SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 1
การศึกษาแนวทางการพัฒนา
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของประเทศไทย
ช่วงการจัดตั้งธุรกิจใหม่ด้วยกระบวนการบ่มเพาะธุรกิจ
โดย
ทรงพล มั่นคงสุจริต
ฝ่ายพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 2
SMEs เป็นพลังในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
ข้อมูล พ.ศ. 2556*
มูลค่า GDP ของประเทศไทย = 11.90 ล้านล้านบาท
(ขยายตัวจากปีก่อนหน้า 2.9%)
มูลค่า GDP ของ SMEs = 4.45 ล้านล้านบาท
(ขยายตัวจากปีก่อนหน้า 3.8%)
GDP ของ SMEs มีมูลค่าเป็น
37.4% ของ GDP ของ
ประเทศไทย
อัตราการขยายตัวของ GDP
ของ SMEs มากกว่าอัตรา
ขยายตัวของประเทศ
* ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์ SMEs ปี 2557 ของ สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 3
SMEs เป็นพลังในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
“SMEs are the Engine of Growth.”
* รูปภาพจาก http://www.infonet.com.br/
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 4
แต่ทว่า... SMEs เกิดง่าย ตายเร็ว
* ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์ SMEs ปี 2557 ของ สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
การจัดตั้งและยกเลิกกิจการนิติบุคคล*
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 5
การบ่มเพาะธุรกิจ (Business Incubation)
* รูปภาพจาก http://www.youthvillage.co.za/
นิยามของการบ่มเพาะธุรกิจ*:
“A controlled environment that fosters the
care, growth, and protection of a new venture
at an early stage before it is ready for traditional
means of self-sustaining operation.”
* Chinsomboon O.M., Incubators in the New Economy, Sloan School of Management,
MIT Master's Degree Thesis, June 2000.
การบ่มเพาะธุรกิจช่วยให้
ผู้ประกอบการดาเนินธุรกิจได้อย่าง
มั่นคง มั่งคั่ง และ ยั่งยืน
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 6
ประวัติศาสตร์หน่วยบ่มเพาะธุรกิจของโลก
พ.ศ. 2502
เกิดหน่วยบ่มเพาะธุรกิจแห่งแรกของโลกที่
Batavia Industrial Cluster สหรัฐอเมริกา
พ.ศ. 2528
เกิดการจัดตั้ง National Business Incubation Association (NBIA)
มีสมาชิกเริ่มต้นเป็นหน่วยบ่มเพาะธุรกิจ 40 แห่งในสหรัฐอเมริกา
พ.ศ. 2558
NBIA เปลี่ยนชื่อเป็น INBIA และมีสมาชิกเป็น
หน่วยบ่มเพาะธุรกิจ 2,000 แห่งจากทั่วโลก
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 7
ประวัติศาสตร์หน่วยบ่มเพาะธุรกิจของไทย
พ.ศ. 2545
สวทช. จัดตั้งศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ
พ.ศ. 2548
สกอ. จัดตั้งและดาเนินการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา
(University Business Incubator: UBI) จานวน 25 แห่ง
พ.ศ. 2558
มี UBI จานวน 63 แห่งทั่วประเทศไทย
ดาเนินการเป็นเครือข่ายตามภูมิภาค 9 เครือข่าย
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 8
กิจกรรมของหน่วยบ่มเพาะธุรกิจในประเทศไทย
• การประชาสัมพันธ์/การสร้างความตระหนัก (Awareness)
• กิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนเข้ารับการบ่มเพาะ (Pre-incubation)
• การอบรม/สัมมนาทักษะทางธุรกิจ เช่น การตรียมแผนธุรกิจ (Business Model)
• กิจกรรมการบ่มเพาะธุรกิจ (Incubation)
• การให้คาปรึกษาทางเทคโนโลยี/การเงิน/ธุรกิจ (Consultancy)
• การสนับสนุน/เชื่อมโยงแหล่งเงินทุน และการจับคู่ธุรกิจ (Business Matching)
• การสนับสนุนบริการอื่น ๆ เพื่อการเข้าสู่ตลาด (Commercialization)
• กิจกรรมเสริมสร้างธุรกิจที่มีศุกยภาพหลังการบ่มเพาะ (Post-Incubation)
• การเปิดตลาดต่างประเทศ หรือการเข้าตลาดหลักทรัพย์ (Acceleration)
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 9
ผลการดาเนินงานของ UBI ปี พ.ศ. 2552 – 2557
ผลการ
ดาเนินงาน*
จานวนบริษัทจัดตั้งใหม่
(Start-up Companies)
จานวนบริษัทเต็มรูปแบบ
(Spin-off Companies)
รวมทั้งสิ้น
ปี พ.ศ.
2552 – 2553
103 51 154
ปี พ.ศ.
2554 – 2555
120 44 164
ปี พ.ศ.
2556 – 2557
124 67 191
รวมทั้งสิ้น 347 162 509
* หมายเหตุ: ผลการดาเนินงานของ UBI จานวน 56 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งมีบุคลากรประมาณ 235 คน
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 10
ปัจจัยที่ส่งผลถึงความสาเร็จ (และปัญหา) ของการบ่มเพาะธุรกิจ
ปัจจัยภายใน
• ตัวชี้วัดความสาเร็จ (Key Performance Indicator: KPI)
• งบประมาณ (Budget)
• บุคลากร (Human Resource)
ปัจจัยภายนอก
• ผู้ประกอบการ (Entrepreneur)
• ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ผู้ประกอบการ
คน
เงินงาน
ระบบ
นิเวศ
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 11
ตัวชี้วัดความสาเร็จ (KPI) ของโครงการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา
(ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556)
Track
KPI
Research Based
Business
General Technology
Business
Creative Business Innovative Service
Business
บริษัทจัดตั้งใหม่
Start-up Companies
รายได้ไม่น้อยกว่า
120,000 บาทต่อปี
รายได้ไม่น้อยกว่า
120,000 บาทต่อปี
รายได้ไม่น้อยกว่า
120,000 บาทต่อปี
รายได้ไม่น้อยกว่า
120,000 บาทต่อปี
บริษัทเต็มรูปแบบ
Spin-off Companies
รายได้ไม่น้อยกว่า
1,000,000 บาทต่อปี
รายได้ไม่น้อยกว่า
600,000 บาทต่อปี
รายได้ไม่น้อยกว่า
600,000 บาทต่อปี
รายได้ไม่น้อยกว่า
600,000 บาทต่อปี
มีการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล
มีระบบการจัดจ้างบุคลากรที่ชัดเจน โดยมีหลักฐานการจ้างงาน
มีอัตรากาไรขั้นต้น (Gross Profit Margin) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
การรับบริการจาก
สถาบันการเงิน
จานวนผู้ประกอบการได้รับบริการจากสถาบันการเงินไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของจานวนผู้ประกอบการที่
ผ่านการประเมินระดับบริษัทเต็มรูปแบบ (Spin-off Companies) ของเครือข่าย
กิจกรรมสร้างความ
ตระหนัก
กิจกรรมสร้างความตระหนักและจิตวิญญาณความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Spirit) ไม่น้อยกว่า
5 กิจกรรม
กิจกรรมเตรียมความ
พร้อมประกอบธุรกิจ
มีการจัดตั้งชมรมผู้ประกอบการนักศึกษา มีสมาชิกไม่น้อยกว่า 50 คน และมีกิจกรรมดาเนินงานตามแผน
ประจาปีของชมรมฯ โดยมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่า 200 คน
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 12
ตัวชี้วัดความสาเร็จไม่สอดคล้องกับสภาพที่เป็นอยู่
• KPI ของ UBI ในสถาบันอุดมศึกษา (กาหนดโดย สกอ.) คือ บริษัท Start-up หรือ
บริษัท Spin-off ที่มีรายได้ต่อปีตามเกณฑ์ และมีอัตรากาไรขั้นต้น (Gross Profit
Margin) ตามเกณฑ์
• ธุรกิจในอุตสาหกรรมที่ต่างกัน ใช้เวลาในการหารายได้ต่างกัน และมีค่าเฉลี่ยของรายได้
และอัตรากาไรขั้นต้นต่างกัน
• KPI มีลักษณะเป็น University/Incubator-oriented ไม่ใช่ Customer/Incubatee-
oriented
แนวทางการแก้ปัญหา:
ปรับตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ให้เป็นตัวชี้วัดเชิงคุณภาพที่มีความยืดหยุ่นตามสภาพธุรกิจ โดยอาจ
พิจารณาการพัฒนาศักยภาพในการดาเนินธุรกิจหลังการบ่มเพาะเทียบกับก่อนการบ่มเพาะ
งาน
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 13
งบประมาณไม่เพียงพอและไม่แน่นอน
• แหล่งที่มาของงบประมาณของหน่วยบ่มเพาะธุรกิจในประเทศไทย ได้แก่
• สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
• สานักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ (สอว.)
• หน่วยงานต้นสังกัดของหน่วยบ่มเพาะธุรกิจ
• สาหรับ สกอ. งบประมาณแบ่งจ่ายเป็นงวด ตามจานวนโครงการที่ผ่านการประเมิน
• สกอ. ตั้งงบประมาณในรูปแบบ “โครงการ” (ระยะเวลา 2 ปีต่อโครงการ) ซึ่งอาจสิ้นสุดได้
แนวทางการแก้ปัญหา:
สาหรับ สกอ. และหน่วยงานต้นสังกัด – กาหนดงบประมาณสนับสนุนการบ่มเพาะอย่าง
ต่อเนื่องเพื่อสร้างทักษะความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Skills) ให้แก่บัณฑิต
สาหรับหน่วยบ่มเพาะ – หางบประมาณจากแหล่งอื่น หรือหารายได้จากการเก็บค่าบริการ
เงิน
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 14
ทักษะความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Skills)
Entrepreneur
Intrapreneur
Start-up Qualified
Work-
force
เป็นหนึ่งในลักษณะที่
พึงประสงค์ของ
“บัณฑิต”
• มีความคิดสร้างสรรค์ (Creativity)
• สร้างนวัตกรรม (Innovation)
• การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ (Adaptability)
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 15
กรณีศึกษา: Stanford University และ Silicon Valley
• Stanford Industrial Park (Stanford Research Park) เป็นพื้นที่ของมหาวิทยาลัย
เปิดให้บริษัทเอกชนเช่าเพื่อดาเนินการด้านการวิจัยและธุรกิจ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1951
• บริษัทเป็นแหล่งจ้างงานของบัณฑิต ในขณะที่มหาวิทยาลัยก็สามารถบริการงานวิจัย
ให้แก่บริษัทด้วย ถือเป็นการได้ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย
• ตัวอย่างของบริษัทผู้เช่าในช่วงแรก ได้แก่ Hewlett-Packard, Eastman Kodak,
General Electric และ Lockheed Corporation
• ศิษย์เก่าเลือกจัดตั้งบริษัทใหม่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย เพื่อใช้ประโยชน์จาก
มหาวิทยาลัย และบริจาคเงินเพื่อบารุงมหาวิทยาลัยเมื่อบริษัทประสบความสาเร็จ
• มหาวิทยาลัยและบริษัทนับเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของ Silicon Valley
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 16
บุคลากรขาดทักษะและไม่เพียงพอ
• เจ้าหน้าที่บ่มเพาะธุรกิจมีจานวนน้อย
• เจ้าหน้าที่บ่มเพาะไม่มีประสบการณ์ ไม่มีทักษะ และไม่มีแนวทางในการ
พัฒนางานในสายอาชีพ
• อัตราการลาออกสูง (High Turnover Rate)
แนวทางการแก้ปัญหา:
สร้างความมั่นคงในสายอาชีพ และมีกระบวนการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เหมาะสม
(Train-the-Trainer Model)
คน
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 17
ตัวอย่างโครงการ: Thailand Technology Fellows Program
• จัดโดย IMBA Program
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ สวทน.
• เป็นการสร้าง “ผู้รู้” (Fellows) เพื่อดูแลและ
เป็นพี่เลี้ยงให้แก่ผู้ประกอบการใหม่ โดยใช้
หลักสูตรที่เรียกว่า Metamorphosis Model
• มีการจัด Thailand Innovation Boot
Camp (ระยะเวลา 3 วันครึ่ง) เพื่อสร้างผู้รู้
และผู้ประกอบการในคราวเดียวกัน (Train-
the-Trainer Model)
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 18
ผู้ประกอบการไม่พร้อมและไม่มีคุณสมบัติที่เหมาะสม
• การคัดเลือกผู้ประกอบการ
• ผู้ประกอบการไม่เชื่อ/ไม่ปฏิบัติตามคาแนะนาของเจ้าหน้าที่บ่มเพาะ/ที่ปรึกษา
• ลักษณะของผู้ประกอบการในประเทศไทย
• จากผลสารวจ Global Entrepreneurship and Development Index (GEDI)
ปี ค.ศ. 2015 ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 68 จาก 130 ประเทศทั่วโลก
แนวทางการแก้ปัญหา:
สาหรับหน่วยบ่มเพาะ – ปรับวิธีการคัดเลือกผู้ประกอบการโดยเน้นรับผู้ประกอบการที่มี
ความพร้อมและมีศักยภาพในการเข้ารับการบ่มเพาะ
สาหรับนโยบายภาครัฐ – ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีศักยภาพสูงขึ้น
ผู้ประกอบ
การ
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 19
Process
Innovation
High
Growth
Internationalization
* ข้อมูลและแผนภาพจาก http://thegedi.org/countries/thailand
GEDI: 14 Pillar Comparison - Thailand
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 20
ตัวอย่างโครงการ: โครงการสนับสนุนการพัฒนาสมรรถภาพในการเลือก
และรับเทคโนโลยี (STAMP)
• ดาเนินการโดย โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรม
ไทย (ITAP) สวทช.
• เป็นการนากลุ่มผู้ประกอบการเดินทางไปศึกษาดูงานเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง
ในต่างประเทศ
• ผลประโยชน์ที่ได้รับ
• เพิ่มความมุ่งมั่นสู่ความเป็นสากล (Internationalization Aspiration)
• เพิ่มความสามารถในการซึมซับเทคโนโลยี (Technology Absorption)
• สร้างเครือข่ายของผู้ประกอบการ (Networking)
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 21
ตัวอย่างโครงการ: BU Start-up Project
• ดาเนินการโดยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
• เป็นหลักสูตรพิเศษที่นานักศึกษาจากต่างคณะมาเรียนรู้ร่วมกัน (ภายใน
ระยะเวลา 1-2 ภาคการศึกษา) เพื่อเกิดการบูรณาการองค์ความรู้และ
การทางานเป็นทีมเพื่อให้ได้ผลงานนวัตกรรมที่ใช้ได้จริง โดยใช้
แนวความคิด “Creative Convergence”
• ผลประโยชน์ที่ได้รับ:
• การสร้างลักษณะความเป็นผู้ประกอบการ
• การสร้างเครือข่ายของผู้ประกอบการในอนาคต
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 22
ระบบนิเวศไม่เอื้ออานวย
• มีข้อจากัดในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนประเภทต่าง ๆ (Seed Funding, Angel
Investor, Venture Capital, Crowdfunding, Business Loan, Stock
Market – Initial Public Offering: IPO)
• ที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขามีไม่เพียงพอ
• ขาดความสะดวกในการประกอบธุรกิจ (กฏระเบียบและข้อบังคับซับซ้อน)
แนวทางการแก้ปัญหา: สาหรับนโยบายภาครัฐ
- ออกมาตรการจูงใจนักลงทุนประเภทต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการสร้างบริษัทจัดตั้งใหม่
- บูรณาการฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ/บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบ่มเพาะธุรกิจ (อาจจัดตั้ง
หน่วยประสานงาน หรือ หน่วยบ่มเพาะแห่งชาติ National Incubation Center)
- ผ่อนปรนหรือปรับกฏระเบียบข้อบังคับสาหรับบริษัทจัดตั้งใหม่ให้เกิดความสะดวกมากขึ้น
ระบบ
นิเวศ
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 23
ตัวอย่างแหล่งเงินทุน Startup ในประเทศไทย: “500 TukTuks”
• เป็นกองทุนมูลค่า 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 300 ล้านบาท)
• เป็นกองทุนย่อยในเครือ 500 Startups ของสหรัฐอเมริกา
• เลือกลงทุนเฉพาะในบริษัทจัดตั้งใหม่ที่ทาธุรกิจด้านอินเทอร์เน็ต (IT, software,
e-commerce) ระดับ Seed Stage (รับเงินลงทุนก้อนแรก)
• ให้ เงินทุน, ความรู้ด้านการเงิน (จากพี่เลี้ยง/ผู้เชี่ยวชาญ) และโอกาสในการ
เชื่อมโยงกับเครือข่าย (Connection) ของ 500 Startups ทั่วโลก
• มุ่งหวังให้บริษัทที่ได้รับการลงทุนเติบโตในระดับภูมิภาคเอเซีย และระดับโลก
* รูปภาพจาก http://e27.co/500-startups-launches-us10m-micro-fund-to-nurture-thailands-startups-20150429/
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 24
ตัวอย่างการอบรมการบ่มเพาะธุรกิจโดยภาคเอกชน: Disrupt University
• หลักสูตร Disrupt MBA เป็นการอบรมแบบผสมผสานระหว่างการบรรยายและการ
ทดลองปฏิบัติ โดยมีเนื้อหาคล้ายกับรายวิชาของ Stanford MBA ร่วมกับการ
นาเสนอประสบการณ์จากบริษัทชั้นนาใน Silicon Valley
• หลักสูตรครอบคลุมการหาไอเดียนวัตกรรม, แปลงนวัตกรรมเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ,
ออกแบบรูปแบบการดาเนินธุรกิจ, แปลงรูปแบบการดาเนินธุรกิจให้เป็น Startup
และ ระดมทุนเพื่อสนับสนุน Startup
• ระยะเวลาอบรม 4 วัน ทุก ๆ เสาร์หรืออาทิตย์ สัปดาห์ละ 1 ครั้งเป็นเวลา 4 สัปดาห์
• ค่าเล่าเรียน 35,000 บาท
• ผลประโยชน์จากการอบรม: ความรู้ และ เครือข่ายของผู้เรียนร่วมรุ่น
* ข้อมูลจาก http://disruptuniversity.com/
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 25
ข้อเสนอแนะรูปแบบของหน่วยบ่มเพาะที่เหมาะสมในประเทศไทย
รูปแบบ รูปแบบที่ 1
(มหาวิทยาลัย)
รูปแบบที่ 2
(หน่วยงานภาครัฐ)
รูปแบบที่ 3
(เอกชน)
ลักษณะการ
ดาเนินงาน
ไม่แสวงหาผลกาไร (แต่แสวงหา
ผลประโยชน์ในรูปแบบอื่น)
ไม่แสวงหาผลกาไร (แต่แสวงหา
ผลประโยชน์ในรูปแบบอื่น)
เป็นได้ทั้งแบบแสวงหาผลกาไร
(หรือผลประโยชน์ในรูปแบบอื่น)
และแบบไม่แสวงหาผลกาไร
แหล่งที่มาของ
งบประมาณและ
รายได้
งบประมาณจากภาครัฐ (เช่น
สกอ. และ/หรือ หน่วยงานต้น
สังกัด) และ/หรือ เงินสนับสนุน
จากหน่วยงานพันธมิตร
อาจเรียกเก็บค่าบริการบ่มเพาะ
และค่าเช่าพื้นที่สานักงาน
งบประมาณจากภาครัฐ
(หน่วยงานต้นสังกัด) และ/หรือ
เงินสนับสนุนจากหน่วยงาน
พันธมิตร
อาจเรียกเก็บค่าบริการบ่มเพาะ
และค่าเช่าพื้นที่สานักงาน
งบประมาณจากบริษัทต้นสังกัด
(ถ้ามี)
เรียกเก็บค่าบริการบ่มเพาะและ
ค่าเช่าพื้นที่สานักงาน
ลักษณะเด่นที่เป็นไป
ได้ในการบ่มเพาะ
ธุรกิจ
เน้นการบ่มเพาะธุรกิจสาหรับ
ผู้ประกอบการในพื้นที่ (Area-
based Incubation) หรือ ตาม
กลุ่มเทคโนโลยีที่มหาวิทยาลัยมี
ความเชี่ยวชาญ
เน้นการบ่มเพาะธุรกิจตามกลุ่ม
เทคโนโลยีที่หน่วยงานมีความ
เชี่ยวชาญ (Cluster-based
Incubation)
เน้นการบ่มเพาะธุรกิจเพื่อการ
ควบรวมกิจการ (Merger and
Acquisition) หรือการสร้าง
ผลตอบแทนให้แก่นักลงทุน
(Return on Investment) หรือ
การสร้างธุรกิจใหม่ (Spin-off)
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 26
กรณีศึกษา: Shanghai Upper Bio-tech Pharma Co., Ltd.
• บริษัท SME ของจีน ผู้ผลิตและจาหน่ายเครื่องมือทดสอบทางการแพทย์ประเภท
Point of Care Testing ให้แก่โรงพยาบาลมากกว่า 3,000 แห่งในประเทศจีน
(ในปี ค.ศ. 2014 บริษัทมีรายได้มากกว่า 25 ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
• บริษัทจัดตั้งศูนย์บ่มเพาะธุรกิจภายในพื้นที่ของบริษัท โดยให้บริการพื้นที่สานักงาน
และห้องปฏิบัติการแก่บริษัท Start-up ด้าน Bio-tech ของจีน จานวน 30 แห่ง
• บริษัทสามารถร่วมลงทุนในลักษณะ Angel Investment รวมไปถึงการควบรวม
กิจการกับบริษัท Start-up ที่มีศักยภาพ (กลยุทธ์ “Outside-In”)
* ดูข้อมูลของบริษัทเพิ่มเติมได้จาก http://www.poct.cn/en/default.aspx
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 27
ข้อเสนอแนะด้านโครงสร้างพื้นฐานและบุคลากรของหน่วยบ่มเพาะ
• โครงสร้างพื้นฐาน
• อาคารสานักงาน
• พื้นที่สานักงาน (ให้เช่า) สาหรับผู้เข้ารับการบ่มเพาะธุรกิจ
• สิ่งอานวยความสะดวกในการดาเนินธุรกิจ
• บุคลากร
• ผู้จัดการ (และ ผู้ช่วยผู้จัดการ)
• เจ้าหน้าที่บ่มเพาะธุรกิจ
• เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 28
ข้อเสนอแนะด้านกิจกรรมของหน่วยบ่มเพาะ
• การสร้างความตระหนัก และการประชาสัมพันธ์เชิงรุก
• การเตรียมความพร้อมก่อนการบ่มเพาะ
• การอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับแผนธุรกิจและการดาเนินธุรกิจเบื้องต้น
• กิจกรรมการบ่มเพาะ
• การให้บริการพิเศษสาหรับบริษัทที่มีศักยภาพสูง
• การเตรียมความพร้อมไปเปิดตลาดต่างประเทศ หรือการเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์
• การสร้างเครือข่ายของผู้ประกอบการและนักลงทุน
• การจัดสัมมนา/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น/เลี้ยงอาหาร ทั้งอย่างเป็นทางการและอย่างไม่เป็น
ทางการ โดยเปิดโอกาสให้มีการสนทนาระหว่างผู้เข้าร่วมงานให้มากที่สุด
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 29
ประเด็นข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากการประชุมระดมความคิดเห็น
• ประเด็นปัญหาและอุปสรรค
• ปัจจัยภายใน: งาน, เงิน, คน (และ ???)
• ปัจจัยภายนอก: ผู้ประกอบการ, ระบบนิเวศ (แหล่งเงินทุน, กฏระเบียบ, ฯลฯ) (และ ???)
• ประเด็นรูปแบบของหน่วยบ่มเพาะที่เหมาะสมสาหรับประเทศไทย
• ภายในมหาวิทยาลัย/ภายนอกมหาวิทยาลัย
• รัฐ/เอกชน
• ไม่แสวงหาผลกาไร/แสวงหาผลกาไร/แสวงหาผลประโยชน์ในรูปแบบอื่น ๆ
• Outside-In/Inside-Out
• กิจกรรมที่ควรดาเนินการ
• ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 30
แผนการดาเนินงานของโครงการ
• วันอังคารที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2558: จัดประชุมระดมความคิดเห็น (Public
Hearing) ณ ห้อง CHYNA ชั้น 12 โรงแรมเซ็นทราเซ็นทรัลสเตชัน กรุงเทพฯ
เวลา 8:30 – 13:00 น.
• ช่วงสัปดาห์ที่ 3 ของเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558: นาส่งร่างรายงานที่เพิ่มเติมข้อมูล
จากการระดมความคิดเห็น และ Action Plan แก่คณะทางาน
• ช่วงสัปดาห์ที่ 1 ของเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558: จัดประชุมคณะทางานเพื่อ
พิจารณารายงานและ Action Plan (ขอเชิญคณะทางานเข้าร่วมประชุม)
• ช่วงสัปดาห์ที่ 2 ของเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558: นาส่งรายงานฉบับสมบูรณ์
พร้อม Action Plan แก่ สวทน.
© NSTDA 2015
www.nstda.or.th 31
ขอบคุณครับ
A Driving Force for National
Science and Technology Capability
ฝ่ายพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน
ตาบลคลองหนึ่ง อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

More Related Content

Similar to Incubation Project (Public Hearing) - 6 October 2015

the world of entrepreneurs nu 2015
 the world of entrepreneurs nu 2015 the world of entrepreneurs nu 2015
the world of entrepreneurs nu 2015thammasat university
 
Trends and Capabilities for Leadership in Business 4.0
Trends and Capabilities for Leadership in Business 4.0Trends and Capabilities for Leadership in Business 4.0
Trends and Capabilities for Leadership in Business 4.0Panu Chaopricha
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeIMC Institute
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการpop Jaturong
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Tanya Sattaya-aphitan
 
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0Sudpatapee Wiengsee
 
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก  01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก thammasat university
 
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลกthammasat university
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&DNational Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Business concept competition and cooperations
Business concept competition and cooperationsBusiness concept competition and cooperations
Business concept competition and cooperationsUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITIMC Institute
 
NECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdf
NECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdfNECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdf
NECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdfPawachMetharattanara
 
Thaialnd Service Robot Market 2023
Thaialnd Service Robot Market 2023Thaialnd Service Robot Market 2023
Thaialnd Service Robot Market 2023SirintornIns
 
Rethinking innovation process
Rethinking innovation processRethinking innovation process
Rethinking innovation processpunpun
 
การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806
การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806
การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806Kant Weerakant Drive Thailand
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจthanathip
 
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) Thailand Board of Investment North America
 

Similar to Incubation Project (Public Hearing) - 6 October 2015 (20)

the world of entrepreneurs nu 2015
 the world of entrepreneurs nu 2015 the world of entrepreneurs nu 2015
the world of entrepreneurs nu 2015
 
Trends and Capabilities for Leadership in Business 4.0
Trends and Capabilities for Leadership in Business 4.0Trends and Capabilities for Leadership in Business 4.0
Trends and Capabilities for Leadership in Business 4.0
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or Hype
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
 
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
 
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก  01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
 
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
 
Business concept competition and cooperations
Business concept competition and cooperationsBusiness concept competition and cooperations
Business concept competition and cooperations
 
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
 
NECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdf
NECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdfNECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdf
NECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdf
 
Thaialnd Service Robot Market 2023
Thaialnd Service Robot Market 2023Thaialnd Service Robot Market 2023
Thaialnd Service Robot Market 2023
 
SI TQA
SI TQASI TQA
SI TQA
 
3
33
3
 
Rethinking innovation process
Rethinking innovation processRethinking innovation process
Rethinking innovation process
 
การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806
การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806
การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
 
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
 

Incubation Project (Public Hearing) - 6 October 2015

  • 1. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 1 การศึกษาแนวทางการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของประเทศไทย ช่วงการจัดตั้งธุรกิจใหม่ด้วยกระบวนการบ่มเพาะธุรกิจ โดย ทรงพล มั่นคงสุจริต ฝ่ายพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 2. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 2 SMEs เป็นพลังในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ข้อมูล พ.ศ. 2556* มูลค่า GDP ของประเทศไทย = 11.90 ล้านล้านบาท (ขยายตัวจากปีก่อนหน้า 2.9%) มูลค่า GDP ของ SMEs = 4.45 ล้านล้านบาท (ขยายตัวจากปีก่อนหน้า 3.8%) GDP ของ SMEs มีมูลค่าเป็น 37.4% ของ GDP ของ ประเทศไทย อัตราการขยายตัวของ GDP ของ SMEs มากกว่าอัตรา ขยายตัวของประเทศ * ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์ SMEs ปี 2557 ของ สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
  • 3. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 3 SMEs เป็นพลังในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ “SMEs are the Engine of Growth.” * รูปภาพจาก http://www.infonet.com.br/
  • 4. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 4 แต่ทว่า... SMEs เกิดง่าย ตายเร็ว * ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์ SMEs ปี 2557 ของ สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การจัดตั้งและยกเลิกกิจการนิติบุคคล*
  • 5. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 5 การบ่มเพาะธุรกิจ (Business Incubation) * รูปภาพจาก http://www.youthvillage.co.za/ นิยามของการบ่มเพาะธุรกิจ*: “A controlled environment that fosters the care, growth, and protection of a new venture at an early stage before it is ready for traditional means of self-sustaining operation.” * Chinsomboon O.M., Incubators in the New Economy, Sloan School of Management, MIT Master's Degree Thesis, June 2000. การบ่มเพาะธุรกิจช่วยให้ ผู้ประกอบการดาเนินธุรกิจได้อย่าง มั่นคง มั่งคั่ง และ ยั่งยืน
  • 6. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 6 ประวัติศาสตร์หน่วยบ่มเพาะธุรกิจของโลก พ.ศ. 2502 เกิดหน่วยบ่มเพาะธุรกิจแห่งแรกของโลกที่ Batavia Industrial Cluster สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2528 เกิดการจัดตั้ง National Business Incubation Association (NBIA) มีสมาชิกเริ่มต้นเป็นหน่วยบ่มเพาะธุรกิจ 40 แห่งในสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2558 NBIA เปลี่ยนชื่อเป็น INBIA และมีสมาชิกเป็น หน่วยบ่มเพาะธุรกิจ 2,000 แห่งจากทั่วโลก
  • 7. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 7 ประวัติศาสตร์หน่วยบ่มเพาะธุรกิจของไทย พ.ศ. 2545 สวทช. จัดตั้งศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ พ.ศ. 2548 สกอ. จัดตั้งและดาเนินการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา (University Business Incubator: UBI) จานวน 25 แห่ง พ.ศ. 2558 มี UBI จานวน 63 แห่งทั่วประเทศไทย ดาเนินการเป็นเครือข่ายตามภูมิภาค 9 เครือข่าย
  • 8. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 8 กิจกรรมของหน่วยบ่มเพาะธุรกิจในประเทศไทย • การประชาสัมพันธ์/การสร้างความตระหนัก (Awareness) • กิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนเข้ารับการบ่มเพาะ (Pre-incubation) • การอบรม/สัมมนาทักษะทางธุรกิจ เช่น การตรียมแผนธุรกิจ (Business Model) • กิจกรรมการบ่มเพาะธุรกิจ (Incubation) • การให้คาปรึกษาทางเทคโนโลยี/การเงิน/ธุรกิจ (Consultancy) • การสนับสนุน/เชื่อมโยงแหล่งเงินทุน และการจับคู่ธุรกิจ (Business Matching) • การสนับสนุนบริการอื่น ๆ เพื่อการเข้าสู่ตลาด (Commercialization) • กิจกรรมเสริมสร้างธุรกิจที่มีศุกยภาพหลังการบ่มเพาะ (Post-Incubation) • การเปิดตลาดต่างประเทศ หรือการเข้าตลาดหลักทรัพย์ (Acceleration)
  • 9. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 9 ผลการดาเนินงานของ UBI ปี พ.ศ. 2552 – 2557 ผลการ ดาเนินงาน* จานวนบริษัทจัดตั้งใหม่ (Start-up Companies) จานวนบริษัทเต็มรูปแบบ (Spin-off Companies) รวมทั้งสิ้น ปี พ.ศ. 2552 – 2553 103 51 154 ปี พ.ศ. 2554 – 2555 120 44 164 ปี พ.ศ. 2556 – 2557 124 67 191 รวมทั้งสิ้น 347 162 509 * หมายเหตุ: ผลการดาเนินงานของ UBI จานวน 56 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งมีบุคลากรประมาณ 235 คน
  • 10. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 10 ปัจจัยที่ส่งผลถึงความสาเร็จ (และปัญหา) ของการบ่มเพาะธุรกิจ ปัจจัยภายใน • ตัวชี้วัดความสาเร็จ (Key Performance Indicator: KPI) • งบประมาณ (Budget) • บุคลากร (Human Resource) ปัจจัยภายนอก • ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) • ระบบนิเวศ (Ecosystem) ผู้ประกอบการ คน เงินงาน ระบบ นิเวศ
  • 11. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 11 ตัวชี้วัดความสาเร็จ (KPI) ของโครงการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556) Track KPI Research Based Business General Technology Business Creative Business Innovative Service Business บริษัทจัดตั้งใหม่ Start-up Companies รายได้ไม่น้อยกว่า 120,000 บาทต่อปี รายได้ไม่น้อยกว่า 120,000 บาทต่อปี รายได้ไม่น้อยกว่า 120,000 บาทต่อปี รายได้ไม่น้อยกว่า 120,000 บาทต่อปี บริษัทเต็มรูปแบบ Spin-off Companies รายได้ไม่น้อยกว่า 1,000,000 บาทต่อปี รายได้ไม่น้อยกว่า 600,000 บาทต่อปี รายได้ไม่น้อยกว่า 600,000 บาทต่อปี รายได้ไม่น้อยกว่า 600,000 บาทต่อปี มีการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล มีระบบการจัดจ้างบุคลากรที่ชัดเจน โดยมีหลักฐานการจ้างงาน มีอัตรากาไรขั้นต้น (Gross Profit Margin) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 การรับบริการจาก สถาบันการเงิน จานวนผู้ประกอบการได้รับบริการจากสถาบันการเงินไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของจานวนผู้ประกอบการที่ ผ่านการประเมินระดับบริษัทเต็มรูปแบบ (Spin-off Companies) ของเครือข่าย กิจกรรมสร้างความ ตระหนัก กิจกรรมสร้างความตระหนักและจิตวิญญาณความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Spirit) ไม่น้อยกว่า 5 กิจกรรม กิจกรรมเตรียมความ พร้อมประกอบธุรกิจ มีการจัดตั้งชมรมผู้ประกอบการนักศึกษา มีสมาชิกไม่น้อยกว่า 50 คน และมีกิจกรรมดาเนินงานตามแผน ประจาปีของชมรมฯ โดยมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่า 200 คน
  • 12. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 12 ตัวชี้วัดความสาเร็จไม่สอดคล้องกับสภาพที่เป็นอยู่ • KPI ของ UBI ในสถาบันอุดมศึกษา (กาหนดโดย สกอ.) คือ บริษัท Start-up หรือ บริษัท Spin-off ที่มีรายได้ต่อปีตามเกณฑ์ และมีอัตรากาไรขั้นต้น (Gross Profit Margin) ตามเกณฑ์ • ธุรกิจในอุตสาหกรรมที่ต่างกัน ใช้เวลาในการหารายได้ต่างกัน และมีค่าเฉลี่ยของรายได้ และอัตรากาไรขั้นต้นต่างกัน • KPI มีลักษณะเป็น University/Incubator-oriented ไม่ใช่ Customer/Incubatee- oriented แนวทางการแก้ปัญหา: ปรับตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ให้เป็นตัวชี้วัดเชิงคุณภาพที่มีความยืดหยุ่นตามสภาพธุรกิจ โดยอาจ พิจารณาการพัฒนาศักยภาพในการดาเนินธุรกิจหลังการบ่มเพาะเทียบกับก่อนการบ่มเพาะ งาน
  • 13. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 13 งบประมาณไม่เพียงพอและไม่แน่นอน • แหล่งที่มาของงบประมาณของหน่วยบ่มเพาะธุรกิจในประเทศไทย ได้แก่ • สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) • สานักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ (สอว.) • หน่วยงานต้นสังกัดของหน่วยบ่มเพาะธุรกิจ • สาหรับ สกอ. งบประมาณแบ่งจ่ายเป็นงวด ตามจานวนโครงการที่ผ่านการประเมิน • สกอ. ตั้งงบประมาณในรูปแบบ “โครงการ” (ระยะเวลา 2 ปีต่อโครงการ) ซึ่งอาจสิ้นสุดได้ แนวทางการแก้ปัญหา: สาหรับ สกอ. และหน่วยงานต้นสังกัด – กาหนดงบประมาณสนับสนุนการบ่มเพาะอย่าง ต่อเนื่องเพื่อสร้างทักษะความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Skills) ให้แก่บัณฑิต สาหรับหน่วยบ่มเพาะ – หางบประมาณจากแหล่งอื่น หรือหารายได้จากการเก็บค่าบริการ เงิน
  • 14. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 14 ทักษะความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Skills) Entrepreneur Intrapreneur Start-up Qualified Work- force เป็นหนึ่งในลักษณะที่ พึงประสงค์ของ “บัณฑิต” • มีความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) • สร้างนวัตกรรม (Innovation) • การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ (Adaptability)
  • 15. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 15 กรณีศึกษา: Stanford University และ Silicon Valley • Stanford Industrial Park (Stanford Research Park) เป็นพื้นที่ของมหาวิทยาลัย เปิดให้บริษัทเอกชนเช่าเพื่อดาเนินการด้านการวิจัยและธุรกิจ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1951 • บริษัทเป็นแหล่งจ้างงานของบัณฑิต ในขณะที่มหาวิทยาลัยก็สามารถบริการงานวิจัย ให้แก่บริษัทด้วย ถือเป็นการได้ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย • ตัวอย่างของบริษัทผู้เช่าในช่วงแรก ได้แก่ Hewlett-Packard, Eastman Kodak, General Electric และ Lockheed Corporation • ศิษย์เก่าเลือกจัดตั้งบริษัทใหม่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย เพื่อใช้ประโยชน์จาก มหาวิทยาลัย และบริจาคเงินเพื่อบารุงมหาวิทยาลัยเมื่อบริษัทประสบความสาเร็จ • มหาวิทยาลัยและบริษัทนับเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของ Silicon Valley
  • 16. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 16 บุคลากรขาดทักษะและไม่เพียงพอ • เจ้าหน้าที่บ่มเพาะธุรกิจมีจานวนน้อย • เจ้าหน้าที่บ่มเพาะไม่มีประสบการณ์ ไม่มีทักษะ และไม่มีแนวทางในการ พัฒนางานในสายอาชีพ • อัตราการลาออกสูง (High Turnover Rate) แนวทางการแก้ปัญหา: สร้างความมั่นคงในสายอาชีพ และมีกระบวนการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เหมาะสม (Train-the-Trainer Model) คน
  • 17. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 17 ตัวอย่างโครงการ: Thailand Technology Fellows Program • จัดโดย IMBA Program มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ สวทน. • เป็นการสร้าง “ผู้รู้” (Fellows) เพื่อดูแลและ เป็นพี่เลี้ยงให้แก่ผู้ประกอบการใหม่ โดยใช้ หลักสูตรที่เรียกว่า Metamorphosis Model • มีการจัด Thailand Innovation Boot Camp (ระยะเวลา 3 วันครึ่ง) เพื่อสร้างผู้รู้ และผู้ประกอบการในคราวเดียวกัน (Train- the-Trainer Model)
  • 18. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 18 ผู้ประกอบการไม่พร้อมและไม่มีคุณสมบัติที่เหมาะสม • การคัดเลือกผู้ประกอบการ • ผู้ประกอบการไม่เชื่อ/ไม่ปฏิบัติตามคาแนะนาของเจ้าหน้าที่บ่มเพาะ/ที่ปรึกษา • ลักษณะของผู้ประกอบการในประเทศไทย • จากผลสารวจ Global Entrepreneurship and Development Index (GEDI) ปี ค.ศ. 2015 ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 68 จาก 130 ประเทศทั่วโลก แนวทางการแก้ปัญหา: สาหรับหน่วยบ่มเพาะ – ปรับวิธีการคัดเลือกผู้ประกอบการโดยเน้นรับผู้ประกอบการที่มี ความพร้อมและมีศักยภาพในการเข้ารับการบ่มเพาะ สาหรับนโยบายภาครัฐ – ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีศักยภาพสูงขึ้น ผู้ประกอบ การ
  • 19. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 19 Process Innovation High Growth Internationalization * ข้อมูลและแผนภาพจาก http://thegedi.org/countries/thailand GEDI: 14 Pillar Comparison - Thailand
  • 20. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 20 ตัวอย่างโครงการ: โครงการสนับสนุนการพัฒนาสมรรถภาพในการเลือก และรับเทคโนโลยี (STAMP) • ดาเนินการโดย โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรม ไทย (ITAP) สวทช. • เป็นการนากลุ่มผู้ประกอบการเดินทางไปศึกษาดูงานเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ในต่างประเทศ • ผลประโยชน์ที่ได้รับ • เพิ่มความมุ่งมั่นสู่ความเป็นสากล (Internationalization Aspiration) • เพิ่มความสามารถในการซึมซับเทคโนโลยี (Technology Absorption) • สร้างเครือข่ายของผู้ประกอบการ (Networking)
  • 21. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 21 ตัวอย่างโครงการ: BU Start-up Project • ดาเนินการโดยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ • เป็นหลักสูตรพิเศษที่นานักศึกษาจากต่างคณะมาเรียนรู้ร่วมกัน (ภายใน ระยะเวลา 1-2 ภาคการศึกษา) เพื่อเกิดการบูรณาการองค์ความรู้และ การทางานเป็นทีมเพื่อให้ได้ผลงานนวัตกรรมที่ใช้ได้จริง โดยใช้ แนวความคิด “Creative Convergence” • ผลประโยชน์ที่ได้รับ: • การสร้างลักษณะความเป็นผู้ประกอบการ • การสร้างเครือข่ายของผู้ประกอบการในอนาคต
  • 22. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 22 ระบบนิเวศไม่เอื้ออานวย • มีข้อจากัดในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนประเภทต่าง ๆ (Seed Funding, Angel Investor, Venture Capital, Crowdfunding, Business Loan, Stock Market – Initial Public Offering: IPO) • ที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขามีไม่เพียงพอ • ขาดความสะดวกในการประกอบธุรกิจ (กฏระเบียบและข้อบังคับซับซ้อน) แนวทางการแก้ปัญหา: สาหรับนโยบายภาครัฐ - ออกมาตรการจูงใจนักลงทุนประเภทต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการสร้างบริษัทจัดตั้งใหม่ - บูรณาการฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ/บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบ่มเพาะธุรกิจ (อาจจัดตั้ง หน่วยประสานงาน หรือ หน่วยบ่มเพาะแห่งชาติ National Incubation Center) - ผ่อนปรนหรือปรับกฏระเบียบข้อบังคับสาหรับบริษัทจัดตั้งใหม่ให้เกิดความสะดวกมากขึ้น ระบบ นิเวศ
  • 23. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 23 ตัวอย่างแหล่งเงินทุน Startup ในประเทศไทย: “500 TukTuks” • เป็นกองทุนมูลค่า 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 300 ล้านบาท) • เป็นกองทุนย่อยในเครือ 500 Startups ของสหรัฐอเมริกา • เลือกลงทุนเฉพาะในบริษัทจัดตั้งใหม่ที่ทาธุรกิจด้านอินเทอร์เน็ต (IT, software, e-commerce) ระดับ Seed Stage (รับเงินลงทุนก้อนแรก) • ให้ เงินทุน, ความรู้ด้านการเงิน (จากพี่เลี้ยง/ผู้เชี่ยวชาญ) และโอกาสในการ เชื่อมโยงกับเครือข่าย (Connection) ของ 500 Startups ทั่วโลก • มุ่งหวังให้บริษัทที่ได้รับการลงทุนเติบโตในระดับภูมิภาคเอเซีย และระดับโลก * รูปภาพจาก http://e27.co/500-startups-launches-us10m-micro-fund-to-nurture-thailands-startups-20150429/
  • 24. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 24 ตัวอย่างการอบรมการบ่มเพาะธุรกิจโดยภาคเอกชน: Disrupt University • หลักสูตร Disrupt MBA เป็นการอบรมแบบผสมผสานระหว่างการบรรยายและการ ทดลองปฏิบัติ โดยมีเนื้อหาคล้ายกับรายวิชาของ Stanford MBA ร่วมกับการ นาเสนอประสบการณ์จากบริษัทชั้นนาใน Silicon Valley • หลักสูตรครอบคลุมการหาไอเดียนวัตกรรม, แปลงนวัตกรรมเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ, ออกแบบรูปแบบการดาเนินธุรกิจ, แปลงรูปแบบการดาเนินธุรกิจให้เป็น Startup และ ระดมทุนเพื่อสนับสนุน Startup • ระยะเวลาอบรม 4 วัน ทุก ๆ เสาร์หรืออาทิตย์ สัปดาห์ละ 1 ครั้งเป็นเวลา 4 สัปดาห์ • ค่าเล่าเรียน 35,000 บาท • ผลประโยชน์จากการอบรม: ความรู้ และ เครือข่ายของผู้เรียนร่วมรุ่น * ข้อมูลจาก http://disruptuniversity.com/
  • 25. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 25 ข้อเสนอแนะรูปแบบของหน่วยบ่มเพาะที่เหมาะสมในประเทศไทย รูปแบบ รูปแบบที่ 1 (มหาวิทยาลัย) รูปแบบที่ 2 (หน่วยงานภาครัฐ) รูปแบบที่ 3 (เอกชน) ลักษณะการ ดาเนินงาน ไม่แสวงหาผลกาไร (แต่แสวงหา ผลประโยชน์ในรูปแบบอื่น) ไม่แสวงหาผลกาไร (แต่แสวงหา ผลประโยชน์ในรูปแบบอื่น) เป็นได้ทั้งแบบแสวงหาผลกาไร (หรือผลประโยชน์ในรูปแบบอื่น) และแบบไม่แสวงหาผลกาไร แหล่งที่มาของ งบประมาณและ รายได้ งบประมาณจากภาครัฐ (เช่น สกอ. และ/หรือ หน่วยงานต้น สังกัด) และ/หรือ เงินสนับสนุน จากหน่วยงานพันธมิตร อาจเรียกเก็บค่าบริการบ่มเพาะ และค่าเช่าพื้นที่สานักงาน งบประมาณจากภาครัฐ (หน่วยงานต้นสังกัด) และ/หรือ เงินสนับสนุนจากหน่วยงาน พันธมิตร อาจเรียกเก็บค่าบริการบ่มเพาะ และค่าเช่าพื้นที่สานักงาน งบประมาณจากบริษัทต้นสังกัด (ถ้ามี) เรียกเก็บค่าบริการบ่มเพาะและ ค่าเช่าพื้นที่สานักงาน ลักษณะเด่นที่เป็นไป ได้ในการบ่มเพาะ ธุรกิจ เน้นการบ่มเพาะธุรกิจสาหรับ ผู้ประกอบการในพื้นที่ (Area- based Incubation) หรือ ตาม กลุ่มเทคโนโลยีที่มหาวิทยาลัยมี ความเชี่ยวชาญ เน้นการบ่มเพาะธุรกิจตามกลุ่ม เทคโนโลยีที่หน่วยงานมีความ เชี่ยวชาญ (Cluster-based Incubation) เน้นการบ่มเพาะธุรกิจเพื่อการ ควบรวมกิจการ (Merger and Acquisition) หรือการสร้าง ผลตอบแทนให้แก่นักลงทุน (Return on Investment) หรือ การสร้างธุรกิจใหม่ (Spin-off)
  • 26. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 26 กรณีศึกษา: Shanghai Upper Bio-tech Pharma Co., Ltd. • บริษัท SME ของจีน ผู้ผลิตและจาหน่ายเครื่องมือทดสอบทางการแพทย์ประเภท Point of Care Testing ให้แก่โรงพยาบาลมากกว่า 3,000 แห่งในประเทศจีน (ในปี ค.ศ. 2014 บริษัทมีรายได้มากกว่า 25 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) • บริษัทจัดตั้งศูนย์บ่มเพาะธุรกิจภายในพื้นที่ของบริษัท โดยให้บริการพื้นที่สานักงาน และห้องปฏิบัติการแก่บริษัท Start-up ด้าน Bio-tech ของจีน จานวน 30 แห่ง • บริษัทสามารถร่วมลงทุนในลักษณะ Angel Investment รวมไปถึงการควบรวม กิจการกับบริษัท Start-up ที่มีศักยภาพ (กลยุทธ์ “Outside-In”) * ดูข้อมูลของบริษัทเพิ่มเติมได้จาก http://www.poct.cn/en/default.aspx
  • 27. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 27 ข้อเสนอแนะด้านโครงสร้างพื้นฐานและบุคลากรของหน่วยบ่มเพาะ • โครงสร้างพื้นฐาน • อาคารสานักงาน • พื้นที่สานักงาน (ให้เช่า) สาหรับผู้เข้ารับการบ่มเพาะธุรกิจ • สิ่งอานวยความสะดวกในการดาเนินธุรกิจ • บุคลากร • ผู้จัดการ (และ ผู้ช่วยผู้จัดการ) • เจ้าหน้าที่บ่มเพาะธุรกิจ • เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
  • 28. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 28 ข้อเสนอแนะด้านกิจกรรมของหน่วยบ่มเพาะ • การสร้างความตระหนัก และการประชาสัมพันธ์เชิงรุก • การเตรียมความพร้อมก่อนการบ่มเพาะ • การอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับแผนธุรกิจและการดาเนินธุรกิจเบื้องต้น • กิจกรรมการบ่มเพาะ • การให้บริการพิเศษสาหรับบริษัทที่มีศักยภาพสูง • การเตรียมความพร้อมไปเปิดตลาดต่างประเทศ หรือการเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ • การสร้างเครือข่ายของผู้ประกอบการและนักลงทุน • การจัดสัมมนา/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น/เลี้ยงอาหาร ทั้งอย่างเป็นทางการและอย่างไม่เป็น ทางการ โดยเปิดโอกาสให้มีการสนทนาระหว่างผู้เข้าร่วมงานให้มากที่สุด
  • 29. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 29 ประเด็นข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากการประชุมระดมความคิดเห็น • ประเด็นปัญหาและอุปสรรค • ปัจจัยภายใน: งาน, เงิน, คน (และ ???) • ปัจจัยภายนอก: ผู้ประกอบการ, ระบบนิเวศ (แหล่งเงินทุน, กฏระเบียบ, ฯลฯ) (และ ???) • ประเด็นรูปแบบของหน่วยบ่มเพาะที่เหมาะสมสาหรับประเทศไทย • ภายในมหาวิทยาลัย/ภายนอกมหาวิทยาลัย • รัฐ/เอกชน • ไม่แสวงหาผลกาไร/แสวงหาผลกาไร/แสวงหาผลประโยชน์ในรูปแบบอื่น ๆ • Outside-In/Inside-Out • กิจกรรมที่ควรดาเนินการ • ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
  • 30. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 30 แผนการดาเนินงานของโครงการ • วันอังคารที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2558: จัดประชุมระดมความคิดเห็น (Public Hearing) ณ ห้อง CHYNA ชั้น 12 โรงแรมเซ็นทราเซ็นทรัลสเตชัน กรุงเทพฯ เวลา 8:30 – 13:00 น. • ช่วงสัปดาห์ที่ 3 ของเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558: นาส่งร่างรายงานที่เพิ่มเติมข้อมูล จากการระดมความคิดเห็น และ Action Plan แก่คณะทางาน • ช่วงสัปดาห์ที่ 1 ของเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558: จัดประชุมคณะทางานเพื่อ พิจารณารายงานและ Action Plan (ขอเชิญคณะทางานเข้าร่วมประชุม) • ช่วงสัปดาห์ที่ 2 ของเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558: นาส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ พร้อม Action Plan แก่ สวทน.
  • 31. © NSTDA 2015 www.nstda.or.th 31 ขอบคุณครับ A Driving Force for National Science and Technology Capability ฝ่ายพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตาบลคลองหนึ่ง อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120