SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
STROKE
ที่มาและ
ความสาคัญวัตถุประสงค์
หลักการและทฤษฎี
วิธีดาเนินงาน
ขั้นตอนและแผนการ
ดาเนินงานแหล่งอ้างอิง
1
2
4
5
3
6
วิดีีโอที่เกี่ยวข้อง
จัดทาโดย
ที่มาและความสาคัญ
โรคหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular Disease) ซึ่งรวมถึงโรคหัวใจขาดเลือด (Ischemic
HeartDisease) และโรคหลอดเลือดสมอง (stroke) ส่งผลให้เกิดการเสียชีวิตประมาณ 145,000รายต่อปี หรือ
ประมาณ ร้อยละ29 ของการเสียชีวิตทั้งหมดในประเทศไทย นอกจากนี้ยังเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งและสามของการเสียชีวิตก่อนวัยอัน
ควรในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตาบลนาโต๊ะหมิง อาเภอเมือง จังหวัดตรัง จานวน 26 คน โดยกลุ่มตัวอย่างได้รับโปรแกรมการสร้างความตระหนักรู้
จานวน 4 สัปดาห์ และติดตามหลังโปรแกรมฯ 1 เดือน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือด
สมอง มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .81 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่า t-test
1 เพื่อศึกษาบริบท ปัจจัยเสี่ยงปัจจัยป้องกัน
ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพขอ
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
2
3 เพื่อประเมินผลการปฏิบัติตามกิจกรรมการป้องกัน
การเกิดโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคความ
ดันโลหิตสูง
เพื่อออกแบบการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือด
สมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
วัตถุประสงค์
ปัจจัยเสี่ยงของ
การเกิดโรคหลอด
เลือดสมอง
อาการของ
โรค
หลอดเลือด
สมอง
หลักการ
ทฤษฎี
และ
ป้ องกันการกลับ
เป็ นโรคหลอดเลือด
สมองซ้า
หลักการและทฤษฎี
โรคหลอดเลือดสมอง เป็นโรคที่มีอันตรายอย่างยิ่งถึงชีวิต คือโรคที่อยู่ในภาวะสมองขาดเลือดไปเลี้ยงเนื่องจาก
หลอดเลือดตีบตันหรือหลอดเลือดแตก เป็นเหตุให้เนื้อเยื่อในสมองนั้นถูกทาลายลงส่งผลให้การทางานของ
สมองหยุดชะงักและเสียชีวิตได้ความผิดปกติที่เกิดขึ้น
ความผิดปกติของหลอดเลือดสมองเป็นความผิดปกติที่เกิดขึ้นจากอาการสมองขาดเลือด แบ่งได้ 2
ประเภท 1.หลอดเลือดสมองตีบหรือเกิดอุดตัน และ2.หลอดเลือดสมองปริแตกหรือเกิดการฉีกขาด
2ประเภท
1.หลอดเลือดสมองตีบหรือเกิดอุดตัน
(ischemic stroke)
เกิดได้จากลิ่มเลือดที่ก่อตัวขึ้นจากบริเวณอื่นของร่างกายได้ไหล
ตามกระแสเลือดจนเข้าไปอุดตันที่เส้นเลือดของสมองหรือ
อาจจะเกิดลิ่มเลือดก่อตัวขึ้นในเส้นเลือดสมองและ
ได้ขยายขนาดจนใหญ่ขึ้นและอุดตันเส้นเลือด
ของสมองส่วนสาเหตุที่ทาให้เส้นเลือดของสมอง
เกิดการตีบตันนั้นอาจจะเกิดจากการสะสมของไขมัน
ในเส้นเลือดทาให้เส้นเลือดแคบลงความยืดหยุ่นและ
ความสามารถในการลาเลียงเลือดลดน้อยลง
2.หลอดเลือดสมองปริแตกหรือเกิดการฉีก
ขาด
(hemorrhagic stroke)มีสาเหตุมาจากเส้นเลือด
เกิด
ความเปราะบางร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงทาให้
บริเวณนั้นเกิดการโป่งพองและแตกออก หรือ
อาจจะเกิดจากเส้นเลือดนั้นสูญเสียความ
ยืดหยุ่นจากการสะสมของไขมันในเส้นเลือดจึง
ทาให้เส้นเลือดปริแตกได้ง่าย ส่งผลให้ปริมาณที่เลือด
จะไปเลี้ยงสมองเกิดการลดลงอย่างเฉียบพลัน และเมื่อ
เส้นเลือดปริแตกก็อาจจะก่อให้เกิดเลือดออกในสมองได้ส่งผล
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
ปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคหลอดเลือดสมองนั้นมีหลายสาเหตุด้วยกัน แบ่งออกเป็นแบบหลักๆ
ได้แก่ ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถป้องกันได้ และ ปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันได้
อา
ยุ
เมื่ออายุมากขึ้น เป็นปกติที่หลอดเลือดก็จะเสื่อม
ตามอายุไปด้วยเช่นกัน โดยผิวชั้นในของหลอด
เลือดจะหนาและแข็งขึ้นเพราะสาเหตุจากคราบ
หินปูนและไขมันมาเกาะ ทาให้ช่องทางที่เลือดไหล
ผ่านแคบลงเรื่อยๆ
01
05
ภาวะการแข็งตัวของเลือดเร็วกว่า
ปกติจะส่งผลให้เกิดการจับตัวกันของเลือดและเกิดลิ่มเลือดได้ง่าย
กว่าคนปกติทั่วไป
03
เพ
ศ
ได้มีการค้นพบว่าเพศชายนั้นมีความเสี่ยงต่อ
โรคหลอดเลือดสมองมากกว่าเพศหญิง
02
1. ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถป้องกันได้
ความดันโลหิตสูง
นี่คือปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญที่สุดของการเกิดโรคหลอด
เลือดสมอง โดยผู้ที่มีความดันโลหิตสูงจะมีโอกาส
เป็นโรคหลอดเลือดสมองได้มากกว่าคนปกติ
หลายเท่าตัว
01
05
เบาหวาน
เป็นต้นเหตุให้เส้นเลือดแข็งทั่วร่างกาย และถ้าหากเกิดเส้นเลือด
แข็งในสมองก็จะมีโอกาสเกิดโรคหลอดเลือดสมองสูงกว่าคน
ปกติ 2 - 3 เท่า
03
ไขมัน
ใน
เลือดสูง
เป็นทั้งความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองและโรค
หลอดเลือดหัวใจ ไขมันในเลือดสูงคือภาวะที่ไขมัน
เกาะสะสมอยู่ตามผนังของเส้นเลือด ทาให้เป็น
อุปสรรคกีดขวางการลาเลี้ยงเลือดไปยังส่วนต่างๆ
ของร่างกาย
02
2. ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถป้องกันได้
0404การไม่ออกกาลัง
กายสาเหตุหลักๆของหลายโรค
ยา
คุมกาเนิ
ด
ผู้หญิงที่ใช้ยาคุมกาเนิดจะได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจน
สูงเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทาให้เกิดความเสี่ยงต่อการ
เกิดโรคหลอดเลือดสมองสูง
02
05
โรคซิฟิ ลิส
เป็นหนึ่งในสาเหตุของหลอดเลือดอักเสบทาให้เส้นเลือดแข็งตัว
03
การสูบบุหรี่
ในบุหรี่มีสารนิโคตินและคาร์บอน ทาให้ประมาณออกซิเจนที่
ร่างกายได้รับลดลงและยังเป็นตัวทีทาลายผนังของหลอด
เลือด ส่งผลให้หลอดเลือดเกิดการแข็งตัว มีการค้นพบว่าสูบ
บุหรี่เพียงอย่างเดียวก็ทาให้มีความ
เสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองมากถึง 3.5%
01
1. ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถป้องกันได้
อาการของโรคหลอดเลือดสมอง
เมื่อสมองเกิดการขาดเลือด จะทาให้สมองไม่สามารถทางานได้เป็นปกติ ส่งผลให้เกิดอาการต่างๆ
ขึ้นมาโดยจะเป็นมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงและตาแหน่งที่สมองนั้นเสียหาย เช่น มีอาการชา
หรืออ่อนแรงที่บริเวณใบหน้าตามร่างกาย หรือชาครึ่งซีกของร่างกาย พูดไม่ชัด ปากเบี้ยว มุมปากตก น้าลาย
ไหล กลืนลาบาก ปวดศีรษะ เวียนศีรษะทันทีทันใด ตามัว มองเห็นภาพซ้อนหรือเห็นครึ่งซีก หรือตาบอดข้าง
เดียวอย่างฉับพลัน เดินเซ ทรงตัวลาบาก อาการเหล่านี้ล้วนเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน แต่ในรายที่เป็นภาวะสมอง
ขาดเลือดชั่วคราวจะเกิดอาการเหล่านี้ขึ้นมาเตือนพักหนึ่งแล้วจะหายไปเอง หรือก็อาจจะเกิดขึ้นหลายๆ ครั้ง
ก่อนที่จะมีอาการสมองขาดเลือดแบบถาวร
การป้องกันการกลับเป็นโรคหลอดเลือดสมองซ้า
การป้องกันนั้นเป็นหนทางที่ดีที่สุดในการรักษาโรคหลอดเลือดสมอง และควรจะทาก่อนที่จะเกิดโรค
นี้ขึ้นคือต้องควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดหลอดเลือดตีบตันหรือแตก เช่นความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ
โรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง การสูบบุหรี่ หรือไม่ออกกาลังกาย เป็นต้น
• หมั่นตรวจเช็คสุขภาพประจาปี เพื่อตรวจสอบปัจจัยเสี่ยง ถ้าพบจะได้รีบรักษาแต่ต้น
• ถ้าพบปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้หลอดเลือดตีบตันหรือแตก ให้รีบรักษาและทานยาอย่างสม่ าเสมอตามแพทย์
สั่ง และห้ามหยุดยาเองโดยเด็ดขาด และถ้าพบอาการผิดปกติให้รีบเข้าพบแพทย์
• คอยควบคุมระดับความดันโลหิต ไขมัน น้าตาลให้อยู่ในระดับปกติ
การป้องกันการกลับเป็นโรคหลอดเลือดสมองซ้า
• ทานอาหารให้สมดุล เลี่ยงการทานเค็ม หวาน มัน
• ออกกาลังอย่างสม่าเสมออย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน 3 วันต่อสัปดาห์ และคอยควบคุมน้าหนักให้
เหมาะสม
• งดการสูบบุหรี่ และเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์
• ถ้ามีอาการเตือนว่าเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอเป็นการชั่วคราวให้รีบเข้าพบแพทย์ถึงอาการเหล่านั้นจะหาย
เป็นปกติ
การป้องกันการกลับเป็นโรคหลอดเลือดสมองซ้า
• ในผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันไปแล้ว แพทย์จะให้การรักษาโดยให้ทานยาเพื่อป้องกันการ
กลับมาเกิดซ้าของโรค แต่การให้ยานั้นก็ต้องมีการติดตามผลภายใต้การดูแลของแพทย์อย่างเคร่งครัด
เนื่องจากการให้ยาผิด หรือประมาท หรือไม่มีการติดตามดูแลอย่างดีอาจจะเกิดผลร้ายอย่างรุนแรงและ
เป็นอันตรายแก่ชีวิตได้
การป้องกันการกลับเป็นโรคหลอดเลือดสมองซ้า
ดังนั้นถ้าพบว่าตัวเองมีอาการผิดปกติเหล่านี้เกิดขึ้น ควรรีบเข้าพบแพทย์เพื่อทาการรักษาในทันที
เนื่องจากอาการของโรคหลอดเลือดสมองเป็นอาการที่ร้ายแรงอย่างมาก และอาจจะอันตรายถึงแก่ชีวิตได้
หรือหากไม่ถึงแก่ชีวิตก็อาจจะกลายเป็นโรคอัมพาต อัมพฤกษ์ทาให้ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้และต้องใช้
เวลาในการรักษาฟื้นฟูร่างกายต่อไป
สัมภาษณ์ผู้ป่วยและสังเกตพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยตาม
แบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และแบบสังเกตพฤติกรรม เพื่อ
ต้องการทราบข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและ
บุคคลในครอบครัวเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง
วิธี
ดาเนินงาน
สารวจวัดความดันโลหิตประชาชนที่มีอายุ30 ปี
ขึ้นไป ทั้งเพศชายและหญิงในชุมชนจานวน 100
คนเพื่อหาจานวนผู้ป่วยทั้งรายเก่าและรายใหม่
วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาสาเหตุ
ของพฤติกรรมการดูแลตนเอง
ที่เป็นปัญหา
สร้างโครงการให้ความรู้เพื่อปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม เพื่อให้สอดคล้องกับแบบแผนการ
ดาเนินชีวิตของผู้ป่วยแต่ละคน
54321
ดาเนินการโครงการแก้ไขด้วยการจัดโครงการให้ความรู้เพื่อปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยแต่ละรายจัดสนทนากลุ่มและทากิจกรรม
ร่วมกัน รวม 6 ครั้งเดือนละครั้งจานวน 50รายในระหว่างการดาเนินโครงการ
ผู้ป่วยแต่ละคนอาจมีสิ่งกระตุ้นที่ทาให้ค่าความดันโลหิตสูงขึ้น
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2550). โครงการ
รณรงค์ตรวจวัดความดันโลหิตฟรีแก่ประชาชนที่
มีอายุ 35 ปีขึ้นไป พร้อมกัน 76 จังหวัดทั่ว
ประเทศ. กรุงเทพฯ
คณะกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ กรมการ
แพทย์กระทรวงสาธารณสุข. (2536). นโยบาย
และเป้าหมายการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ.
กรุงเทพฯ
จุฑารัตน์ ภาตะนันท์, รัชนี นามจันทรา และปิ่นหทัย
ศุภเมธาพร. (2555). ผลของโปรแกรมการ
พยาบาลที่บ้านต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ
ระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความโลหิต. วารสาร
พยาบาลทหารบก. ปีที่ 12 ฉบับที่ 2, 72-80.
กัตติกา ธนะขว้าง. (2554). การวิเคราะห์อภิมานงานวิจัย
เกี่ยวกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุใน
ประเทศไทย. วารสารพยาบาลทหารบก. ปีที่12
ฉบับที่ 2, 7-13.
แหล่งอ้างอิง
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2550). โครงการ
รณรงค์ตรวจวัดความดันโลหิตฟรีแก่ประชาชนที่
มีอายุ 35 ปีขึ้นไป พร้อมกัน 76 จังหวัดทั่ว
ประเทศ. กรุงเทพฯ
คณะกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ กรมการ
แพทย์กระทรวงสาธารณสุข. (2536). นโยบาย
และเป้าหมายการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ.
กรุงเทพฯ
จุฑารัตน์ ภาตะนันท์, รัชนี นามจันทรา และปิ่นหทัย
ศุภเมธาพร. (2555). ผลของโปรแกรมการ
พยาบาลที่บ้านต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ
ระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความโลหิต. วารสาร
พยาบาลทหารบก. ปีที่ 12 ฉบับที่ 2, 72-80.
กัตติกา ธนะขว้าง. (2554). การวิเคราะห์อภิมานงานวิจัย
เกี่ยวกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุใน
ประเทศไทย. วารสารพยาบาลทหารบก. ปีที่12
ฉบับที่ 2, 7-13.
แหล่งอ้างอิง
วิดีโอที่เกี่ยวข้องเครดิต : Youtube @อุทุมพร จูมจา
https://www.youtube.com/watch?v=
จัดทาโดย(ุุ 6/9)
นาย ฑีฆ์ โกฏธิ เลขที่ 23
นาวสาาว ผกวรรณ ใจมา เลขที่ 44
นาเสนอ
คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
Nana Sabaidee
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
Wan Ngamwongwan
 

What's hot (8)

Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมอง
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
 
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาต
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาตการดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาต
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาต
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 

Similar to การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
appcheeze
 
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
Fah Chimchaiyaphum
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
60941
 
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
Puku Wunmanee
 

Similar to การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (20)

แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014
 
Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
 
Clu1
Clu1Clu1
Clu1
 
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551CPG Thai hemorrhagic stroke 2551
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551
 
Cad guideline
Cad guidelineCad guideline
Cad guideline
 
Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
 
Guideline in the Diagnosis and Management of Acute Rheumatic Fever
Guideline in the Diagnosis and Management of Acute Rheumatic FeverGuideline in the Diagnosis and Management of Acute Rheumatic Fever
Guideline in the Diagnosis and Management of Acute Rheumatic Fever
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...
 
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
Chf guideline
Chf guidelineChf guideline
Chf guideline
 
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
 
Epidemiology of NCD
Epidemiology of NCDEpidemiology of NCD
Epidemiology of NCD
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
 

การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง