SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษษ
สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ
สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ หมายถึง สิ่งพิมพ์ที่มีความพิเศษที่
แตกต่างจากสิ่งพิมพ์ทั่วไปทางด้านลักษณะรูปทรง วัสดุที่ใช้ใน
การบันทึกและการนาเสนอเนื้อหาสารสนเทศในลักษณะพิเศษ
เฉพาะเจาะจง
1.เอกสารสิทธิบัตร
สิทธิบัตร (patent) หมายถึง หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อ
คุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มีลักษณะ
ตามที่กาหนดในกฎหมาย กฎกระทรวง
ประเภทของสิทธิบัตร
1.สิทธิบัตรการประดิษฐ์ หมายถึง การคิดค้นเกี่ยวกับ กลไก
โครงสร้าง ส่วนประกอบ ของสิ่งของเครื่องใช้
2.สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์หมายถึง การออกแบบ
รูปร่าง ลวดลาย หรือสีสัน ที่มองเห็นได้จากภายนอก
3.อนุสิทธิบัตร เป็นการให้ความคุ้มครองสิ่งประดิษฐ์คิดค้น
เช่นเดียวกับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ แต่แตกต่างกันตรงที่การประดิษฐ์ที่จะขอรับ
อนุสิทธิบัตร
ประโยชน์ของสิทธิบัตร
เอกสารสิทธิบัตรนานาชาติเป็นแหล่งรวมผลงานประดิษฐ์คิดค้นทั่วโลก
ที่สาคัญที่สุด ได้เปิดวิธีการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมทุกชนิดทุกสาขาทั่วโลก
สิทธิบัตรคุ้มครองเป็นรายประเทศ จดทะเบียนในประเทศใด ก็คุ้มครองเฉพาะ
ในประเทศนั้น หมายความว่าเราสามารถนาเทคโนโลยีที่ไม่ได้จดทะเบียนใน
ประเทศไทยมาผลิตสินค้าจาหน่ายในประเทศได้ สามารถผลิตหรือส่งออกไป
จาหน่ายในประเทศที่ไม่ได้จดทะเบียนสิทธิบัตรในเรื่องนั้นๆ หรือนามาใช้เป็น
ฐานความรู้ในการวิจัยพัฒนาและต่อยอดได้
2.เอกสารมาตรฐาน
เอกสารมาตรฐาน (Standards) เป็นเอกสารที่ระบุข้อกาหนดหรือ
เกณฑ์ที่ใช้เป็นเครื่องบ่งชี้ถึงคุณภาพ ความเหมาะสม ความปลอดภัย หรือ
คุณค่าของสิ่งของ เครื่องมือ และวิธีการปฏิบัติ ที่เป็นมาตรฐาน เอกสารประเภท
นี้สามารถนาไปใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการกาหนดระเบียบ คู่มือ หรือใช้เป็น
ข้อบังคับในทางกฎหมายได้
ประเภทของเอกสาร
1.มาตรฐานผลิตภัณฑ์(Product standards) ระบุข้อกาหนด
คุณภาพสินค้าที่ต้องบรรลุถึง องค์กรต้องระบุระดับคุณภาพที่เป็นไปได้กับระดับปัจจุบันใน
การทางาน มาตรฐานประเภทนี้มักจัดทาโดยระดับผู้บริหาร
2.มาตรฐานวัตถุดิบ (Raw material standards) ระบุวัตถุดิบที่ใช้
ในการผลิตสินค้าเพื่อให้ตรงตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ :
2.1 กาหนดลักษณะคุณภาพของวัตถุดิบให้ชัดเจน (ส่วนผสมโครงสร้างรูปร่าง
,ขนาด,น้าหนัก,การนา,จุดเดือด ฯลฯ )
2.2 กาหนดสเปกการจัดซื้อวัตถุดิบ
2.3 ระบุขั้นตอนตรวจสอบวัตถุดิบขาเข้า
3.มาตรฐานการตรวจสอบ(Inspection standards) ระบุ
ประเภท วิธีการในการตรวจสอบมาตรฐานในการประเมินเป็นต้น ไม่ว่าจะสาหรับวัตถุดิบ
ขั้นตอนการทางานใน (WIP) และผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป
4.มาตรฐานงาน (Job standards)
อธิบายขั้นตอนการทางานในการผลิต (รวมถึงการทางานของอุปกรณ์) การตรวจสอบ การ
จัดส่งและการขนส่ง สภาพการทางานที่มีความปลอดภัยเป็นต้น
5.มาตรฐานในการซ่อมบารุง (Standards for maintaining
equipment)
อธิบายวิธีการในการตรวจสอบดูแลบารุงรักษาและซ่อม
6.มาตรฐานการรักษาอุปกรณ์การวัด (Standards for
maintaining measuring devices) อธิบาย การชี้บ่ง การสอบเทียบ การ
รักษาความถูกต้องและวิธีการควบคุมอุปกรณ์ เครื่องมือวัดนี้
7.มาตรฐานบรรจุภัณฑ์ (Packaging standards)
อธิบายวิธีการในการบรรจุผลิตภัณฑ์สุดท้ายและWIPและกาหนดสเปกและประเภทบรรจุ
ภัณฑ์ เป็นต้น
8.มาตรฐานการทางาน (Work standards)
กาหนดกฎเกณฑ์การดาเนินงานทั่วไป ที่ไม่เฉพาะเจาะจง ขั้นตอน วิธีการ และ การรายงาน
9.มาตรฐานการเสริม (Supplementary standards)
เป็นมาตรฐานเพิ่มเติมเพื่อการทางาน ซึ่งรวมถึง ขั้นตอนการดาเนินงานสาหรับอุปกรณ์
ขั้นตอนการดาเนินการสาหรับเครื่องมือวัด คาแนะนาการทางาน คาแนะนาความ
ปลอดภัย และเอกสารบรรยายที่ใช้ในการฝึกอบรมขั้นพื้นฐาน
ประโยชน์ของการใช้เอกสารมาตรฐาน
การใช้มาตรฐานสามารถนาเสนอชุดของธุรกิจและการตลาดเครื่องมือที่มี
ประสิทธิภาพสาหรับองค์กรทุกขนาด คุณสามารถใช้เพื่อปรับแต่งการทางานของคุณพร้อม
การบริหารความเสี่ยงในขณะที่การดาเนินงานในรูปแบบที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นและมี
ความยั่งยืน
3.แผนภูมิ
แผนภูมิคอลัมน์
แผนภูมิคอลัมน์มีประโยชน์สาหรับ การ
เปรียบเทียบข้อมูลที่ไม่ต่อเนื่องหรือแสดง
แนวโน้มในช่วงเวลา
แผนภูมิคอลัมน์ ใช้ตัวทาเครื่องหมาย
ข้อมูลแนวตั้งเพื่อเปรียบเทียบแต่ละค่า
แผนภูมิเส้น มีประโยชน์สาหรับการแสดง แนวโน้มในช่วงเวลาและการ
เปรียบเทียบชุดของข้อมูลหลายชุดแผนภูมิเส้น จะพล็อตข้อมูลเป็นจุดตามปกติที่
เชื่อมต่อด้วยเส้น
แผนภูมิวงกลม
แผนภูมิวงกลม มีประโยชน์สาหรับการเน้น สัดส่วน
โดยจะใช้ส่วนของวงกลมเพื่อแสดงความสัมพันธ์ ของส่วนต่อทั้งหมด
แผนภูมิแท่ง
แผนภูมิแท่งมีประโยชน์สาหรับการพล็อต ชุดของข้อมูลหลายชุด
แผนภูมิแท่งใช้ตัวทาเครื่องหมายข้อมูลแนวนอนเพื่อ เปรียบเทียบแต่ละค่า
แผนภูมิพื้นที่
แผนภูมิพื้นที่มีประโยชน์สาหรับการเน้น จานวนของการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลา แผนภูมิ
พื้นที่แบบสแต็กยังใช้ เพื่อแสดงความสัมพันธ์ของส่วนต่อทั้งหมด
แผนภูมิพื้นที่จะเหมือนกับ แผนภูมิเส้น แต่พื้นที่ใต้เส้นจะถูกเติมด้วย สีหรือแพ็ตเทิร์น
แผนภูมิจุด
แผนภูมิจุดมีประโยชน์สาหรับการแสดงข้อมูลเชิงจานวนใน รูปแบบที่ไม่ซับซ้อน
แผนภูมิจุด ใช้จุดจานวนมากเพื่อพล็อตข้อมูลตลอดทั้งแกนเลขลาดับ หรือไม่ใช่ตัวเลข
แผนภูมิจุดเหมือนกับแผนภูมิเส้นที่ไม่มีเส้น โดยจะแสดง เฉพาะจุดข้อมูล
แผนภูมิกระจาย มีประโยชน์ สำหรับกำรแสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรวัดสองรำยกำร
แผนภูมิกระจำย ใช้วงกลมสีเศพื่อแสดงถึงกำรวัดสองรำยกำรสำหรับแต่ละมิติ แกน X
แสดงหน่วยวัดแรก และแกน Y แสดงหน่วยวัดที่สอง
4.แผนภาพ (DIAGRAM)
แผนภาพเป็นทัศนะวัสดุที่ใช้ถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น หรือ
เรื่องราว ต่างๆ โดยแสดงความสัมพันธ์ ของโครงสร้าง หรือการทางานที่ซับซ้อนให้
เข้าใจง่ายขึ้น โดยอาศัยภาพลายเส้น ตัวอักษร สัญลักษณ์ เพื่อแสดง ลักษณะเฉพาะ
หรือโครงสร้างที่สาคัญเท่านั้น
1. แผนภาพลายเส้น
เป็นแผนภาพที่ใช้ลายเส้น รูปทรง และข้อความประกอบกัน เหมาะสาหรับ
แสดงโครงสร้างทั้งภายในและภายนอกพร้อมกับมีเส้นโยงแสดงความสัมพันธ์เกี่ยวข้อง
กันทั้งลักษณะและตาแหน่ง และความสัมพันธ์ ของภาพที่แสดง
2.แผ่นภาพแบบบล็อก
เป็นแผนภาพที่ใช้รูปทรงง่ายๆ แสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบอย่างหยาบๆ แสดง
ความสัมพันธ์ของระบบการทางานที่เกี่ยวเนื่องกัน โดยไม่เน้นรายละเอียดของการทางาน
3.แผนภาพแบบรูปภาพ
เป็นแผนภาพ ที่ใช้ลายเส้นเขียน เป็นภาพง่ายๆ แทนสิ่งหนึ่งสิ่งใด เพียงต้องการให้ดูเหมือน
หรือใกล้เคียงเท่านั้น ผู้ดูจะเกิด ความเข้าใจ ได้เองแผนภาพแบบนี้จึงเหมาะ แก่การแสดง หลักการ
ทางาน ถ้าภาพ ที่วาดเหมือนจริง มากจะกลายเป็น แผนภูมิอธิบายภาพ
4.แผนภาพแบบผสม
เป็นแผนภาพ ที่ใช้เทคนิค การเขียนลายเส้น บนรูปภาพเพื่อเน้น ให้เห็นความสาคัญ
เฉพาะ บางส่วน โดยเป็นการรวม
ทั้งรูปภาพ และลายเส้น เข้าด้วยกัน
ประโยชน์ของแผนภาพ
แผนภาพเป็นเครื่องมือที่มีคุณค่าต่อการเรียนการสอน เพราะแผนภาพทา
ให้นักเรียนเข้าใจอย่างถ่องแท้ในหัวเรื่องที่เรียน โดยการที่นักเรียนใช้แผนภาพใน
การแสดงลาดับความสาคัญของสารสนเทศ จัดประเภทความคิด และมุ่งความ
สนใจไปยังความสัมพันธ์ระหว่างสารสนเทศกับความคิด
5.แผนที่
แผนที่ คือ รูปภาพอย่างง่ายซึ่งจาลองบริเวณบริเวณหนึ่ง และมีการ
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น วัตถุ หรือบริเวณย่อย ๆ ที่อยู่
ในบริเวณนั้น แผนที่มักเป็นรูปสองมิติซึ่งแสดงระยะห่างระหว่างจุดสองจุดใน
บริเวณใดบริเวณหนึ่งได้อย่างถูกต้องตามหลักเรขาคณิต
ประเภท
แผนที่กายภาพ เป็นแผนที่แสดงลักษณะทางภูมิศาสตร์เป็น
หลัก
แผนที่รัฐกิจ เป็นแผนที่เน้นการแสดงเขตการปกครองเป็นหลัก
แผนที่เศรษฐกิจ แสดงเขตอุตสาหกรรม การเกษตร การประมง และ
ทรัพยากรธรรมชาติ
แผนที่ธรณีวิทยา (GEOLOGIC MAP) แผนที่แสดงชั้นหิน
ต่างๆและลักษณะทางธรณีวิทยาอื่นๆ
แผนที่เฉพาะเรื่อง (THEMATIC MAP) แสดงที่ตั้งของสิ่งหนึ่งสิ่งใดหรือ
กลุ่มใดเศป็นกำรเศฉพำะ เศช่น แผนที่แสดงสถำนที่ท่องเศที่ยว แผนที่แสดงที่ตั้งบริษัท-
ห้ำง-ร้ำน
แผนที่เล่ม (ATLAS) เศป็นกำรรวบรวมแผนที่ชนิดต่ำงๆมำไว้ในเศล่ม
เศดียวกัน
ความสาคัญและประโยชน์ของแผนที่
1.ด้านการทหาร แผนที่มีความจาเป็นอย่างมากในการวางแผนยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี
2.ด้านการเมืองการปกครอง แผนที่ใช้ในการวางแผนดาเนินการ เตรียมรับหรือ
แก้ไขสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นอย่างถูกต้อง
3.ด้านเศรษฐกิจและสังคม ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ก็ต้อง
อาศัยแผนที่เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อให้ทราบทาเลที่ตั้ง สภาพทางกายภาพแหล่งทรัพยากร
4.ด้านสังคม สภาพแวดล้อมทางสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ การศึกษาสภาพการ
เปลี่ยนแปลงต้องอาศัยแผนที่เป็นสาคัญ และอาจช่วยให้การดาเนินการวางแผนพัฒนาสังคม
เป็นไปในแนวทางที่ถูกต้อง
จัดทำโดย
นำงสำวอำซีซะห์ สือแม รหัสนักษึกษำ 406010005
นำงสำวนูรมี พฤตทุ รหัสนักษึกษำ 406010019
นำงสำวกฤติยำ พรหมแก้ว รหัสนักษึกษำ 406010034

More Related Content

What's hot

การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sitesการสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
Nattapon
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
TheeraWat JanWan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-การเก็บรวบรวมข้อมูล-แก้ไขส่ง-9-59 (1)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-การเก็บรวบรวมข้อมูล-แก้ไขส่ง-9-59 (1)แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-การเก็บรวบรวมข้อมูล-แก้ไขส่ง-9-59 (1)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-การเก็บรวบรวมข้อมูล-แก้ไขส่ง-9-59 (1)
chaimate
 
วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์
prawanya
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
Szo'k JaJar
 
โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
cartoon656
 
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
BooBoo ChillChill
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
Nattapon
 

What's hot (20)

การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sitesการสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
 
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบทการออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดียรู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
 
เอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้น
เอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้นเอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้น
เอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-การเก็บรวบรวมข้อมูล-แก้ไขส่ง-9-59 (1)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-การเก็บรวบรวมข้อมูล-แก้ไขส่ง-9-59 (1)แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-การเก็บรวบรวมข้อมูล-แก้ไขส่ง-9-59 (1)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-การเก็บรวบรวมข้อมูล-แก้ไขส่ง-9-59 (1)
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
กิจกรรม Is3
กิจกรรม Is3กิจกรรม Is3
กิจกรรม Is3
 
โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 

More from อาฟีฟะห์ หะยีนอ

More from อาฟีฟะห์ หะยีนอ (6)

G.14วัสดุย่อส่วน
G.14วัสดุย่อส่วนG.14วัสดุย่อส่วน
G.14วัสดุย่อส่วน
 
G.14สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ
G.14สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษG.14สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ
G.14สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ
 
G14 สารสนเทศโสดทัศนะวัสดุ
G14 สารสนเทศโสดทัศนะวัสดุG14 สารสนเทศโสดทัศนะวัสดุ
G14 สารสนเทศโสดทัศนะวัสดุ
 
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสารG14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
 
G14 เรื่องหนังสือพิมพ์
G14 เรื่องหนังสือพิมพ์G14 เรื่องหนังสือพิมพ์
G14 เรื่องหนังสือพิมพ์
 
G14 หนังสือพิมพ์
G14 หนังสือพิมพ์G14 หนังสือพิมพ์
G14 หนังสือพิมพ์
 

G14 สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ