบตัวเอง ขณะเดียวกันก็โคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยใช้เวลารอบละ 1 ปี ทําให้ตําแหน่ง
ปรากฏของดวงอาทิตย์ เทียบกับตําแหน่งของกลุ่มดาว บนท้องฟ้าเปลียนแปลงไป ดังภาพที 4
กลุ่มดาวคนคู่” (ราศีเมถุน) และใน
องศา เราก็จะมองเห็นดวงอาทิตย์
จักราศี” (Zodiac) ผู้คนใน
สมัยก่อนใช้กลุ่มดาวจักราศีเป็นเสมือนปฏิทินในการกําหนดเวลาเป็นเดือนและปี โดยการเปรียบเทียบ
ตําแหน่งของดวงอาทิตย์ กับตําแหน่งของกลุ่มดาวจักราศีบนท้องฟ้า โดยการถือเอาเส้นสุริยะวิถี เป็นเส้น
30°
ถ้าหากแกนหมุนของโลกตังฉากกับระนาบวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ เส้นศูนย์สูตรฟ้ากับเส้นสุริยะ
วิถีจะเป็นเส้นเดียวกัน และเราจะเห็นดวงอาทิตย์และกลุ่มดาวจักราศี อยู่บนเส้นศูนย์สูตรฟ้าตลอดเวลา
ขณะทีโคจรไปรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ ดังนันกลุ่มดาวจักราศี
จะเรียงตัวอยู่บนเส้นสุริยะวิถี ห่างจากเส้นศูนย์สูตรฟ้าไปทางทิศเหนือหรือใต้ เป็นระยะเชิงมุมไม่เกิน
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ
2.4 กลุ่มดาว ลักษณะการเคลือนทีของกลุ่มดาวบนท้องฟ้ า
แม้ว่าจะมีกลุ่มดาวบนท้องฟ้าอยู่ถึง
เหมาะสมสําหรับการเริมต้น และกลุ่มดาวเหล่านีก็มิได้มีให้เห็นตลอดเวลา เนืองเพราะโลกหมุนรอบตัวเอง
และหมุนรอบดวงอาทิตย์ กลุ่มดาว
ดาวฤกษ์สว่างรอบดาวหมีใหญ่
ในการเริมต้นดูดาวนัน เราต้องจับจุดจากดาวฤกษ์ทีสว่างเสียก่อน แล้วจึงค่อยมองหารูปทรงของ
ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th
ภาพที 10 สุริยะวิถี และกลุ่มดาวจักราศี
ลักษณะการเคลือนทีของกลุ่มดาวบนท้องฟ้ า
แม้ว่าจะมีกลุ่มดาวบนท้องฟ้าอยู่ถึง 88 กลุ่ม แต่ในทางปฏิบัติมีกลุ่มดาวเพียงสิบกว่ากลุ่มที
เหมาะสมสําหรับการเริมต้น และกลุ่มดาวเหล่านีก็มิได้มีให้เห็นตลอดเวลา เนืองเพราะโลกหมุนรอบตัวเอง
และหมุนรอบดวงอาทิตย์ กลุ่มดาวสว่างแต่ละกลุ่มจะปรากฏให้เห็นเพียงแต่ละช่วงเวลาเท่านัน
ดาวฤกษ์สว่างรอบดาวหมีใหญ่
ภาพที 11 ดาวฤกษ์สว่างรอบดาวหมีใหญ่
ในการเริมต้นดูดาวนัน เราต้องจับจุดจากดาวฤกษ์ทีสว่างเสียก่อน แล้วจึงค่อยมองหารูปทรงของ
36
nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
กลุ่ม แต่ในทางปฏิบัติมีกลุ่มดาวเพียงสิบกว่ากลุ่มที
เหมาะสมสําหรับการเริมต้น และกลุ่มดาวเหล่านีก็มิได้มีให้เห็นตลอดเวลา เนืองเพราะโลกหมุนรอบตัวเอง
สว่างแต่ละกลุ่มจะปรากฏให้เห็นเพียงแต่ละช่วงเวลาเท่านัน
ในการเริมต้นดูดาวนัน เราต้องจับจุดจากดาวฤกษ์ทีสว่างเสียก่อน แล้วจึงค่อยมองหารูปทรงของ
37
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
กลุ่มดาว สิงแรกทีต้องทําความเข้าใจคือ การเคลือนทีของท้องฟ้า เราจะต้องหาทิศเหนือให้พบ แล้ว
สังเกตการเคลือนทีของกลุ่มดาว จากซีกฟ้าตะวันออกไปยังซีกฟ้าตะวันตก เนืองจากการหมุนตัวเองของ
โลก
“กลุ่มดาวหมีใหญ่” (Ursa Major) ประกอบด้วยดาวสว่างเจ็ดดวง เรียงตัวเป็นรูปกระบวยขนาด
ใหญ่ ดาวสองดวงแรกชาวยุโรปเรียกว่า “เดอะ พอยเตอร์” (The Pointer) หมายถึง ลูกศรซึงชีเข้าหา “ดาว
เหนือ” (Polaris) อยู่ตลอดเวลา โดยดาวเหนือจะอยู่ห่างจากดาวสองดวงแรกนัน นับเป็นระยะเชิงมุมสีเท่า
ของระยะเชิงมุมระหว่างดาวสองดวงนัน ดาวเหนืออยู่ในส่วนปลายหางของ ”กลุ่มดาวหมีเล็ก” (Ursa
Minor) ซึงประกอบด้วยดาวไม่สว่าง เรียงตัวเป็นรูปกระบวยเล็ก แม้ว่าดาวเหนือจะมีความสว่างไม่มากนัก
แต่ในบริเวณขัวฟ้าเหนือ ก็ไม่มีดาวใดสว่างไปกว่าดาวเหนือ ดังนันดาวเหนือจึงมีความโดดเด่น
พอสมควร
เมือเราทราบตําแหน่งของดาวเหนือ เราก็จะทราบทิศทางการหมุนของทรงกลมท้องฟ้า หากเรา
หันหน้าเข้าหาดาวเหนือ ทางขวามือจะเป็นทิศตะวันออก และทางซ้ายมือจะเป็นทิศตะวันตก กลุ่มดาว
ทังหลายจะเคลือนทีจากทางขวามือไปตกทางซ้ายมือ ในขันตอนต่อไปเราจะตังหลักทีกลุ่มดาวหมีใหญ่
วาดเส้นโค้งตาม “หางหมี” หรือ “ด้ามกระบวย” ต่อออกไปยัง “ดาวดวงแก้ว” (Arcturus) หรือทีมีชือเรียกอีก
ชือหนึงว่า “ดาวมหาจุฬามณี” เป็นดาวสีส้มสว่างมากใน “กลุ่มดาวคนเลียงสัตว์” (Bootes) และหาก
ลากเส้นอาร์คโค้งต่อไปอีกเท่าตัว ก็จะเห็นดาวสว่างสีขาวชือว่า “ดาวรวงข้าว” (Spica) อยู่ในกลุ่มดาว
หญิงสาว (Virgo) หรือราศีกันย์ กลุ่มดาวนีจะมีดาวสว่างประมาณ 7 ดวงเรียงตัวเป็นรูปตัว Y อยู่บนเส้น
สุริยะวิถี
กลับมาทีกลุ่มดาวหมีใหญ่อีกครัง ดาวดวงที 4 และ 3 ตรงส่วนของกระบวย จะชีไปยัง “ดาวหัวใจ
สิงห์” (Regulus) ใน”กลุ่มดาวสิงโต” (Leo) หรือ ราศีสิงห์ พึงระลึกไว้ว่า กลุ่มดาวจักราศีจะอยู่บนเส้นสุริยะ
วิถีเสมอ ถ้าเราพบกลุ่มดาวราศีหนึง เราก็สามารถไล่หากลุ่มดาวราศีของเดือนอืนซึงเรียงถัดไปได้ เช่น
ในภาพที 1 เราเห็นกลุ่มดาวราศีสิงห์ และกลุ่มดาวราศีกันย์ เราก็สามารถประมาณได้ว่ากลุ่มดาวราศีกรกฏ
และราศีตุลย์จะอยู่ทางไหนสามเหลียมฤดูหนาว
ภาพที 12 สามเหลียมฤดูหนาว
38
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
ในช่วงของหัวคําของฤดูหนาว จะมีกลุ่มดาวสว่างอยู่ทางทิศตะวันออก คือ กลุ่มดาวนายพราน
กลุ่มดาวสุนัขใหญ่ และกลุ่มดาวสุนัขเล็ก หากลากเส้นเชือม ดาวบีเทลจุส (Betelgeuse) - ดาวสว่างสี
แดงตรงหัวไหล่ของนายพรานไปยัง
ดาวซิริอุส (Sirius) – ดาวฤกษ์สว่างทีสุดสีขาว ตรงหัวสุนัขใหญ่ และ ดาวโปรซีออน (Procyon) - ดาว
สว่างสีขาวตรงหัวสุนัขเล็ก จะได้รูปสามเหลียมด้านเท่า เรียกว่า “สามเหลียมฤดูหนาว” (Summer
Triangle) ซึงจะขึนในเวลาหัวคําของฤดูหนาว
กลุ่มดาวนายพรานเป็นกลุ่มดาวทีเหมาะสมกับการเริมต้นหัดดูดาวมากทีสุด เนืองจาก
ประกอบด้วยดาวสว่างทีมีรูปแบบการเรียงตัว (pattern) ทีโดดเด่นจําง่าย และขึนตอนหัวคําของฤดูหนาว
ซึงมักมีสภาพอากาศดีท้องฟ้าใสไม่มีเมฆปกคลุม สัญลักษณ์ของกลุ่มดาวนายพรานก็คือ ดาวสว่างสาม
ดวงเรียงกันเป็นเส้นตรง ซึงเรียกว่า “เข็มขัดนายพราน” (Orion’s belt) ทางทิศใต้ของเข็มขัดนายพราน มี
ดาวเล็ก ๆ สามดวงเรียงกัน คนไทยเราเห็นเป็นรูป “ด้ามไถ” แต่ชาวยุโรปเรียกว่า “ดาบนายพราน”
(Orion’s sword) ทีตรงกลางของบริเวณดาบนายพรานนี ถ้านํากล้องส่องดูจะพบ “เนบิวลา M42” เป็นกลุ่ม
ก๊าซในอวกาศ กําลังรวมตัวเป็นดาวเกิดใหม่ ซึงอยู่ตรงใจกลางและส่องแสงมากระทบเนบิวลา ทําให้เรา
มองเห็น
ดาวสว่างสองดวงทีบริเวณหัวไหล่ด้านทิศตะวันออก และหัวเข่าด้านทิศตะวันตกของกลุ่มดาว
นายพราน มีสีแตกต่างกันมาก ดาวบีเทลจุส มีสีออกแดง แต่ดาวไรเจล (Rigel) มีสีออกนําเงิน สีของ
ดาวบอกถึงอายุและอุณหภูมิของดาว ดาวสีนําเงินเป็นดาวทีมีอายุน้อย และมีอุณหภูมิสูง 1 – 2
หมืนองศาเซลเซียส ดาวสีแดงเป็นดาวทีมีอายุมาก และมีอุณหภูมิตําประมาณ 3,000 °°°°C ส่วน
ดวงอาทิตย์ของเรามีสีเหลือง เป็นดาวฤกษ์ซึงมีอายุปานกลาง และมีอุณหภูมิทีพืนผิวประมาณ
6,000 °°°°C ในกลุ่มดาวสุนัขใหญ่ (Canis Major) มีดาวฤกษ์ทีสว่างทีสุดบนท้องฟ้ามีชือว่า ดาวซิริอุส
(Sirius) คนไทยเราเรียกว่า “ดาวโจร” (เนืองจากสว่างจนทําให้โจรมองเห็นทางเข้ามาปล้น) ดาวซิริ
อุสมิได้มีขนาดใหญ่ แต่ว่าอยู่ห่างจากโลกเพียง 8.6 ล้านปีแสง ถ้าเทียบกับดาวไรเจลในกลุ่มดาว
นายพรานแล้ว ดาวไรเจลมีขนาดใหญ่และมีความสว่างกว่าดาวซิริอุสนับพันเท่า หากแต่ว่าอยู่ห่างไกลถึง
777 ล้านปีแสง เมือมองดูจากโลก ดาวไรเจลจึงมีความสว่างน้อยกว่าดาวซิริอุส
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ
สามเหลียมฤดูร้อน
ในช่วงหัวคําของต้นฤดูหนาว จะมีกลุ่มดาวสว่างทางด้านทิศตะวันตก คือ กลุ่มดาวพิณ กลุ่มดาว
หงส์ และกลุ่มดาวนกอินทรีย์ หากลากเส้นเชือม
ดาวหางหงส์ (Deneb) – ดาวสว่างสีขาวในกลุ่มดาวหงส์ และ
ในกลุ่มดาวนกอินทรีย์ จะได้รูปสามเหลียมด้านไม่เท่าเรียกว่า
Triangle) ซึงอยู่ในทิศตรงข้ามกับสามเหลียมฤดูหนาว ขณะทีสามเหลียมฤดูร้อนกําลังจะตก
สามเหลียมฤดูหนาวก็กําลังจะขึน
ซึงเป็นช่วงฤดูฝนของประเทศไทย
แถบฝ้าสว่างคล้ายเมฆขาว พาดข้ามท้องฟ้า ผ่านบริเวณกลุ่มดาวนกอินทรีย์ กลุ่มดาวหงส์ ไปยังกลุ่มดาว
แคสสิโอเปีย (ค้างคาว) แถบฝ้าสว่างทีเห็นนันแท้ทีจริงคือ
2.5 แผนทีดาว
การอ่านแผนทีดาวเป็น
อย่างถูกต้อง ก่อนอ่านแผนทีดาวเพือเปรียบเทียบกับดาวทีปรากฏบนท้องฟ้า
– ใต้ ตะวันออก – ตะวันตก
ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th
ภาพที 13 สามเหลียมฤดูร้อน
ในช่วงหัวคําของต้นฤดูหนาว จะมีกลุ่มดาวสว่างทางด้านทิศตะวันตก คือ กลุ่มดาวพิณ กลุ่มดาว
หงส์ และกลุ่มดาวนกอินทรีย์ หากลากเส้นเชือม ดาวเวก้า (Vega) - ดาวสว่างสีขาวในกลุ่มดาวพิณไปยัง
ดาวสว่างสีขาวในกลุ่มดาวหงส์ และ ดาวนกอินทรีย์
ในกลุ่มดาวนกอินทรีย์ จะได้รูปสามเหลียมด้านไม่เท่าเรียกว่า “สามเหลียมฤดูร้อน
ซึงอยู่ในทิศตรงข้ามกับสามเหลียมฤดูหนาว ขณะทีสามเหลียมฤดูร้อนกําลังจะตก
สามเหลียมฤดูหนาวก็กําลังจะขึน (สามเหลียมฤดูหนาวขึนตอนหัวคําของฤดูร้อนของยุโรปและอเมริกา
ซึงเป็นช่วงฤดูฝนของประเทศไทย) ในคืนทีเป็นข้างแรมไร้แสงจันทร์รบกวน หากสังเกตให้ดีจะเ
แถบฝ้าสว่างคล้ายเมฆขาว พาดข้ามท้องฟ้า ผ่านบริเวณกลุ่มดาวนกอินทรีย์ กลุ่มดาวหงส์ ไปยังกลุ่มดาว
แถบฝ้าสว่างทีเห็นนันแท้ทีจริงคือ “ทางช้างเผือก” (The Milky Way)
การอ่านแผนทีดาวเป็น จะทําให้เราดูดาวหรือกลุ่มดาวทีปรากฏบนท้องฟ้า
ก่อนอ่านแผนทีดาวเพือเปรียบเทียบกับดาวทีปรากฏบนท้องฟ้า
ตะวันตก ของทีนัน ๆ ก่อน
39
nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
ในช่วงหัวคําของต้นฤดูหนาว จะมีกลุ่มดาวสว่างทางด้านทิศตะวันตก คือ กลุ่มดาวพิณ กลุ่มดาว
ดาวสว่างสีขาวในกลุ่มดาวพิณไปยัง
ดาวนกอินทรีย์ (Altair) - ดาวสว่างสีขาว
สามเหลียมฤดูร้อน” (Summer
ซึงอยู่ในทิศตรงข้ามกับสามเหลียมฤดูหนาว ขณะทีสามเหลียมฤดูร้อนกําลังจะตก
สามเหลียมฤดูหนาวขึนตอนหัวคําของฤดูร้อนของยุโรปและอเมริกา
ในคืนทีเป็นข้างแรมไร้แสงจันทร์รบกวน หากสังเกตให้ดีจะเห็นว่า มี
แถบฝ้าสว่างคล้ายเมฆขาว พาดข้ามท้องฟ้า ผ่านบริเวณกลุ่มดาวนกอินทรีย์ กลุ่มดาวหงส์ ไปยังกลุ่มดาว
The Milky Way)
จะทําให้เราดูดาวหรือกลุ่มดาวทีปรากฏบนท้องฟ้า ณ วัน – เวลาใดได้
ก่อนอ่านแผนทีดาวเพือเปรียบเทียบกับดาวทีปรากฏบนท้องฟ้า ผู้สังเกตต้องรู้ทิศเหนือ
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ
แผนทีดาวทีนิยมใช้กันในปัจจุบัน
ติดกันตรงกลาง โดยแผ่นหนึงจะเป็นภาพของกลุ่มดาวและดาวสว่าง
วงกลมจะระบุ “วัน – เดือน”
แผนทีดาวก็เพียงแต่หมุนวัน
กลุ่มดาวทีปรากฏบนแผนทีดาวจะเป็นกลุ่มดาวจริงทีปรากฏจริงบนท้องฟ้า
ที 14
การใช้แผนทีดาว ณ
ขึนเหนือศีรษะ โดยให้ทิศในแผนทีดาว
กับ เวลา ณ ขณะนัน
ส่วนการใช้แผนทีดาวแบบหกแผ่นให้นักเรียนหัดใช้กับอาจารย์กันต์ธนากร น้อยเสนาในห้องเรียน
ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th
แผนทีดาวทีนิยมใช้กันในปัจจุบัน จะเป็นแผนทีดาวแบบหมุน โดยเป็นกระดาษแข็ง
โดยแผ่นหนึงจะเป็นภาพของกลุ่มดาวและดาวสว่าง เขียนอยู่ในวงกลม
” ไว้โดยรอบ ส่ายแผ่นติดอยู่ด้านบน จะระบุ “เวลา
– เดือนของแผ่นล่างให้ตรงกับเวลา ทีต้องการสังเกตการณ์ของแผ่นบน
กลุ่มดาวทีปรากฏบนแผนทีดาวจะเป็นกลุ่มดาวจริงทีปรากฏจริงบนท้องฟ้า ณ
ภาพที 14 แผนทีดาว
สถานทีสังเกตการณ์จริง ให้เราหันหน้าไปทางทิศเหนือ
โดยให้ทิศในแผนทีดาว ตรงกับทิศจริง โดยทีแผนทีดาวดังกล่าวหมุนวัน
ส่วนการใช้แผนทีดาวแบบหกแผ่นให้นักเรียนหัดใช้กับอาจารย์กันต์ธนากร น้อยเสนาในห้องเรียน
40
nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
โดยเป็นกระดาษแข็ง 2 แผ่นตรึง
เขียนอยู่ในวงกลม โดยทีขอบของ
เวลา” ไว้โดยรอบ การใช้
ทีต้องการสังเกตการณ์ของแผ่นบน
ขณะนัน ดังแสดงในภาพ
ให้เราหันหน้าไปทางทิศเหนือ แล้วยกแผนทีดาว
โดยทีแผนทีดาวดังกล่าวหมุนวัน – เดือน ให้ตรง
ส่วนการใช้แผนทีดาวแบบหกแผ่นให้นักเรียนหัดใช้กับอาจารย์กันต์ธนากร น้อยเสนาในห้องเรียน

More Related Content

Viewers also liked

ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.Jurarud Porkhum
 
ระบบภูมิคุ้มกันppt.
ระบบภูมิคุ้มกันppt.ระบบภูมิคุ้มกันppt.
ระบบภูมิคุ้มกันppt.Jurarud Porkhum
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงTom Vipguest
 
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemkasidid20309
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1Sircom Smarnbua
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 

Viewers also liked (14)

ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
 
Organicpds
OrganicpdsOrganicpds
Organicpds
 
ระบบภูมิคุ้มกันppt.
ระบบภูมิคุ้มกันppt.ระบบภูมิคุ้มกันppt.
ระบบภูมิคุ้มกันppt.
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
กรดเบส
กรดเบสกรดเบส
กรดเบส
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
 
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 

Similar to Lesson2

บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxบทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxssuserfffbdb
 
ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์Arisara Sutachai
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1onchalermpong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 kanjana23
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 

Similar to Lesson2 (20)

ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxบทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
 
ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
ดาวฤกษ์.pptx
ดาวฤกษ์.pptxดาวฤกษ์.pptx
ดาวฤกษ์.pptx
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Astroplan13
Astroplan13Astroplan13
Astroplan13
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
Astro & space technology
Astro & space technologyAstro & space technology
Astro & space technology
 

Lesson2

  • 1. 27 นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) บทที 2 ทรงกลมท้องฟ้ า 2.1 ลักษณะทรงกลมท้องฟ้ า คนในสมัยโบราณเชือว่า ดวงดาวทังหมดบนท้องฟ้าอยู่ห่างจากโลกเป็นระยะทางเท่า ๆ กัน โดย ดวงดาวเหล่านันถูกตรึงอยู่บนผิวของทรงกลมขนาดใหญ่เรียกว่า “ทรงกลมท้องฟ้า” (Celestial sphere) โดยมีโลกอยู่ทีศูนย์กลางของทรงกลม ทรงกลมท้องฟ้าหมุนรอบโลกจากทิศตะวันออกไปยังทิศ ตะวันตก โดยทีโลกหยุดนิงอยู่กับที ไม่เคลือนไหว นักปราชญ์ในยุคต่อมาทําการศึกษาดาราศาสตร์กันมากขึน จึงพบว่า ดวงดาวบนท้องฟ้าอยู่ห่าง จากโลกเป็นระยะทางทีแตกต่างกัน กลางวันและกลางคืนเกิดจากการหมุนรอบตัวเองของโลก มิใช่การ หมุนของทรงกลมท้องฟ้า ดังทีเคยเชือกันในอดีต อย่างไรก็ตามในปัจจุบันนักดาราศาสตร์ยังคงใช้ทรง กลมท้องฟ้า เป็นเครืองมือในการระบุตําแหน่งทางดาราศาสตร์ ทังนีเป็นเพราะ หากเราจินตนาการให้โลก เป็นศูนย์กลาง โดยมีทรงกลมท้องฟ้าเคลือนทีหมุนรอบ จะทําให้ง่ายต่อการระบุพิกัด หรือเปรียบเทียบ ตําแหน่งของวัตถุบนท้องฟ้า และสังเกตการเคลือนทีของวัตถุเหล่านันได้ง่ายขึน ภาพที 1 ทรงกลมท้องฟ้า จินตนาการจากอวกาศ • หากต่อแกนหมุนของโลกออกไปบนท้องฟ้าทัง สองด้าน เราจะได้จุดสมมติเรียกว่า “ขัวฟ้าเหนือ” (North celestial pole) และ “ขัวฟ้าใต้” (South celestial pole) โดยขัวฟ้าทังสองจะมีแกน เดียวกันกับแกนการหมุนรอบตัวเองของโลก และ ขัวฟ้าเหนือจะชีไปประมาณตําแหน่งของดาว เหนือ ทําให้เรามองเห็นว่า ดาวเหนือไม่มีการ เคลือนที • หากขยายเส้นศูนย์สูตรโลกออกไปบนท้องฟ้า โดยรอบ เราจะได้เส้นสมมติเรียกว่า “เส้นศูนย์ สูตรฟ้า” (Celestial equator) เส้นศูนย์สูตรฟ้า แบ่งท้องฟ้าออกเป็น “ซีกฟ้าเหนือ” (Northern hemisphere) และ “ซีกฟ้าใต้” (Southern hemisphere) เช่นเดียวกับทีเส้นศูนย์สูตรโลก แบ่งโลก ออกเป็นซีกโลกเหนือ และซีกโลกใต้ จินตนาการจากพืนโลก • ในความเป็นจริง เราไม่สามารถมองเห็นทรงกลม
  • 2. 28 นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) ภาพที 2 เส้นสมมติบนทรงกลมท้องฟ้า ท้องฟ้าได้ทังหมด เนืองจากเราอยู่บนพืนผิวโลก จึง มองเห็นทรงกลมท้องฟ้าได้เพียงครึงเดียว และเรียก แนวทีท้องฟ้าสัมผัสกับพืนโลกรอบตัวเราว่า “เส้น ขอบฟ้า” (Horizon) ซึงเป็นเสมือนเส้นรอบวงบนพืน ราบ ทีมีตัวเราเป็นจุดศูนย์กลาง • หากลากเส้นโยงจากทิศเหนือมายังทิศใต้ โดยผ่านจุด เหนือศรีษะ จะได้เส้นสมมติซึงเรียกว่า “เส้นเม อริเดียน” (Meridian) • หากลากเส้นเชือมทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก โดยให้ เส้นสมมตินันเอียงตังฉากกับขัวฟ้าเหนือตลอดเวลา จะได้ “เส้นศูนย์สูตรฟ้า” ซึงแบ่งท้องฟ้าออกเป็นซีก ฟ้าเหนือและซีกฟ้าใต้ หากทําการสังเกตการณ์จาก ประเทศไทย ซึงอยู่บนซีกโลกเหนือ จะมองเห็นซีกฟ้า เหนือมีอาณาบริเวณมากกว่าซีกฟ้าใต้เสมอ การเคลือนทีของทรงกลมท้องฟ้ า เมือมองจากพืนโลกเราจะเห็นทรงกลมท้องฟ้าเคลือนทีจากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก อย่างไรก็ตามเนืองจากโลกของเราเป็นทรงกลม ดังนันมุมมองของการเคลือนทีของทรงกลมท้องฟ้า ย่อมขึนอยู่กับตําแหน่งละติจูด (เส้นรุ้ง) ของผู้สังเกตการณ์ เป็นต้นว่า • ถ้าผู้สังเกตการณ์อยู่บนเส้นศูนย์สูตร หรือละติจูด 0° ขัวฟ้าเหนือก็จะอยู่ทีขอบฟ้าด้านทิศเหนือ พอดี (ภาพที 3) • ถ้าผู้สังเกตการณ์อยู่ทีละติจูดสูงขึนไป เช่น ละติจูด 13° ขัวฟ้าเหนือก็จะอยู่สูงจากขอบฟ้า 13° (ภาพที 4) • ถ้าผู้สังเกตการณ์อยู่ทีขัวโลกเหนือ หรือละติจูด 90° ขัวฟ้าเหนือก็จะอยู่สูงจากขอบฟ้า 90° (ภาพ ที 5) เราสามารถสรุปได้ว่า ถ้าผู้สังเกตการณ์อยู่ทีละติจูดเท่าใด ขัวฟ้าเหนือก็จะอยู่สูงจากขอบฟ้าเท่ากับ ละติจูดนัน
  • 3. 29 นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) ภาพที 3 ละติจูด 0° N ผู้สังเกตการณ์อยู่ทีเส้นศูนย์สูตร (ละติจูด 0°) ดาวเหนือจะอยู่บนเส้นขอบฟ้าพอดี ดาวขึน – ตก ในแนวในตังฉากกับพืนโลก ภาพที 4 ละติจูด 13° N ผู้สังเกตการณ์อยู่ที กรุงเทพ ฯ (ละติจูด 13° N) ดาวเหนือจะอยู่สูงเหนือเส้นขอบฟ้า 13° ดาวขึน – ตก ในแนวเฉียงไปทางใต้ 13° ภาพที 5 ละติจูด 90° N ผู้สังเกตการณ์อยู่ทีขัวโลกเหนือ (ละติจูด 90° N) ดาวเหนือจะอยู่สูงเหนือเส้นขอบฟ้า 90° ดาวเคลือนทีในแนวขนานกับพืนโลก
  • 4. 30 นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) การขึนตกของดาว 5 รูปแบบ 1. แบบที 1 North circumpolar star จะเป็นกลุ่มดาวทีไม่ลับขอบฟ้า ซึงอยู่ทางซีกฟ้าเหนือ 2. แบบที 2 South circumpolar star จะเป็นกลุ่มดาวทีไม่ปรากฏบนท้องฟ้าให้เห็น ซึงอยู่ทางซีก ฟ้าใต้ 3. แบบที 3 ดาวทีปรากฏบนเส้นศูนย์สูตร เป็นกลุ่มดาวทีใช้เวลาปรากฏบนท้องฟ้าเท่ากับเวลาที ลับขอบฟ้า 4. แบบที 4 ดาวทีปรากฏด้านซีกฟ้าเหนือ เป็นกลุ่มดาวทีใช้เวลาปรากฏบนท้องฟ้านานกว่าลับ ขอบฟ้า 5. แบบที 5 ดาวทีปรากฏด้านซีกฟ้าใต้ เป็นกลุ่มดาวทีใช้เวลาลับขอบฟ้านานกว่าปรากฏบน ท้องฟ้า 2.2 ลักษณะการเคลือนทีของดวงอาทิตย์ โลกของเราโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรีโดยมีดวงอาทิตย์อยู่ทีจุดโฟกัสจุดเหนือ แกน หมุนของโลกเรานันเอียงทํามุม 23.5 องศา กับเส้นตังฉากกับระนาบวงโคจรของโลกรอบดวง อาทิตย์ ทําให้ตําแหน่งของวงโคจรแกนหมุนเอียงเข้าหาดวงอาทิตย์ไม่เท่ากันและทําให้เกิดฤดูกาล บนโลกด้วย ภาพที 3 แสดงทางเดินของโลกรอบดวงอาทิตย์และการเอียงของแกนหมุน จากการทีโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ทําให้เราเห็นดวงอาทิตย์เคลือนทีไปบนท้องฟ้าเรียกเส้นนีว่า เส้นสุริยะวิถี โดยทํามุมกับเส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า 23.5 องศา ตําแหน่งทีสําคัญบนเส้นสุริยะวถีมีอยู่ 4 ตําแหน่งคือ จุดเส้นสุริยะวิถีตัดกับเส้นศูนย์สูตรท้องฟ้าเรียกว่าจุดอิควินอกซ์ มีอยู่ 2 จุด คือ จุดเวอร์
  • 5. 31 นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) นอลอิคลินอกซ์ (Vernal Equinox) เป็นตําแหน่งของดวงอาทิตย์ในวันที 21 มีนาคม และอีกจุดคือ ออทัม นอลอิคลินอกซ์ (Autumnal Equinox) เป็นตําแหน่งของดวงอาทิตย์ในวันที 23 กันยายน เมือดวงอาทิตย์ อยู่ทีตําแหน่งอิคลินอกซ์เวลากลางวันจะเท่ากันกับเวลากลางคืน อีก 2 จุดคือ จุดโซสตีสฤดูร้อน (Summer Solstice) เป็นตําแหน่งของดวงอาทิตย์ในวันที 22 มิถุนายนซึงโลกจะหันขัวโลกเหนือเข้าหาดวงอาทิตย์มากทีสุด ทําให้กลางวันยาวนานมากทีสุด และจุดตรง ข้ามคือจุดโซสติสฤดูหนาว (Winter Solstice) เป็นตําแหน่งของดวงอาทิตย์มากทีสุดทําให้กลางวันนันสัน ทีสุด คือวันที 22 ธันวาคม จากแกนหมุนของโลกเอียงทําให้ตําแหน่งของดวงอาทิตย์แต่ละวันนันเปลียนแปลงไปเรือย ๆ ทัง จากการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์และการทีแกนหมุนของโลกเอียง โดย 1 รอบ หรือ 360 องศา ใน เวลา 365 วัน หรือประมาณวันละ 1 องศา ทําให้แต่ละวันตําแหน่งทีดวงอาทิตย์ขึนเปลียนแปลงไปเรือย ๆ โดยในเดือนมิถุนายนดวงอาทิตย์จะขึนไปทางเหนือมากทีสุด และลงใต้มากทีสุดในเดือนธันวาคม ส่วน วันที 21 มีนาคม และ 23 กันยายน ดวงอาทิตย์จะขึนทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตกพอดี ภาพที 4 ทรงกลมท้องฟ้าแสดงเส้นสุริยะ
  • 6. 32 นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) การขึนและการตกในแต่ละวันของดวงอาทิตย์จะมี 3 ลักษณะคือ ขึนทางตะวันออกเฉียงเหนือและ ตกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือทําให้กลางวันวันยาวกว่ากลางคืน แบบที 2 คือ ขึนทางทิศตะวันออกเฉียง ใต้และตกทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ซึงทําให้กลางวันสันกว่ากลางคืน ภาพที 5 ทรงกลมท้องฟ้าของผู้สังเกตทีละติจูด องศาเหนือ และทรงกลมแสดงตําแหน่งของดาว การทีโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในแต่ละวัน ทําให้เห็นดวงอาทิตย์เคลือนทีไปบนท้องฟ้าเมือเทียบ กับดาวฤกษ์ ซึงเราเรียกกลุ่มดาวทีดวงอาทิตย์เคลือนทีผ่านว่ากลุ่มดาวจักราศีซึงมี 12 กลุ่ม แต่จริงๆ แล้ว ดวงอาทิตย์เคลือนทีผ่าน 13 กลุ่มดาว ซึงกลุ่มที 13 คือกลุ่มดาวคนแบกงู 2.3 ดาวฤกษ์และกลุ่มดาวบนทรงกลมท้องฟ้ า กลุ่มดาวคืออะไร ? คนในสมัยก่อนเชือว่า เบืองบนเป็นสวรรค์เบืองล่างเป็นนรกโดยมีโลกมนุษย์อยู่ตรงกลาง พวก เขาจินตนาการว่า โลกทีเราอยู่นัน มีทรงกลมท้องฟ้าล้อมรอบ โดยมีดวงดาวติดอยู่ทีทรงกลมนัน ดังนัน คนโบราณจึงคิดว่า ดวงดาวแต่ละดวงอยู่ห่างจากโลกเป็นระยะทางเท่า ๆ กัน เนืองจากบนท้องฟ้ามี ดวงดาวอยู่เป็นจํานวนมาก พวกเขาจึงแบ่งดวงดาวออกเป็นกลุ่ม ๆ และวาดภาพจินตนาการว่าเป็น รูป คน สัตว์ สิงของ ไปต่าง ๆ นานา ตามความเชือ และวิถีชีวิต ของวัฒนธรรมของพวกเขา
  • 7. นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ ภาพที กลุ่มดาว (Constellations) ซึงอยู่บนภูเขามีอาชีพล่าสัตว์ มองเห็นกลุ่มดาว ใหญ่มีอาชีพทางการเกษตร จึงมองเห็นกลุ่มดาวนีเป็นรูป ภาพที กลุ่มดาว “หมีใหญ่” (Ursa Major) แต่คนไทยใช้ชีวิตอยู่ริมนํา จึงมองเห็นเป็นรูป จะเห็นได้ว่า กลุ่มดาวเป็นเพียงเรืองของจินตนาการ ซึงมีความแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิน เชือ ชาติ ภาษา และวัฒนธรรม ฉะนันเพือให้สือความหมายตรงกัน องค์การดาราศาสตร์สากล จึงกําหนด มาตรฐานเดียวกัน โดยแบ่งกลุ่มดาวบนท้องฟ้าออกเป็น ตามยุโรป เช่น กลุ่มดาวนายพราน และกลุ่มดาวหมีใหญ่ ส่วนชือกลุ่มดาวเต่า กลุ่มดาวจระเข้นัน ถือเป็น ชือท้องถินภายในประเทศไทย ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th ภาพที 6 กลุ่มดาวเต่า หรือ กลุ่มดาวนายพราน (Constellations) บนท้องฟ้ามีความแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรม เป็นต้นว่า ชาวยุโรป ซึงอยู่บนภูเขามีอาชีพล่าสัตว์ มองเห็นกลุ่มดาว “นายพราน” (Orion) เป็นรูป “นายพราน ใหญ่มีอาชีพทางการเกษตร จึงมองเห็นกลุ่มดาวนีเป็นรูป “เต่า” และ “คันไถ” ดังภาพที ภาพที 7 กลุ่มดาวจระเข้ หรือ กลุ่มดาวหมีใหญ่ Ursa Major) ก็เช่นกัน ชาวยุโรปซึงใช้ชีวิตบนภูเขามองเห็นเป็นรูป แต่คนไทยใช้ชีวิตอยู่ริมนํา จึงมองเห็นเป็นรูป “จระเข้” ดังภาพที 7 จะเห็นได้ว่า กลุ่มดาวเป็นเพียงเรืองของจินตนาการ ซึงมีความแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิน เชือ ชาติ ภาษา และวัฒนธรรม ฉะนันเพือให้สือความหมายตรงกัน องค์การดาราศาสตร์สากล จึงกําหนด เดียวกัน โดยแบ่งกลุ่มดาวบนท้องฟ้าออกเป็น 88 กลุ่ม โดยมีชือเรียกให้เหมือนกัน โดยถือเอา ตามยุโรป เช่น กลุ่มดาวนายพราน และกลุ่มดาวหมีใหญ่ ส่วนชือกลุ่มดาวเต่า กลุ่มดาวจระเข้นัน ถือเป็น ชือท้องถินภายในประเทศไทย 33 nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) บนท้องฟ้ามีความแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรม เป็นต้นว่า ชาวยุโรป นายพราน” แต่คนไทยส่วน ดังภาพที 6 ก็เช่นกัน ชาวยุโรปซึงใช้ชีวิตบนภูเขามองเห็นเป็นรูป “หมีใหญ่” จะเห็นได้ว่า กลุ่มดาวเป็นเพียงเรืองของจินตนาการ ซึงมีความแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิน เชือ ชาติ ภาษา และวัฒนธรรม ฉะนันเพือให้สือความหมายตรงกัน องค์การดาราศาสตร์สากล จึงกําหนด กลุ่ม โดยมีชือเรียกให้เหมือนกัน โดยถือเอา ตามยุโรป เช่น กลุ่มดาวนายพราน และกลุ่มดาวหมีใหญ่ ส่วนชือกลุ่มดาวเต่า กลุ่มดาวจระเข้นัน ถือเป็น
  • 8. นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ “กลุ่มดาว” ในความหมายทีแท้จริง ดาวฤกษ์บนท้องฟ้า แท้จริงมีขนาดไม่เท่ากัน และอยู่ห่างจากโลกของเรา ด้วยระยะทางทีแตกต่าง กันออกไป แต่เนืองจากดาวฤกษ์แต่ละดวงอยู่ห่างจากเรามาก เราจึงมองเห็นเป็นเพียงจุดแสง เพียงแต่ แตกต่างกันทีสีและความสว่าง ยกตัวอย่าง กลุ่มดาวแคสสิโอเปีย จินตนาการว่าเป็น “พระราชินี” ดาวฤกษ์ 5 ดวง เรียงตัวเป็นรูปตัว ความสว่างใกล้เคียงกัน ในความเป็นจริง ดาวฤกษ์ทังห้าดวงนี มีขนาดแตกต่างกันมาก และอยู่ห่างจากโลกด้วยระยะทางที แตกต่างกันมากด้วย ดาวเบต้า ไกล เราจึงมองเห็นเหมือนว่าดาวทังสองมีความสว่างใกล้เคียงกัน เราม ระยะเชิงมุมใกล้ ๆ กัน ทว่าความจริงแล้ว ดาวฤกษ์ทังสองอยู่ลึกไปในอวกาศไม่เท่ากัน ภาพที ดาวฤกษ์แต่ละดวงมิได้หยุดนิงอยู่ประจําที ทว่าเคลือนทีไปในอวกาศด้วยความเร็วและทิศทางที แตกต่างกัน เนืองจากว่าดาวฤกษ์อยู่ห่างไกลมาก เราจึงมองเห็นพวกมันคล้ายว่าหยุดนิง และจินตนาการ ลากเส้นเชือมต่อให้เป็นรูปร่างทีแน่นอน ดังในรูป ข กาแล็กซีทางช้างเผือก กลุ่มดาวทีเรามองเห็น ย่อมมีรูปร่างแปรเปลียนไปตามกาลเว เป็นภาพกลุ่มดาวค้าวคาวเมือ เป็นภาพของกลุ่มดาวค้างคาวในอีก ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th ในความหมายทีแท้จริง องฟ้า แท้จริงมีขนาดไม่เท่ากัน และอยู่ห่างจากโลกของเรา ด้วยระยะทางทีแตกต่าง กันออกไป แต่เนืองจากดาวฤกษ์แต่ละดวงอยู่ห่างจากเรามาก เราจึงมองเห็นเป็นเพียงจุดแสง เพียงแต่ แตกต่างกันทีสีและความสว่าง ยกตัวอย่าง กลุ่มดาวแคสสิโอเปีย (Cassiopeia) ซึงอยู่ใกล้ขัวฟ้าเหนือ ” แต่คนไทยเรามองเห็นเป็น “ค้างคาว” เมือมองดูด้วยตาเปล่า เราจะเห็น นรูปตัว “M” หรือ “W” ควํา โดยทีดาวแต่ละดวงอยู่ห่างกันไม่มาก และมี ในความเป็นจริง ดาวฤกษ์ทังห้าดวงนี มีขนาดแตกต่างกันมาก และอยู่ห่างจากโลกด้วยระยะทางที แตกต่างกันมากด้วย ดาวเบต้า (β) มีขนาดเล็กแต่ว่าอยู่ใกล้ ส่วนดาวแกมม่า ไกล เราจึงมองเห็นเหมือนว่าดาวทังสองมีความสว่างใกล้เคียงกัน เรามองเห็นเหมือนว่า ดาวทังสองมี ระยะเชิงมุมใกล้ ๆ กัน ทว่าความจริงแล้ว ดาวฤกษ์ทังสองอยู่ลึกไปในอวกาศไม่เท่ากัน ภาพที 8 กลุ่มดาวค้างคาวในความหมายทีแท้จริง ดาวฤกษ์แต่ละดวงมิได้หยุดนิงอยู่ประจําที ทว่าเคลือนทีไปในอวกาศด้วยความเร็วและทิศทางที เนืองจากว่าดาวฤกษ์อยู่ห่างไกลมาก เราจึงมองเห็นพวกมันคล้ายว่าหยุดนิง และจินตนาการ ลากเส้นเชือมต่อให้เป็นรูปร่างทีแน่นอน ดังในรูป ข. เนืองจากดวงดาวแต่ละดวง ต่างเคลือนทีไปใน กาแล็กซีทางช้างเผือก กลุ่มดาวทีเรามองเห็น ย่อมมีรูปร่างแปรเปลียนไปตามกาลเว เป็นภาพกลุ่มดาวค้าวคาวเมือ 50,000 ปีในอดีต, รูป ข เป็นภาพกลุ่มดาวค้างคาวในปัจจุบัน เป็นภาพของกลุ่มดาวค้างคาวในอีก 50,000 ปีข้างหน้า 34 nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) องฟ้า แท้จริงมีขนาดไม่เท่ากัน และอยู่ห่างจากโลกของเรา ด้วยระยะทางทีแตกต่าง กันออกไป แต่เนืองจากดาวฤกษ์แต่ละดวงอยู่ห่างจากเรามาก เราจึงมองเห็นเป็นเพียงจุดแสง เพียงแต่ ซึงอยู่ใกล้ขัวฟ้าเหนือ (ในภาพที 8) ชาวยุโรป เมือมองดูด้วยตาเปล่า เราจะเห็น ควํา โดยทีดาวแต่ละดวงอยู่ห่างกันไม่มาก และมี ในความเป็นจริง ดาวฤกษ์ทังห้าดวงนี มีขนาดแตกต่างกันมาก และอยู่ห่างจากโลกด้วยระยะทางที มีขนาดเล็กแต่ว่าอยู่ใกล้ ส่วนดาวแกมม่า (γ) มีขนาดใหญ่แต่ว่าอยู่ องเห็นเหมือนว่า ดาวทังสองมี ระยะเชิงมุมใกล้ ๆ กัน ทว่าความจริงแล้ว ดาวฤกษ์ทังสองอยู่ลึกไปในอวกาศไม่เท่ากัน ดาวฤกษ์แต่ละดวงมิได้หยุดนิงอยู่ประจําที ทว่าเคลือนทีไปในอวกาศด้วยความเร็วและทิศทางที เนืองจากว่าดาวฤกษ์อยู่ห่างไกลมาก เราจึงมองเห็นพวกมันคล้ายว่าหยุดนิง และจินตนาการ เนืองจากดวงดาวแต่ละดวง ต่างเคลือนทีไปใน กาแล็กซีทางช้างเผือก กลุ่มดาวทีเรามองเห็น ย่อมมีรูปร่างแปรเปลียนไปตามกาลเวลา ดังแสดงในรูป ก รูป ข เป็นภาพกลุ่มดาวค้างคาวในปัจจุบัน, และรูป ค
  • 9. นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ จักราศี (Zodiac) โลกหมุนรอบตัวเอง ขณะเดียวกันก็โคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยใช้เวลารอบละ ปรากฏของดวงอาทิตย์ เทียบกับตําแหน่งของกลุ่มดาว บนท้องฟ้าเปลียนแปลงไป ดังภาพที ยกตัวอย่าง เช่น ในเดือนมิถุนายน เรามองเห็นดวงอาทิตย์อยู่หน้า เวลาหนึงเดือนต่อมา ดวงอาทิตย์เคลือนทีในทิศทวนเข็มนาฬิกาไป เคลือนทีไปอยู่หน้า “กลุ่มดาวปู เราเรียกกลุ่มดาว ซึงบอกตําแหน่งดวงอาทิตย์ ในแต่ละเดือนว่า สมัยก่อนใช้กลุ่มดาวจักราศีเป็นเสมือนปฏิทินในการกําหนดเวลาเป็นเดือนและปี โดยการเปรียบเทียบ ตําแหน่งของดวงอาทิตย์ กับตําแหน่งของกลุ่มดาวจักราศีบนท้องฟ้า โดยการถือเอาเส้นสุริยะวิถี เป็นเส้น รอบวง 360° หารด้วยจํานวนกลุ่มดาวประจําราศีทัง ถ้าหากแกนหมุนของโลกตังฉากกับระนาบวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ เส้นศูนย์สูตรฟ้ากับเส้นสุริยะ วิถีจะเป็นเส้นเดียวกัน และเราจะเห็นดวงอาทิตย์และกลุ่มดาวจักราศี อยู่บนเส้นศูนย์สูตรฟ้าตลอดเวลา ทว่าในความเป็นจริง แกนของโลกเอียง จะเรียงตัวอยู่บนเส้นสุริยะวิถี ห่างจากเส้นศูนย์สูตรฟ้าไปทางทิศเหนือหรือใต้ เป็นระยะเชิงมุมไม่เกิน 23.5° ดังภาพที 9 ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th โลกหมุนรอบตัวเอง ขณะเดียวกันก็โคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยใช้เวลารอบละ ปรากฏของดวงอาทิตย์ เทียบกับตําแหน่งของกลุ่มดาว บนท้องฟ้าเปลียนแปลงไป ดังภาพที ยกตัวอย่าง เช่น ในเดือนมิถุนายน เรามองเห็นดวงอาทิตย์อยู่หน้า “กลุ่มดาวคนคู่ เวลาหนึงเดือนต่อมา ดวงอาทิตย์เคลือนทีในทิศทวนเข็มนาฬิกาไป 30 องศา เราก็จะมองเห็นดวงอาทิตย์ กลุ่มดาวปู” (ราศีกรกฏ) ซึงอยู่ถัดไป 30° เช่นกัน เราเรียกกลุ่มดาว ซึงบอกตําแหน่งดวงอาทิตย์ ในแต่ละเดือนว่า “จักราศี สมัยก่อนใช้กลุ่มดาวจักราศีเป็นเสมือนปฏิทินในการกําหนดเวลาเป็นเดือนและปี โดยการเปรียบเทียบ ตําแหน่งของดวงอาทิตย์ กับตําแหน่งของกลุ่มดาวจักราศีบนท้องฟ้า โดยการถือเอาเส้นสุริยะวิถี เป็นเส้น หารด้วยจํานวนกลุ่มดาวประจําราศีทัง 12 กลุ่ม ซึงห่างกันกลุ่มละ ภาพที 9 กลุ่มดาวจักราศี ถ้าหากแกนหมุนของโลกตังฉากกับระนาบวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ เส้นศูนย์สูตรฟ้ากับเส้นสุริยะ วิถีจะเป็นเส้นเดียวกัน และเราจะเห็นดวงอาทิตย์และกลุ่มดาวจักราศี อยู่บนเส้นศูนย์สูตรฟ้าตลอดเวลา ทว่าในความเป็นจริง แกนของโลกเอียง 23.5° ขณะทีโคจรไปรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ ดังนันกลุ่มดาวจักราศี จะเรียงตัวอยู่บนเส้นสุริยะวิถี ห่างจากเส้นศูนย์สูตรฟ้าไปทางทิศเหนือหรือใต้ เป็นระยะเชิงมุมไม่เกิน 35 nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) โลกหมุนรอบตัวเอง ขณะเดียวกันก็โคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยใช้เวลารอบละ 1 ปี ทําให้ตําแหน่ง ปรากฏของดวงอาทิตย์ เทียบกับตําแหน่งของกลุ่มดาว บนท้องฟ้าเปลียนแปลงไป ดังภาพที 4 กลุ่มดาวคนคู่” (ราศีเมถุน) และใน องศา เราก็จะมองเห็นดวงอาทิตย์ จักราศี” (Zodiac) ผู้คนใน สมัยก่อนใช้กลุ่มดาวจักราศีเป็นเสมือนปฏิทินในการกําหนดเวลาเป็นเดือนและปี โดยการเปรียบเทียบ ตําแหน่งของดวงอาทิตย์ กับตําแหน่งของกลุ่มดาวจักราศีบนท้องฟ้า โดยการถือเอาเส้นสุริยะวิถี เป็นเส้น 30° ถ้าหากแกนหมุนของโลกตังฉากกับระนาบวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ เส้นศูนย์สูตรฟ้ากับเส้นสุริยะ วิถีจะเป็นเส้นเดียวกัน และเราจะเห็นดวงอาทิตย์และกลุ่มดาวจักราศี อยู่บนเส้นศูนย์สูตรฟ้าตลอดเวลา ขณะทีโคจรไปรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ ดังนันกลุ่มดาวจักราศี จะเรียงตัวอยู่บนเส้นสุริยะวิถี ห่างจากเส้นศูนย์สูตรฟ้าไปทางทิศเหนือหรือใต้ เป็นระยะเชิงมุมไม่เกิน
  • 10. นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ 2.4 กลุ่มดาว ลักษณะการเคลือนทีของกลุ่มดาวบนท้องฟ้ า แม้ว่าจะมีกลุ่มดาวบนท้องฟ้าอยู่ถึง เหมาะสมสําหรับการเริมต้น และกลุ่มดาวเหล่านีก็มิได้มีให้เห็นตลอดเวลา เนืองเพราะโลกหมุนรอบตัวเอง และหมุนรอบดวงอาทิตย์ กลุ่มดาว ดาวฤกษ์สว่างรอบดาวหมีใหญ่ ในการเริมต้นดูดาวนัน เราต้องจับจุดจากดาวฤกษ์ทีสว่างเสียก่อน แล้วจึงค่อยมองหารูปทรงของ ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th ภาพที 10 สุริยะวิถี และกลุ่มดาวจักราศี ลักษณะการเคลือนทีของกลุ่มดาวบนท้องฟ้ า แม้ว่าจะมีกลุ่มดาวบนท้องฟ้าอยู่ถึง 88 กลุ่ม แต่ในทางปฏิบัติมีกลุ่มดาวเพียงสิบกว่ากลุ่มที เหมาะสมสําหรับการเริมต้น และกลุ่มดาวเหล่านีก็มิได้มีให้เห็นตลอดเวลา เนืองเพราะโลกหมุนรอบตัวเอง และหมุนรอบดวงอาทิตย์ กลุ่มดาวสว่างแต่ละกลุ่มจะปรากฏให้เห็นเพียงแต่ละช่วงเวลาเท่านัน ดาวฤกษ์สว่างรอบดาวหมีใหญ่ ภาพที 11 ดาวฤกษ์สว่างรอบดาวหมีใหญ่ ในการเริมต้นดูดาวนัน เราต้องจับจุดจากดาวฤกษ์ทีสว่างเสียก่อน แล้วจึงค่อยมองหารูปทรงของ 36 nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) กลุ่ม แต่ในทางปฏิบัติมีกลุ่มดาวเพียงสิบกว่ากลุ่มที เหมาะสมสําหรับการเริมต้น และกลุ่มดาวเหล่านีก็มิได้มีให้เห็นตลอดเวลา เนืองเพราะโลกหมุนรอบตัวเอง สว่างแต่ละกลุ่มจะปรากฏให้เห็นเพียงแต่ละช่วงเวลาเท่านัน ในการเริมต้นดูดาวนัน เราต้องจับจุดจากดาวฤกษ์ทีสว่างเสียก่อน แล้วจึงค่อยมองหารูปทรงของ
  • 11. 37 นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) กลุ่มดาว สิงแรกทีต้องทําความเข้าใจคือ การเคลือนทีของท้องฟ้า เราจะต้องหาทิศเหนือให้พบ แล้ว สังเกตการเคลือนทีของกลุ่มดาว จากซีกฟ้าตะวันออกไปยังซีกฟ้าตะวันตก เนืองจากการหมุนตัวเองของ โลก “กลุ่มดาวหมีใหญ่” (Ursa Major) ประกอบด้วยดาวสว่างเจ็ดดวง เรียงตัวเป็นรูปกระบวยขนาด ใหญ่ ดาวสองดวงแรกชาวยุโรปเรียกว่า “เดอะ พอยเตอร์” (The Pointer) หมายถึง ลูกศรซึงชีเข้าหา “ดาว เหนือ” (Polaris) อยู่ตลอดเวลา โดยดาวเหนือจะอยู่ห่างจากดาวสองดวงแรกนัน นับเป็นระยะเชิงมุมสีเท่า ของระยะเชิงมุมระหว่างดาวสองดวงนัน ดาวเหนืออยู่ในส่วนปลายหางของ ”กลุ่มดาวหมีเล็ก” (Ursa Minor) ซึงประกอบด้วยดาวไม่สว่าง เรียงตัวเป็นรูปกระบวยเล็ก แม้ว่าดาวเหนือจะมีความสว่างไม่มากนัก แต่ในบริเวณขัวฟ้าเหนือ ก็ไม่มีดาวใดสว่างไปกว่าดาวเหนือ ดังนันดาวเหนือจึงมีความโดดเด่น พอสมควร เมือเราทราบตําแหน่งของดาวเหนือ เราก็จะทราบทิศทางการหมุนของทรงกลมท้องฟ้า หากเรา หันหน้าเข้าหาดาวเหนือ ทางขวามือจะเป็นทิศตะวันออก และทางซ้ายมือจะเป็นทิศตะวันตก กลุ่มดาว ทังหลายจะเคลือนทีจากทางขวามือไปตกทางซ้ายมือ ในขันตอนต่อไปเราจะตังหลักทีกลุ่มดาวหมีใหญ่ วาดเส้นโค้งตาม “หางหมี” หรือ “ด้ามกระบวย” ต่อออกไปยัง “ดาวดวงแก้ว” (Arcturus) หรือทีมีชือเรียกอีก ชือหนึงว่า “ดาวมหาจุฬามณี” เป็นดาวสีส้มสว่างมากใน “กลุ่มดาวคนเลียงสัตว์” (Bootes) และหาก ลากเส้นอาร์คโค้งต่อไปอีกเท่าตัว ก็จะเห็นดาวสว่างสีขาวชือว่า “ดาวรวงข้าว” (Spica) อยู่ในกลุ่มดาว หญิงสาว (Virgo) หรือราศีกันย์ กลุ่มดาวนีจะมีดาวสว่างประมาณ 7 ดวงเรียงตัวเป็นรูปตัว Y อยู่บนเส้น สุริยะวิถี กลับมาทีกลุ่มดาวหมีใหญ่อีกครัง ดาวดวงที 4 และ 3 ตรงส่วนของกระบวย จะชีไปยัง “ดาวหัวใจ สิงห์” (Regulus) ใน”กลุ่มดาวสิงโต” (Leo) หรือ ราศีสิงห์ พึงระลึกไว้ว่า กลุ่มดาวจักราศีจะอยู่บนเส้นสุริยะ วิถีเสมอ ถ้าเราพบกลุ่มดาวราศีหนึง เราก็สามารถไล่หากลุ่มดาวราศีของเดือนอืนซึงเรียงถัดไปได้ เช่น ในภาพที 1 เราเห็นกลุ่มดาวราศีสิงห์ และกลุ่มดาวราศีกันย์ เราก็สามารถประมาณได้ว่ากลุ่มดาวราศีกรกฏ และราศีตุลย์จะอยู่ทางไหนสามเหลียมฤดูหนาว ภาพที 12 สามเหลียมฤดูหนาว
  • 12. 38 นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) ในช่วงของหัวคําของฤดูหนาว จะมีกลุ่มดาวสว่างอยู่ทางทิศตะวันออก คือ กลุ่มดาวนายพราน กลุ่มดาวสุนัขใหญ่ และกลุ่มดาวสุนัขเล็ก หากลากเส้นเชือม ดาวบีเทลจุส (Betelgeuse) - ดาวสว่างสี แดงตรงหัวไหล่ของนายพรานไปยัง ดาวซิริอุส (Sirius) – ดาวฤกษ์สว่างทีสุดสีขาว ตรงหัวสุนัขใหญ่ และ ดาวโปรซีออน (Procyon) - ดาว สว่างสีขาวตรงหัวสุนัขเล็ก จะได้รูปสามเหลียมด้านเท่า เรียกว่า “สามเหลียมฤดูหนาว” (Summer Triangle) ซึงจะขึนในเวลาหัวคําของฤดูหนาว กลุ่มดาวนายพรานเป็นกลุ่มดาวทีเหมาะสมกับการเริมต้นหัดดูดาวมากทีสุด เนืองจาก ประกอบด้วยดาวสว่างทีมีรูปแบบการเรียงตัว (pattern) ทีโดดเด่นจําง่าย และขึนตอนหัวคําของฤดูหนาว ซึงมักมีสภาพอากาศดีท้องฟ้าใสไม่มีเมฆปกคลุม สัญลักษณ์ของกลุ่มดาวนายพรานก็คือ ดาวสว่างสาม ดวงเรียงกันเป็นเส้นตรง ซึงเรียกว่า “เข็มขัดนายพราน” (Orion’s belt) ทางทิศใต้ของเข็มขัดนายพราน มี ดาวเล็ก ๆ สามดวงเรียงกัน คนไทยเราเห็นเป็นรูป “ด้ามไถ” แต่ชาวยุโรปเรียกว่า “ดาบนายพราน” (Orion’s sword) ทีตรงกลางของบริเวณดาบนายพรานนี ถ้านํากล้องส่องดูจะพบ “เนบิวลา M42” เป็นกลุ่ม ก๊าซในอวกาศ กําลังรวมตัวเป็นดาวเกิดใหม่ ซึงอยู่ตรงใจกลางและส่องแสงมากระทบเนบิวลา ทําให้เรา มองเห็น ดาวสว่างสองดวงทีบริเวณหัวไหล่ด้านทิศตะวันออก และหัวเข่าด้านทิศตะวันตกของกลุ่มดาว นายพราน มีสีแตกต่างกันมาก ดาวบีเทลจุส มีสีออกแดง แต่ดาวไรเจล (Rigel) มีสีออกนําเงิน สีของ ดาวบอกถึงอายุและอุณหภูมิของดาว ดาวสีนําเงินเป็นดาวทีมีอายุน้อย และมีอุณหภูมิสูง 1 – 2 หมืนองศาเซลเซียส ดาวสีแดงเป็นดาวทีมีอายุมาก และมีอุณหภูมิตําประมาณ 3,000 °°°°C ส่วน ดวงอาทิตย์ของเรามีสีเหลือง เป็นดาวฤกษ์ซึงมีอายุปานกลาง และมีอุณหภูมิทีพืนผิวประมาณ 6,000 °°°°C ในกลุ่มดาวสุนัขใหญ่ (Canis Major) มีดาวฤกษ์ทีสว่างทีสุดบนท้องฟ้ามีชือว่า ดาวซิริอุส (Sirius) คนไทยเราเรียกว่า “ดาวโจร” (เนืองจากสว่างจนทําให้โจรมองเห็นทางเข้ามาปล้น) ดาวซิริ อุสมิได้มีขนาดใหญ่ แต่ว่าอยู่ห่างจากโลกเพียง 8.6 ล้านปีแสง ถ้าเทียบกับดาวไรเจลในกลุ่มดาว นายพรานแล้ว ดาวไรเจลมีขนาดใหญ่และมีความสว่างกว่าดาวซิริอุสนับพันเท่า หากแต่ว่าอยู่ห่างไกลถึง 777 ล้านปีแสง เมือมองดูจากโลก ดาวไรเจลจึงมีความสว่างน้อยกว่าดาวซิริอุส
  • 13. นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ สามเหลียมฤดูร้อน ในช่วงหัวคําของต้นฤดูหนาว จะมีกลุ่มดาวสว่างทางด้านทิศตะวันตก คือ กลุ่มดาวพิณ กลุ่มดาว หงส์ และกลุ่มดาวนกอินทรีย์ หากลากเส้นเชือม ดาวหางหงส์ (Deneb) – ดาวสว่างสีขาวในกลุ่มดาวหงส์ และ ในกลุ่มดาวนกอินทรีย์ จะได้รูปสามเหลียมด้านไม่เท่าเรียกว่า Triangle) ซึงอยู่ในทิศตรงข้ามกับสามเหลียมฤดูหนาว ขณะทีสามเหลียมฤดูร้อนกําลังจะตก สามเหลียมฤดูหนาวก็กําลังจะขึน ซึงเป็นช่วงฤดูฝนของประเทศไทย แถบฝ้าสว่างคล้ายเมฆขาว พาดข้ามท้องฟ้า ผ่านบริเวณกลุ่มดาวนกอินทรีย์ กลุ่มดาวหงส์ ไปยังกลุ่มดาว แคสสิโอเปีย (ค้างคาว) แถบฝ้าสว่างทีเห็นนันแท้ทีจริงคือ 2.5 แผนทีดาว การอ่านแผนทีดาวเป็น อย่างถูกต้อง ก่อนอ่านแผนทีดาวเพือเปรียบเทียบกับดาวทีปรากฏบนท้องฟ้า – ใต้ ตะวันออก – ตะวันตก ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th ภาพที 13 สามเหลียมฤดูร้อน ในช่วงหัวคําของต้นฤดูหนาว จะมีกลุ่มดาวสว่างทางด้านทิศตะวันตก คือ กลุ่มดาวพิณ กลุ่มดาว หงส์ และกลุ่มดาวนกอินทรีย์ หากลากเส้นเชือม ดาวเวก้า (Vega) - ดาวสว่างสีขาวในกลุ่มดาวพิณไปยัง ดาวสว่างสีขาวในกลุ่มดาวหงส์ และ ดาวนกอินทรีย์ ในกลุ่มดาวนกอินทรีย์ จะได้รูปสามเหลียมด้านไม่เท่าเรียกว่า “สามเหลียมฤดูร้อน ซึงอยู่ในทิศตรงข้ามกับสามเหลียมฤดูหนาว ขณะทีสามเหลียมฤดูร้อนกําลังจะตก สามเหลียมฤดูหนาวก็กําลังจะขึน (สามเหลียมฤดูหนาวขึนตอนหัวคําของฤดูร้อนของยุโรปและอเมริกา ซึงเป็นช่วงฤดูฝนของประเทศไทย) ในคืนทีเป็นข้างแรมไร้แสงจันทร์รบกวน หากสังเกตให้ดีจะเ แถบฝ้าสว่างคล้ายเมฆขาว พาดข้ามท้องฟ้า ผ่านบริเวณกลุ่มดาวนกอินทรีย์ กลุ่มดาวหงส์ ไปยังกลุ่มดาว แถบฝ้าสว่างทีเห็นนันแท้ทีจริงคือ “ทางช้างเผือก” (The Milky Way) การอ่านแผนทีดาวเป็น จะทําให้เราดูดาวหรือกลุ่มดาวทีปรากฏบนท้องฟ้า ก่อนอ่านแผนทีดาวเพือเปรียบเทียบกับดาวทีปรากฏบนท้องฟ้า ตะวันตก ของทีนัน ๆ ก่อน 39 nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) ในช่วงหัวคําของต้นฤดูหนาว จะมีกลุ่มดาวสว่างทางด้านทิศตะวันตก คือ กลุ่มดาวพิณ กลุ่มดาว ดาวสว่างสีขาวในกลุ่มดาวพิณไปยัง ดาวนกอินทรีย์ (Altair) - ดาวสว่างสีขาว สามเหลียมฤดูร้อน” (Summer ซึงอยู่ในทิศตรงข้ามกับสามเหลียมฤดูหนาว ขณะทีสามเหลียมฤดูร้อนกําลังจะตก สามเหลียมฤดูหนาวขึนตอนหัวคําของฤดูร้อนของยุโรปและอเมริกา ในคืนทีเป็นข้างแรมไร้แสงจันทร์รบกวน หากสังเกตให้ดีจะเห็นว่า มี แถบฝ้าสว่างคล้ายเมฆขาว พาดข้ามท้องฟ้า ผ่านบริเวณกลุ่มดาวนกอินทรีย์ กลุ่มดาวหงส์ ไปยังกลุ่มดาว The Milky Way) จะทําให้เราดูดาวหรือกลุ่มดาวทีปรากฏบนท้องฟ้า ณ วัน – เวลาใดได้ ก่อนอ่านแผนทีดาวเพือเปรียบเทียบกับดาวทีปรากฏบนท้องฟ้า ผู้สังเกตต้องรู้ทิศเหนือ
  • 14. นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวิชาการ แผนทีดาวทีนิยมใช้กันในปัจจุบัน ติดกันตรงกลาง โดยแผ่นหนึงจะเป็นภาพของกลุ่มดาวและดาวสว่าง วงกลมจะระบุ “วัน – เดือน” แผนทีดาวก็เพียงแต่หมุนวัน กลุ่มดาวทีปรากฏบนแผนทีดาวจะเป็นกลุ่มดาวจริงทีปรากฏจริงบนท้องฟ้า ที 14 การใช้แผนทีดาว ณ ขึนเหนือศีรษะ โดยให้ทิศในแผนทีดาว กับ เวลา ณ ขณะนัน ส่วนการใช้แผนทีดาวแบบหกแผ่นให้นักเรียนหัดใช้กับอาจารย์กันต์ธนากร น้อยเสนาในห้องเรียน ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (nu@mwit.ac.th แผนทีดาวทีนิยมใช้กันในปัจจุบัน จะเป็นแผนทีดาวแบบหมุน โดยเป็นกระดาษแข็ง โดยแผ่นหนึงจะเป็นภาพของกลุ่มดาวและดาวสว่าง เขียนอยู่ในวงกลม ” ไว้โดยรอบ ส่ายแผ่นติดอยู่ด้านบน จะระบุ “เวลา – เดือนของแผ่นล่างให้ตรงกับเวลา ทีต้องการสังเกตการณ์ของแผ่นบน กลุ่มดาวทีปรากฏบนแผนทีดาวจะเป็นกลุ่มดาวจริงทีปรากฏจริงบนท้องฟ้า ณ ภาพที 14 แผนทีดาว สถานทีสังเกตการณ์จริง ให้เราหันหน้าไปทางทิศเหนือ โดยให้ทิศในแผนทีดาว ตรงกับทิศจริง โดยทีแผนทีดาวดังกล่าวหมุนวัน ส่วนการใช้แผนทีดาวแบบหกแผ่นให้นักเรียนหัดใช้กับอาจารย์กันต์ธนากร น้อยเสนาในห้องเรียน 40 nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) โดยเป็นกระดาษแข็ง 2 แผ่นตรึง เขียนอยู่ในวงกลม โดยทีขอบของ เวลา” ไว้โดยรอบ การใช้ ทีต้องการสังเกตการณ์ของแผ่นบน ขณะนัน ดังแสดงในภาพ ให้เราหันหน้าไปทางทิศเหนือ แล้วยกแผนทีดาว โดยทีแผนทีดาวดังกล่าวหมุนวัน – เดือน ให้ตรง ส่วนการใช้แผนทีดาวแบบหกแผ่นให้นักเรียนหัดใช้กับอาจารย์กันต์ธนากร น้อยเสนาในห้องเรียน