SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
62
กรณีตัวอย่าง “ขยะจากเทคโนโลยี”
อันตรายจากซากโทรศัพท์มือถือและแบตเตอรี่
เมื่อทิ้งซากโทรศัพท์มือถือและศากแบตเตอรี่ปะปนไปกับขยะมูลฝอยชุมชน และเวลาผ่านไป
ส่วนเปลือกห่อหุ้มของเครื่องโทรศัพท์และแบตเตอรี่จะเสื่อมสภาพหรือผุกร่อน สารเคมีที่
เสื่อมสภาพภายในจะไหลออกมาสู่สิ่งแวดล้อม สารพิษนี้ก็จะเข้าสู่ระบบนิเวศน์และระบบห่วงโซ่
อาหาร ผ่านทางดิน น้า และอากาศ และก่อให้เกิดอันตรายต่างๆ ได้ดังนี้
ความเป็นพิษของตะกั่ว เป็นส่วนประกอบของการบัดกรีร่วมกับดีบุกในแผงวงจร มีผลทาลาย
ระบบประสาทส่วนกลางและระบบโลหิต การทางานของไตและการสืบพันธ์ มีผลต่อการพัฒนา
สมองของเด็ก นอกจากนี้ ยังสามารถสะสมในบรรยากาศ และเกิดผลแบบเฉียบพลันหรือเรื้อรังกับ
พืช สัตว์และจุลชีพ
ความเป็นพิษของแคดเมียม ซึ่งเป็นส่วนประกอบของแบตเตอรี่บางประเภท สามารถสะสม
ในร่างกาย โดยเฉพาะที่ไต ทาลายระบบประสาท ส่งผลต่อพัฒนาการของเด็กและภาวะการตั้งครรภ์
และยังอาจมีผลต่อพันธุกรรม
ความเป็นพิษของสารทนไฟซึ่งทาจากโบรมีน ซึ่งใช้ในกล่องสายไฟ แผงวงจรและตัวเชื่อมตัว
อาจเป็นพิษและสะสมในสิ่งมีชีวิต ถ้ามีทองแดงร่วมด้วย จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดไดอ๊อกซิน
และฟิวแรนระหว่างการเผา ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งที่ร้ายแรงประเภทหนึ่งส่งผลเสียต่อระบบการย่อย
และน้าเหลือง ทาลายการทางานของตับ มีผลต่อระบบประสาทและภูมิต้านทาน
ความเป็นพิษของเบริลเลียม ใช้ในสปริงและตัวเชื่อม เป็นสารก่อมะเร็ง โดยเฉพาะมะเร็งปอด
ซึ่งเป็นอวัยวะที่ได้รับสาร ผู้ได้รับสารนี้อย่างต่อเนื่องจากการสูดดมจะกลายเป็นโรค Beryllicosis
ซึ่งมีผลกับปอด หากสัมผัสจะทาให้เกิดแผลที่ผิวหนังอย่างรุนแรง ทาให้ระบบการทางานของต่อม
ไทรอยด์ และต่อมไร้ท้อผิดปกติ สะสมในน้านม กระแสเลือดและถ่ายทอดในห่วงโซ่อาหาร
ความเป็นพิษของสารหนู ซึ่งใช้ในแผงวงจร จะมีผลทาลายระบบประสาท ผิวหนัง และระบบ
การย่อยอาหาร หากได้รับในปริมาณมาก อาจทาให้ถึงตายได้
ความเป็นพิษของนิกเกิล ซึ่งเป็นองค์ประกอบของแบตเตอรี่ ฝุ่นนิกเกิลถูกจัดว่าเป็นสาร
ก่อมะเร็งในสัตว์ทดลอง และอาจเป็นสาเหตุให้เกิดมะเร็งปอดในสัตว์ทดลอง และอาจมีผลต่อระบบ
สืบพันธุ์ด้วย นอกจากนี้ ผลเรื้อรังจากการสัมผัสนิกเกิล ได้แก่ การแพ้ของผิวหนัง ซึ่งประกอบด้วย
การมีแผลไหม้คัน เป็นผื่นแดง มีอาการแพ้ของปอด คล้ายการเป็นหอบหืด และแน่นหน้าอก
ความเป็นพิษของลิเทียม ซึ่งเป็นองค์ประกอบของแบตเตอรี่ เป็นอันตรายเมื่อกลืนกิน สูด
ดม หรือถูกดูดซึมผ่านผิวหนัง สารนี้ทาลายเนื้อเยื่อของเยื่อบุเมือกและทางเดินหายใจ รวมทั้งดวงตา
63
และผิวหนังอย่างรุนแรง การสูดดมอาจก่อให้เกิดอาการชัก กล่องเสียงและหลอดลมใหญ่อักเสบ
โรคปอดอักเสบจากสารเคมีและน้าท่วมปอด อาการต่างๆของการได้รับสารอาจประกอบด้วย
ความรู้สึกปวดแสบปวดร้อน ไอ หายใจมีเสียงหวีด การอักเสบที่ตอนบนของหลอดลม หายใจถี่
ปวดศีรษา คลื่นเหียน และอาเจียน
จาก WWW.pcd.go.th
ปรากฏการณ์เรือนกระจก
ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) หรือภาวะที่โลกร้อนขึ้น เป็นภาวะ
ร้อนอบอ้าวของอากาศ อันเนื่องมาจากอุณหภูมิที่สูงขึ้น หรือ เป็นภาวะที่อุณหภูมิของบรรยากาศชั้น
ล่างสูงขึ้น เนื่องจากความร้อนที่แผ่กระจายจากผิวโลกขึ้นไปในบรรยากาศ ถูกก๊าซเรือนกระจกใน
บรรยากาศดูดซับเอาไว้ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญ คือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเธน ก๊าซไน
ตรัสออกไซด์ ซีเอฟซี ก๊าซเหล่านี้มีหน้าที่เหมือนกระจกที่เป็นหลังคาเรือนเพาะชาหรือทาหน้าที่เป็น
หลังคาโลก ห้อหุ้มโลกไว้เมือมีปริมาณมากขึ้นๆ ภาวะร้อนอบอ้าวก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนทาให้โลก
ร้อนขึ้น การศึกษาเรื่องปรากฏการณ์เรือนกระจก เป็นการศึกษาการเพิ่มของอุณหภูมิในรอบ 1 ปี
พบว่าอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะเพิ่มขึ้นประมาณ 2 องศาเซลเซียล ภายในปี พ.ศ. 2643 หรือการ
เพิ่มขึ้นของอุณหภูมิในระดับปานกลางโดยอยู่ในช่วงระหว่าง 1.5 - 3.5 องศาเซลเซียล การเปลี่ยน
อุณหภูมิในระดับภูมิภาคอาจจะแตกต่างไปจากค่าเฉลี่ยของโลกมาก แต่ยังไม่สามารถบ่งชี้ได้อย่าง
แน่นอนว่าแตกต่างอย่างไร การที่อุณหภูมิเพิ่มขึ้นทาให้ระดับน้าทะเลสูงขึ้น โดยคาดหมายว่าจะ
สูงขึ้นประมาณ 15 - 95 เซนติเมตร มีค่าประมาณปานกลางที่ 50 เซนติเมตร และภายในปี พ.ศ. 2643
ระดับน้าทะเลจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ถึงแม้ว่าภูมิอากาศและอุณหภูมิโลก จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงอีกก็ตาม
นอกจากนั้นยังมีผลต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลกและปริมาณน้าฝน คือคาดว่าป่าไม้
บางส่วน (ประมาณ 1 ใน 3 ถึง 1ใน 7 ของโลก) จะมีการเปลี่ยนแปลงของพรรณไม้ที่สาคัญ ประเทศ
ที่กาลังพัฒนาจะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพของภูมิอากาศมากกว่าประเทศที่พัฒนา
แล้ว ทั้งนี้เนื่องมาจากมีข้อกาจัดในการปรับสภาพให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงนี้
ปรากฏการณ์เรือนกระจก ก๊าซเรือนกระจก ก๊าซเรือนกระจก เป็นก๊าซที่สกัดกั้นคลื่น
ความร้อนที่สะท้อนจากผิวโลกขึ้นสู่บรรยากาศ มีก๊าซหลักๆ ประกอบด้วย
1. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นตัวการที่สาคัญที่สุด เกิดจากการเผาไหม้
เชื้อเพลิง ถ่านหิน
2. ก๊าซมีเธน (CH4) เกิดจากธรรมชาติ การบาบัดน้าเสีย การย่อยสลายโดยไม่ใช้
64
ออกซิเจน
3. ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N20) เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
4. คลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbon- CFCs) เกิดจากการสังเคราะห์ใช้ใน
อุตสาหกรรม
เรือนกระจกที่ประเทศไทยในเขตอบอุ่นหรือเขตหนาวนิยมใช้เพื่อการควบคุมอุณหภูมิ
ในการปลูกต้นไม้โดยหลักการก็คือ แสงอาทิตย์ที่ตกลงมาถึงพื้นโลกซึ่งส่วนใหญ่เป็นแสงที่
มองเห็น (Visible light) ที่ความยาวคลื่น 400 - 700 นาโนเมตร จะสามารถส่องผ่านหลังคาเรือน
กระจกซึ่งทาด้วยสารโปร่งแสง เช่น กระจก หรือพลาสติกใส เมื่อแสงดังกล่าวตกกระทบกับพื้นผิว
ก็จะกลายเป็นแสงคลื่นยาว หรือคลื่นความร้อน วัสดุโปร่งแสง เช่น กระจก และพลาสติกใส
ดังกล่าวมีคุณสมบัติที่ยอมให้แสงที่มองเห็นผ่านได้ แต่ไม่ยอมให้ความร้อนผ่านออกไปได้โดยง่าย
ทาให้อากาศภายในเรือนกระจกอุ่นกว่าภายนอก ก๊าซเรือนกระจกก็ทาหน้าที่เช่นเดียวกับหลังคา
กระจกหรือพลาสติกใส ทาให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นปรากฏการณ์เรือนกระจกอนุสัญญาว่าด้วย
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีการลงนามเมื่อเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2535 ณ กรุงริโอ เดอจาเน
โร ประเทศบราซิล โดยมีวัตถุประสงค์ในการลดปริมาณการสะสมของก๊าซเรือนกระจก ให้อยู่ใน
ระดับที่ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และระบบภูมิอากาศโลก ก๊าซที่อยู่ในข้อตกลง (กาหนดให้
ภายในปี 2543 มีใการปล่อยเท่ากับในปี 2533) ประกอบด้วย CO2 CH4 N2O NO2 CO และ สาร
ระเหยอินทรีย์ไม่รวมมีเธน
ประเทศไทยเข้าร่วมในอนุสัญญาดังกล่าวเมื่อ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2538
เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาปรากฏการณ์เรือนกระจก
เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาปรากฏการณ์เรือนกระจกทาได้โดย
1. การอนุรักษ์พลังงาน ซึ่งในส่วนของภาคพลังงาน มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาก
เป็นอันดับ 1
2. การใช้แหล่งพลังงานในรูปแบบที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้เช่น พลังงานน้า
พลังงานแสงอาทิตย์พลังงานลม เป็นต้น
3. พัฒนาพลังงานนิวงเคลียร์
4. กาหนดกฎหมาย ควบคุม การปล่อยก๊าซ.เรือนกระจก และนาปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
5. ใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ เช่น การลดภาษีอุปกรณ์ในการลดก๊าซเรือนกระจก
จาก http://cs,udru.ac.th
65

More Related Content

Viewers also liked

3000 1101ข้อสอบการเขียนรายงานใหม่
3000 1101ข้อสอบการเขียนรายงานใหม่3000 1101ข้อสอบการเขียนรายงานใหม่
3000 1101ข้อสอบการเขียนรายงานใหม่peter dontoom
 
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1peter dontoom
 
ศิลปะคืออะไรเว็บ
ศิลปะคืออะไรเว็บศิลปะคืออะไรเว็บ
ศิลปะคืออะไรเว็บpeter dontoom
 
ชุดที่21
ชุดที่21ชุดที่21
ชุดที่21peter dontoom
 
บทคัดย่อสารบัญ
บทคัดย่อสารบัญบทคัดย่อสารบัญ
บทคัดย่อสารบัญpeter dontoom
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อpeter dontoom
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน (พต21001)กศน.
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน (พต21001)กศน.ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน (พต21001)กศน.
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน (พต21001)กศน.peter dontoom
 
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001peter dontoom
 
บ้านเรือนไทย 4 ภาค
บ้านเรือนไทย 4 ภาคบ้านเรือนไทย 4 ภาค
บ้านเรือนไทย 4 ภาคpeter dontoom
 
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.comแบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.competer dontoom
 

Viewers also liked (10)

3000 1101ข้อสอบการเขียนรายงานใหม่
3000 1101ข้อสอบการเขียนรายงานใหม่3000 1101ข้อสอบการเขียนรายงานใหม่
3000 1101ข้อสอบการเขียนรายงานใหม่
 
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
 
ศิลปะคืออะไรเว็บ
ศิลปะคืออะไรเว็บศิลปะคืออะไรเว็บ
ศิลปะคืออะไรเว็บ
 
ชุดที่21
ชุดที่21ชุดที่21
ชุดที่21
 
บทคัดย่อสารบัญ
บทคัดย่อสารบัญบทคัดย่อสารบัญ
บทคัดย่อสารบัญ
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน (พต21001)กศน.
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน (พต21001)กศน.ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน (พต21001)กศน.
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน (พต21001)กศน.
 
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
 
บ้านเรือนไทย 4 ภาค
บ้านเรือนไทย 4 ภาคบ้านเรือนไทย 4 ภาค
บ้านเรือนไทย 4 ภาค
 
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.comแบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com
แบบอาลักษณ์ - Peterfineart.com
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

เฉลยXxx

  • 1. 62 กรณีตัวอย่าง “ขยะจากเทคโนโลยี” อันตรายจากซากโทรศัพท์มือถือและแบตเตอรี่ เมื่อทิ้งซากโทรศัพท์มือถือและศากแบตเตอรี่ปะปนไปกับขยะมูลฝอยชุมชน และเวลาผ่านไป ส่วนเปลือกห่อหุ้มของเครื่องโทรศัพท์และแบตเตอรี่จะเสื่อมสภาพหรือผุกร่อน สารเคมีที่ เสื่อมสภาพภายในจะไหลออกมาสู่สิ่งแวดล้อม สารพิษนี้ก็จะเข้าสู่ระบบนิเวศน์และระบบห่วงโซ่ อาหาร ผ่านทางดิน น้า และอากาศ และก่อให้เกิดอันตรายต่างๆ ได้ดังนี้ ความเป็นพิษของตะกั่ว เป็นส่วนประกอบของการบัดกรีร่วมกับดีบุกในแผงวงจร มีผลทาลาย ระบบประสาทส่วนกลางและระบบโลหิต การทางานของไตและการสืบพันธ์ มีผลต่อการพัฒนา สมองของเด็ก นอกจากนี้ ยังสามารถสะสมในบรรยากาศ และเกิดผลแบบเฉียบพลันหรือเรื้อรังกับ พืช สัตว์และจุลชีพ ความเป็นพิษของแคดเมียม ซึ่งเป็นส่วนประกอบของแบตเตอรี่บางประเภท สามารถสะสม ในร่างกาย โดยเฉพาะที่ไต ทาลายระบบประสาท ส่งผลต่อพัฒนาการของเด็กและภาวะการตั้งครรภ์ และยังอาจมีผลต่อพันธุกรรม ความเป็นพิษของสารทนไฟซึ่งทาจากโบรมีน ซึ่งใช้ในกล่องสายไฟ แผงวงจรและตัวเชื่อมตัว อาจเป็นพิษและสะสมในสิ่งมีชีวิต ถ้ามีทองแดงร่วมด้วย จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดไดอ๊อกซิน และฟิวแรนระหว่างการเผา ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งที่ร้ายแรงประเภทหนึ่งส่งผลเสียต่อระบบการย่อย และน้าเหลือง ทาลายการทางานของตับ มีผลต่อระบบประสาทและภูมิต้านทาน ความเป็นพิษของเบริลเลียม ใช้ในสปริงและตัวเชื่อม เป็นสารก่อมะเร็ง โดยเฉพาะมะเร็งปอด ซึ่งเป็นอวัยวะที่ได้รับสาร ผู้ได้รับสารนี้อย่างต่อเนื่องจากการสูดดมจะกลายเป็นโรค Beryllicosis ซึ่งมีผลกับปอด หากสัมผัสจะทาให้เกิดแผลที่ผิวหนังอย่างรุนแรง ทาให้ระบบการทางานของต่อม ไทรอยด์ และต่อมไร้ท้อผิดปกติ สะสมในน้านม กระแสเลือดและถ่ายทอดในห่วงโซ่อาหาร ความเป็นพิษของสารหนู ซึ่งใช้ในแผงวงจร จะมีผลทาลายระบบประสาท ผิวหนัง และระบบ การย่อยอาหาร หากได้รับในปริมาณมาก อาจทาให้ถึงตายได้ ความเป็นพิษของนิกเกิล ซึ่งเป็นองค์ประกอบของแบตเตอรี่ ฝุ่นนิกเกิลถูกจัดว่าเป็นสาร ก่อมะเร็งในสัตว์ทดลอง และอาจเป็นสาเหตุให้เกิดมะเร็งปอดในสัตว์ทดลอง และอาจมีผลต่อระบบ สืบพันธุ์ด้วย นอกจากนี้ ผลเรื้อรังจากการสัมผัสนิกเกิล ได้แก่ การแพ้ของผิวหนัง ซึ่งประกอบด้วย การมีแผลไหม้คัน เป็นผื่นแดง มีอาการแพ้ของปอด คล้ายการเป็นหอบหืด และแน่นหน้าอก ความเป็นพิษของลิเทียม ซึ่งเป็นองค์ประกอบของแบตเตอรี่ เป็นอันตรายเมื่อกลืนกิน สูด ดม หรือถูกดูดซึมผ่านผิวหนัง สารนี้ทาลายเนื้อเยื่อของเยื่อบุเมือกและทางเดินหายใจ รวมทั้งดวงตา
  • 2. 63 และผิวหนังอย่างรุนแรง การสูดดมอาจก่อให้เกิดอาการชัก กล่องเสียงและหลอดลมใหญ่อักเสบ โรคปอดอักเสบจากสารเคมีและน้าท่วมปอด อาการต่างๆของการได้รับสารอาจประกอบด้วย ความรู้สึกปวดแสบปวดร้อน ไอ หายใจมีเสียงหวีด การอักเสบที่ตอนบนของหลอดลม หายใจถี่ ปวดศีรษา คลื่นเหียน และอาเจียน จาก WWW.pcd.go.th ปรากฏการณ์เรือนกระจก ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) หรือภาวะที่โลกร้อนขึ้น เป็นภาวะ ร้อนอบอ้าวของอากาศ อันเนื่องมาจากอุณหภูมิที่สูงขึ้น หรือ เป็นภาวะที่อุณหภูมิของบรรยากาศชั้น ล่างสูงขึ้น เนื่องจากความร้อนที่แผ่กระจายจากผิวโลกขึ้นไปในบรรยากาศ ถูกก๊าซเรือนกระจกใน บรรยากาศดูดซับเอาไว้ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญ คือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเธน ก๊าซไน ตรัสออกไซด์ ซีเอฟซี ก๊าซเหล่านี้มีหน้าที่เหมือนกระจกที่เป็นหลังคาเรือนเพาะชาหรือทาหน้าที่เป็น หลังคาโลก ห้อหุ้มโลกไว้เมือมีปริมาณมากขึ้นๆ ภาวะร้อนอบอ้าวก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนทาให้โลก ร้อนขึ้น การศึกษาเรื่องปรากฏการณ์เรือนกระจก เป็นการศึกษาการเพิ่มของอุณหภูมิในรอบ 1 ปี พบว่าอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะเพิ่มขึ้นประมาณ 2 องศาเซลเซียล ภายในปี พ.ศ. 2643 หรือการ เพิ่มขึ้นของอุณหภูมิในระดับปานกลางโดยอยู่ในช่วงระหว่าง 1.5 - 3.5 องศาเซลเซียล การเปลี่ยน อุณหภูมิในระดับภูมิภาคอาจจะแตกต่างไปจากค่าเฉลี่ยของโลกมาก แต่ยังไม่สามารถบ่งชี้ได้อย่าง แน่นอนว่าแตกต่างอย่างไร การที่อุณหภูมิเพิ่มขึ้นทาให้ระดับน้าทะเลสูงขึ้น โดยคาดหมายว่าจะ สูงขึ้นประมาณ 15 - 95 เซนติเมตร มีค่าประมาณปานกลางที่ 50 เซนติเมตร และภายในปี พ.ศ. 2643 ระดับน้าทะเลจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ถึงแม้ว่าภูมิอากาศและอุณหภูมิโลก จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงอีกก็ตาม นอกจากนั้นยังมีผลต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลกและปริมาณน้าฝน คือคาดว่าป่าไม้ บางส่วน (ประมาณ 1 ใน 3 ถึง 1ใน 7 ของโลก) จะมีการเปลี่ยนแปลงของพรรณไม้ที่สาคัญ ประเทศ ที่กาลังพัฒนาจะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพของภูมิอากาศมากกว่าประเทศที่พัฒนา แล้ว ทั้งนี้เนื่องมาจากมีข้อกาจัดในการปรับสภาพให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงนี้ ปรากฏการณ์เรือนกระจก ก๊าซเรือนกระจก ก๊าซเรือนกระจก เป็นก๊าซที่สกัดกั้นคลื่น ความร้อนที่สะท้อนจากผิวโลกขึ้นสู่บรรยากาศ มีก๊าซหลักๆ ประกอบด้วย 1. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นตัวการที่สาคัญที่สุด เกิดจากการเผาไหม้ เชื้อเพลิง ถ่านหิน 2. ก๊าซมีเธน (CH4) เกิดจากธรรมชาติ การบาบัดน้าเสีย การย่อยสลายโดยไม่ใช้
  • 3. 64 ออกซิเจน 3. ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N20) เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 4. คลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbon- CFCs) เกิดจากการสังเคราะห์ใช้ใน อุตสาหกรรม เรือนกระจกที่ประเทศไทยในเขตอบอุ่นหรือเขตหนาวนิยมใช้เพื่อการควบคุมอุณหภูมิ ในการปลูกต้นไม้โดยหลักการก็คือ แสงอาทิตย์ที่ตกลงมาถึงพื้นโลกซึ่งส่วนใหญ่เป็นแสงที่ มองเห็น (Visible light) ที่ความยาวคลื่น 400 - 700 นาโนเมตร จะสามารถส่องผ่านหลังคาเรือน กระจกซึ่งทาด้วยสารโปร่งแสง เช่น กระจก หรือพลาสติกใส เมื่อแสงดังกล่าวตกกระทบกับพื้นผิว ก็จะกลายเป็นแสงคลื่นยาว หรือคลื่นความร้อน วัสดุโปร่งแสง เช่น กระจก และพลาสติกใส ดังกล่าวมีคุณสมบัติที่ยอมให้แสงที่มองเห็นผ่านได้ แต่ไม่ยอมให้ความร้อนผ่านออกไปได้โดยง่าย ทาให้อากาศภายในเรือนกระจกอุ่นกว่าภายนอก ก๊าซเรือนกระจกก็ทาหน้าที่เช่นเดียวกับหลังคา กระจกหรือพลาสติกใส ทาให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นปรากฏการณ์เรือนกระจกอนุสัญญาว่าด้วย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีการลงนามเมื่อเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2535 ณ กรุงริโอ เดอจาเน โร ประเทศบราซิล โดยมีวัตถุประสงค์ในการลดปริมาณการสะสมของก๊าซเรือนกระจก ให้อยู่ใน ระดับที่ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และระบบภูมิอากาศโลก ก๊าซที่อยู่ในข้อตกลง (กาหนดให้ ภายในปี 2543 มีใการปล่อยเท่ากับในปี 2533) ประกอบด้วย CO2 CH4 N2O NO2 CO และ สาร ระเหยอินทรีย์ไม่รวมมีเธน ประเทศไทยเข้าร่วมในอนุสัญญาดังกล่าวเมื่อ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2538 เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาปรากฏการณ์เรือนกระจก เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาปรากฏการณ์เรือนกระจกทาได้โดย 1. การอนุรักษ์พลังงาน ซึ่งในส่วนของภาคพลังงาน มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาก เป็นอันดับ 1 2. การใช้แหล่งพลังงานในรูปแบบที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้เช่น พลังงานน้า พลังงานแสงอาทิตย์พลังงานลม เป็นต้น 3. พัฒนาพลังงานนิวงเคลียร์ 4. กาหนดกฎหมาย ควบคุม การปล่อยก๊าซ.เรือนกระจก และนาปฏิบัติอย่างเคร่งครัด 5. ใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ เช่น การลดภาษีอุปกรณ์ในการลดก๊าซเรือนกระจก จาก http://cs,udru.ac.th
  • 4. 65