SlideShare a Scribd company logo
องค์ประกอบของระบบ
คอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์ (hardware)
ความหมายของฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่อง
คอมพิวเตอร์ รวมอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
คอมพิวเตอร์ที่เราสามารถมองเห็นและสัมผัสได้ เช่น
ตัวเครื่อง จอภาพ คีย์บอร์ด และเมาส์ เป็นต้น
จาแนกตามหน้าที่ของฮาร์ดแวร์สามารถแบ่งเป็น
ส่วนสาคัญ 5 ส่วน คือ
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่รับ
โปรแกรมคาสั่ง และข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing
Unit - CPU) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการคานวณทั้งทาง
ตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมทั้งการประมวลข้อมูลตาม
คาสั่งที่ได้รับ
3. หน่วยความจา (Memory Unit) ทา
หน้าที่เก็บข้อมูลหรือคาสั่งที่ส่งมาจากหน่วย
รับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยัง
หน่วยประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่
ได้มาจากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียม
ส่งไปยังหน่วยแสดงผล
4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทา
หน้าที่แสดงผลข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทาการ
ประมวลผล หรือผ่านการคานวณแล้ว
5. อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ (Peripheral
Equipment) เป็นอุปกรณ์ที่นามาต่อพ่วงเข้า
กับคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพใน
การทางานให้มากยิ่งขึ้น เช่น โมเด็ม
แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นต้น
ซอฟต์แวร์(software)
คามหมายของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่ง ที่จะสั่งและควบคุมให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ทางาน เรา
ไม่สามารถจับต้อง ซอฟต์แวร์ ได้โดยตรงเหมือนกับตัวฮาร์ดแวร์ เพราะซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมนี้จะถูก
จัดเก็บอยู่ในสื่อ ที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล เช่น แผ่นดิสก์ ซอฟต์แวร์ ที่มักติดตั้งไว้ในฮาร์ดดิสก์เพื่อทางานทัน
ที่ที่เปิดเครื่องคือ ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ สรุปแล้ว ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมชุดคาสั่งไว้ควบคมคอมฯให้
ทางาน
ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ (System Software)
คือชุดคาสั่งที่เป็นระบบปฏิบัติการต่างๆที่ทางาน
ควบคู่กับระบบต่างๆภายในคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ต่างๆ หรือจะกล่าวง่ายๆนั่นก็คือ Windows Mac
หรือแม้แต่ Linux และนอกจากนี้ยังรวมถึงโปรแกรมที่
เขียนในภาษาคอมพิวเตอร์อย่าง C C# Java Pascal
พวกนี้เองก็เป็นหนึ่งในการช่วยให้ ซอฟต์แวร์นั้นมี
ระบบที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
โปรแกรมที่ถูกออกแบบ ถูกทามาให้กับ
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆให้สามารถสั่งงาน
เพื่อตอบสนองรูปแบบการทางานอย่าง เครื่องคิด
เลข โปรแกรมแต่งรูป หรือแม้แต่ โปรแกรมแชท
ต่างๆ เองก็เป็นโปรแกรมพื้นฐานที่ทุกเครื่องต้องมี
นอกจากนี้ยังรวมถึง ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะ
ด้าน คือ โปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่องานนั้นๆ เช่น
โปรแกรมบริหารต่างๆ โปรแกรมออกแบบบ้าน
หรือ โปรแกรมPOS เป็นต้น
บุคลากรคอมพิวเตอร์(peopleware)
ความหมายของบุคลากรคอมพิวเตอร์
หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน
สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการ
แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้
1. ผู้จัดการระบบ (System Manager)
คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไป
ตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และ
ทาการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการ
ใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์
เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อให้ทางานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียน
ตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้
4. ผู้ใช้ (User)
คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้
วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้
โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทางานได้ตามที่ต้องการ
กลุ่มผู้ใช้งานทั่วไป
1.ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User/End user)
ผู้ใช้งานระดับต่าสุด ไม่จาเป็นต้องมีี
ความเชี่ยวชาญมาสามารถใช้งานได้ โดยศึกษา
จากคู่มือการปฎิบัติงานหรือรับการอบรมเพิ่มเติม
2.พนักงานปฎิบัติการเครื่องคอมพิวเตอร์
(Computer operator)
2.1ดูแลควบคุมการปิดเครื่อง
2.2นาโปรแกรมมาบรรจุเข้าเครื่องเพื่อให้เริ่ม
ทางาน
3.พนักงานบันทึกข้อมูล (Data Entry Operator)
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
1.นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
2.นักเขียนโปรแกรม (Programmer)
3.วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineer)
4.ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก (Network Administration)
5.ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ (Computer Technician)
กลุ่มผู้บริหาร
1.ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
(CIO-Chief Information Officer)
2.หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Center
Manager/Information Manager)
3.ผู้จัดการฐานข้อมูล (Database Administrator)
ข้อมูลและสารสนเทศ
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วใช้ตัวเลขตัวอักษร หรือสัญลักษณ์
ต่างๆ ทาความหมายแทนสิ่งเหล่านั้น
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อสรุปต่างๆ ที่ได้จากการนาข้อมูลมาทาการวิเคราะห์ หรือผ่าน
วิธีการที่ ได้กาหนดขึ้น ทั้งนี้เพื่อนาข้อสรุปไปใช้งานหรืออ้างอิง
ข้อมูลและสารสนเทศ หมายถึง การทางานของคอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องตั้งแต่การนาข้อมูลเข้า
(data) จนกลายเป็นข้อมูลที่สามารถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือที่เรียกว่าสารสนเทศ (information) ข้อมูลเหล่านี้
อาจเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และข้อมูลในรูปแบบอื่นๆเช่น ภาพ เสียง เป็นต้น
กระบวนการแปลงข้อมูล
ข้อมูลที่จะนามาใช้กับคอมพิวเตอร์ ต้องแปลงรูปแบบหรือสถานะให้คอมพิวเตอร์เข้าใจเสียก่อน
สถานะหรือรูปแบบนี้เราเรียกว่า สถานะแบบดิจิตอล
สถานะแบบดิจิตอล กระบวนการแปลงข้อมูลมีเพียง 2 สถานะเท่านั้นคือ เปิด (1) และ ปิด (0)
เหมือนกับหลักการทางานของไฟฟ้า อาศัยการประมวลผลโดยใช้ ระบบเลขฐานสอง หรือที่เรียกว่า binary
system เป็นหลัก ซึ่งประกอบด้วยตัวเลขเพียง 2 ตัวเท่านั้น คือ 0 กับ 1
ตัวเลข 0 กับ 1 เราเรียกว่าเป็นตัวเลขฐานสองหรือไบนารีดิจิต(binary digit) มักเรียกย่อๆว่า บิต
(bit) นั่นเอง เมื่อบิตหลายตัวรวมกันจานวนหนึ่ง (ขึ้นอยู่กับรหัสการจัดเก็บ) เช่น 8 บิต เราจะเรียกหน่วย
จัดเก็บข้อมูลนี้ใหม่ว่าเป็น ไบต์ (byte) ซึ่งสามารถใช้แทน ตัวอักษร ตัวเลข อักขระพิเศษที่เราต้องการป้อน
ข้อมูลเข้าไปในเครื่องแต่ละตัวได้ กลุ่มตัวเลขฐานสองต่างๆที่นาเอามาใช้นี้ จะมีองค์กรกาหนดมาตรฐานให้
ใช้บนระบบคอมพิวเตอร์อยู่หลายมาตรฐานมาก ที่รู้จักดีและเป็นนิยมแพร่หลายคือมาตรฐานของสถาบัน
มาตรฐานแห่งสหรัฐอเมริกา ที่เรียกว่า รหัสแอสกี (ASCII : American Standard Code for Information
Interchange
หน่วยวัดความจุข้อมูล
1.บิต (bit) เป็นหน่วยที่มีขนาดเล็กที่สุด
โดยจะถูกด้วยเลขฐานสองคือ 0 กับ 1
2.ไบต์ (byte) โดย 1 ไบต์เท่ากับ 8 บิต
จะใช้เเทนตัวอักษรใดๆ เช่น พยัญชนะ ตัวเลข
เป็นต้น
3.กิโลไบต์ (kilobyte) มีค่าเท่ากับ 1,024
ไบต์ เทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1,000 ตัว
หรือประมาณ 1 หน้ากระดาษ
4.เมกะไบต์ (Megabyte) มีค่าเท่ากับ
1,000 กิโลไบต์ หรือเทียบเท่า 1 ล้านไบต์ หรือ
ประมาณหนังสือ 1 เล่ม
5.กิกะไบต์ (Gigabyte) บอกความจุ
ข้อมูลของฮาร์ดดิสก์ USB DVD เป็นต้น โดยมี
ค่าประมาณ 1,000 เมกกะไบต์หรือเทียบเท่ากับ
ตัวอักษรประมาณ 1 พันล้านตัวหรือหนังสือที่
บรรจุอยู่ในตู้หนังสือ 1 ตู้
6.เทอราไบต์ (Terabyte) เป็นหน่วยวัดที่มี
ขนาดใหญ่มาก ปัจจุบบันมีเพียงอุปกรณ์จาพวก
ฮาร์ดดิสก์บางรุ่นเท่านั้น โดยมีค่าประมาณ 1,000
กิกะไบต์ หรือเทียบเท่าตัวอักษร 1 ล้านล้านตัว
หรือ หนังสือทั้งหมดที่ถูกบรรจุอยู่ในห้องสมุด 1
ห้อง
7.เพตาไบต์ (Petabyte) เป็นหน่วยความจุ
ที่ใหญ่ที่สุด ไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน
การนาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์
ยุคแรกใช้บัตรเจาะรูเพื่อควบคุมลายทอผ้านาบัตรแบบใหม่มาประยุกต์ใช้มากขึ้น เช่น IBM 80
Column พัฒนามาใช้สื่อแบบใหม่มากขึ้นจนถึงปัจจุบัน การนาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์
แบ่งได้เป็น 2 วิธีด้วยกันคือ
1.ผ่านอุปกรณ์นาเข้า (input device)
- เป็นวิธีที่ง่ายและสะดวกที่สุด
- นาข้อมูลเข้าไปยังคอมพิวเตอร์โดยตรง
- ผ่านอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลหลายชนิด ขึ้นอยู่กับ
รูปแบบของข้อมูล เช่น
คีย์บอร์ด (keyboard) สาหรับข้อมูล
ประเภทตัวอักษร หรืออักขระพิเศษ
สแกนเนอร์ (scanner) สาหรับข้อมูล
ประเภทภาพ
ไมโครโฟน (microphone) สาหรับ
ข้อมูลประเภทเสียง ฯลฯ
2. ผ่านสื่อเก็บบันทึกข้อมูลสารอง (secondary
storage)
ดึงเอาข้อมูลที่ได้บันทึกหรือเก็บข้อมูลไว้
ก่อนแล้วโดยใช้ สื่อเก็บบันทึกข้อมูลสารอง เช่น
ฮาร์ดดิสก์ ดิสเก็ตต์ หรือซีดี เครื่องคอมพิวเตอร์จะ
อ่านข้อมูลเหล่านี้โดยอาศัยเครื่องอ่านสื่อ
โดยเฉพาะ เช่น ฟล็อปปี้ไดรว์ ซีดีรอมไดรว์
บัตรเจาะรูจัดอยู่ในกลุ่มการนาเข้าข้อมูลวิธีนี้
เช่นกัน (ปัจจุบันไม่พบเห็นการใช้งานแล้ว)
กิจกรรมและความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
ทาหน้าที่ในการรับข้อมูลหรือคาสั่งจาก
ภายนอกเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจาเพื่อเตรียม
ประมวลผล
- Mouse
- Disk Drive
- Hard Drive
- CD-Rom
- Magnetic Tape
- Card Reader
- Scanner
1.ขั้นป้อนข้อมูลเข้า (User Input)
2.ขั้นร้องขอบริการ (Service requests)
3.ขั้นสั่งการฮาร์ดแวร์ (Hardware Instructions)
4.ขั้นประมวลผลลัพธ์ (Processing results)
5.ขั้นตอบสนองบริการ (Service responses)
6.ขั้นแสดงผลลัพธ์ (Program Output)
2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)
ทาหน้าที่ในการคานวณและประมวลผล
แบ่งออกเป็น 2 หน่วยย่อย คือ
- หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ในการดูแล
ควบคุมลาดับขั้นตอนของการประมวลผล
และการทางาน ของอุปกรณ์ต่างๆ ภายใน
หน่วยประมวลผลกลาง และช่วยประสานงาน
ระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง กับ อุปกรณ์
นาเข้าข้อมูล อุปกรณ์ในการแสดงผล และ
หน่วยความจาสารอง
- หน่วยคานวณและตรรก ทาหน้าที่ใน
การคานวณและเปรียบเทียบข้อมูลต่างๆ ที่ส่ง
มาจากหน่วยควบคุม และหน่วยความจา
3. หน่วยความจา (Memory)
ทาหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือคาสั่งต่างๆ
ที่รับจากภายนอกเข้ามาเก็บไว้ เพื่อประมวลผล
และยังเก็บผลที่ได้จากการประมวลผลไว้เพื่อ
แสดงผลอีกด้วย
- หน่วยความจา เป็นหน่วยความจาที่มี
อยู่ ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่ในการเก็บ
คาสั่งหรือข้อมูล แบ่งออกเป็น
- ROM หน่วยความจาแบบถาวร
- RAM หน่วยความจาแบบชั่วคราว
- หน่วยความจาสารอง เป็นหน่วยความจาที่อยู่
นอกเครื่อง มีหน้าที่ช่วยให้หน่วยความจาหลัก
สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น
4. หน่วยแสดงผล (Output Unit)
ทาหน้าที่ในการแสดงผลลัทธ์ที่ได้
หลังจากการคานวณและประมวลผล สาหรับ
อุปกรณ์ที่ ทาหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูลที่ได้นั้น
ได้แก่ จอภาพ และเครื่องพิมพ์
หน่วยประมวลผลกลาง
ส่วนประกอบที่สาคัญภายในของซีพียู แบ่งออกได้ดังนี้
1.หน่วยควบคุม (Control Unit)
ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของทุกๆหน่วย
ในซีพียูรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงเริ่มตั้งแต่การแปล
คาสั่งที่ป้อนเข้าไป โดยการไปดึงคาสั่งและข้อมูล
จากหน่วยความจามาแล้วแปลความหมายของ
คาสั่งจากนั้นส่งความหมายที่ได้ไปให้หน่วยคานวณ
และตรรกะเพื่อคานวณและตัดสินใจว่าจะให้เก็บ
ข้อมูลไว้ที่ใด
2.หน่วยคานวณและตรรกะ (ALU :
Arithmetic and Logic Unit)
ทาหน้าที่ในการคานวณทางคณิตศาสตร์
(arithmetic) เช่น การคูณ ลบ บวก หาร
เปรียบเทียบข้อมูลทางตรรกศาสตร์ (logical) ว่าเป็น
จริงหรือเท็จ อาศัยตัวปฏิบัติการเปรียบเทียบ
พื้นฐาน 3 ค่า คือ มากกว่า น้อยกว่าและเท่ากับ
3. รีจิสเตอร์ (Register)
พื้นที่สาหรับเก็บพักข้อมูลชุดคาสั่ง ผลลัพธ์
และข้อมูลที่เกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผล
เพียงชั่วคราวไม่ถือว่าเป็นหน่วยความจา รับส่ง
ข้อมูลด้วยความเร็วสูง และทางานภายใต้การ
ควบคุมของหน่วยควบคุมเช่นเดียวกับหน่วย
อื่นๆ รีจิสเตอร์ที่สาคัญโดยทั่วไป (อาจแตกต่าง
กันออกไปตามรุ่นของซีพียู) มีดังนี้
1.Accumulate Register ใช้เก็บผลลัพธ์ที่
ได้จากการคานวณ
2.Storage Register เก็บข้อมูลและคาสั่ง
ชั่วคราวที่ผ่านจากหน่วยความจาหลัก หรือรอ
ส่งกลับไปที่หน่วยความจาหลัก
3.Instruction Register ใช้เก็บคาสั่งในการ
ประมวลผล
หน่วยความจาหลัก
ทาหน้าที่เก็บข้อมูลและคาสั่งตลอดจนผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของซีพียูเพียงชั่วคราว
เช่นเดียวกัน ปกติจะมีตาแหน่งของการเก็บข้อมูลที่ไม่ซ้ากันที่เรียกว่า “แอดเดรส” (address) ต่างจาก
รีจิสเตอร์ตรงที่เป็นการเก็บมูลและคาสั่งเพื่อที่จะ เรียกใช้ได้ในอนาคตอันใกล้
แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1.รอม (ROM : Read Only Memory)
- หน่วยความจาที่อ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถ
เขียนหรือบันทึกเพิ่มเติมได้
- ใช้เก็บคาสั่งที่ใช้บ่อยและเป็นคาสั่งเฉพาะ
- ข้อมูลใน ROM จะอยู่กับเครื่องอย่างถาวร
ถึงแม้ไฟจะดับหรือปิดเครื่องไปก็ไม่สามารถทา
ให้ข้อมูลหรือคาสั่งในการทางานต่างๆหายไปได้
- นิยมเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า nonvolatile
memory
- มีหลายชนิดเช่น PROM, EPROM, EEPROM
เป็นต้น
2.2 แรม (RAM : Random Access Memory)
- หน่วยความจาที่จดจาข้อมูลคาสั่งในระหว่างที่
ระบบกาลังทางานอยู่
- สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ตลอดเวลา
- หากไฟดับหรือมีการปิดเครื่องข้อมูลใน
หน่วยความจานี้จะถูกลบเลือนหายไปหมด
- นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า volatile memory
- มีหลายชนิดเช่น SDRAM, DDR SDRAM,
RDRAM
หน่วยความจาสารอง
ใช้สาหรับเก็บและบันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ เพื่อเรียกข้อมูลนั้นใช้ในภายหลังได้ (เก็บไว้
ใช้ได้ในอนาคต) มีหลายชนิดมาก เช่นฮาร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ดิสก์ Flash Drive CD ฯลฯ
หน่วยรับและแสดงผลข้อมูล
คอมพิวเตอร์ทั่วไปจะมีหน่วยรับข้อมูลและคาสั่งเข้าสู่ระบบ แปลงข้อมูลผ่านอุปกรณ์นาข้อมูล
เข้า เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ สแกนเนอร์ เป็นต้น ส่งต่อข้อมูลที่ป้อนเข้าให้กับส่วนของหน่วยประมวลผล
กลาง เพื่อทาหน้าที่ตามคาสั่งที่ได้รับมา หากขาดส่วนรับข้อมูลและคาสั่ง มนุษย์จะไม่สามารถติดต่อ
สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้
หน่วยแสดงผลลัพธ์
แสดงผลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (เรียกว่า soft copy) เช่น จอภาพคอมพิวเตอร์ หรืออยู่ใน
รูปแบบของ hard copy เช่น พิมพ์ออกมาเป็น กระดาษออกทางเครื่องพิมพ์ อาจอาศัยอุปกรณ์อื่นๆ
เช่น ลาโพง สาหรับการแสดงผลที่เป็นเสียงได้
ทางเดินของระบบ
เส้นทางผ่านของสัญญาณเพื่อให้อุปกรณ์ระหว่างหน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจาใน
ระบบสามารถเชื่อมต่อกันได้เปรียบกับถนนที่ให้รถยนต์วิ่งไปยังสถานที่ใดที่หนึ่ง หากถนนกว้างหรือมีมาก
เท่าใด การส่งข้อมูลต่อครั้งก็ยิ่งเร็วและมากขึ้นเท่านั้นจานวนเส้นทางที่ใช้วิ่งบนทางเดินระบบ เรียกว่า บิต
(เปรียบเทียบได้กับเลนบนถนน)
วงรอบการทางานซีพียู
อิศราภรณ์ อยู่เป็นสุข ม.6/2 เลขที่ 49

More Related Content

What's hot

Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyPa'rig Prig
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyPa'rig Prig
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Wanphen Wirojcharoenwong
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
พ่อ อาชีวะ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Supanut Boonlert
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
siwaporn_jo
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNOiy Ka
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
nawapornsattasan
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
Jenchoke Tachagomain
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
siwaporn_jo
 

What's hot (16)

Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Word3
Word3Word3
Word3
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

Redes sociales
Redes socialesRedes sociales
Redes sociales
jmartinezpriego
 
Esdras omar gonzález lópez
Esdras omar gonzález lópezEsdras omar gonzález lópez
Esdras omar gonzález lópez
Jose Marcos
 
GUIÓN SIN CANCIONES DE LA EUCARISTÍA DEL DOMINGO 30 DEL TO. CICLO B. DIA 25 D...
GUIÓN SIN CANCIONES DE LA EUCARISTÍA DEL DOMINGO 30 DEL TO. CICLO B. DIA 25 D...GUIÓN SIN CANCIONES DE LA EUCARISTÍA DEL DOMINGO 30 DEL TO. CICLO B. DIA 25 D...
GUIÓN SIN CANCIONES DE LA EUCARISTÍA DEL DOMINGO 30 DEL TO. CICLO B. DIA 25 D...
FEDERICO ALMENARA CHECA
 
Biotecnologia en cercado de cochabamba, bolivia
Biotecnologia en  cercado de cochabamba, boliviaBiotecnologia en  cercado de cochabamba, bolivia
Biotecnologia en cercado de cochabamba, bolivia
Abraham Spencer Lopez Lafuente
 
Itd project 3
Itd project 3Itd project 3
Itd project 3
zerkai
 
Rosa barajas actividad 4 pasó de noche
Rosa barajas actividad 4 pasó de nocheRosa barajas actividad 4 pasó de noche
Rosa barajas actividad 4 pasó de noche
karybm29
 
Materiales segunda jornada de practica
Materiales segunda jornada de practica Materiales segunda jornada de practica
Materiales segunda jornada de practica Karem Bernal
 
IDRB
IDRBIDRB
Personal interests english
Personal interests englishPersonal interests english
Personal interests english
Chase Piercy
 
Excel
ExcelExcel
Mostafa al zein freelance work samples
Mostafa al zein freelance work samplesMostafa al zein freelance work samples
Mostafa al zein freelance work samples
Mostafa Al-Zain
 
Jello slush punch
Jello slush punchJello slush punch
Jello slush punch
Danielle Doss
 
User survey finding
User survey findingUser survey finding
User survey finding
bushairpk
 
Report1
Report1Report1
Memorando2
Memorando2Memorando2
Memorando2
madam9897
 
General Questionnaire
General QuestionnaireGeneral Questionnaire
General Questionnaire
Jvrdan
 
Las nuevas redes sociales
Las nuevas redes socialesLas nuevas redes sociales
Las nuevas redes sociales
V Ilma Kat
 

Viewers also liked (18)

Redes sociales
Redes socialesRedes sociales
Redes sociales
 
Esdras omar gonzález lópez
Esdras omar gonzález lópezEsdras omar gonzález lópez
Esdras omar gonzález lópez
 
GUIÓN SIN CANCIONES DE LA EUCARISTÍA DEL DOMINGO 30 DEL TO. CICLO B. DIA 25 D...
GUIÓN SIN CANCIONES DE LA EUCARISTÍA DEL DOMINGO 30 DEL TO. CICLO B. DIA 25 D...GUIÓN SIN CANCIONES DE LA EUCARISTÍA DEL DOMINGO 30 DEL TO. CICLO B. DIA 25 D...
GUIÓN SIN CANCIONES DE LA EUCARISTÍA DEL DOMINGO 30 DEL TO. CICLO B. DIA 25 D...
 
Biotecnologia en cercado de cochabamba, bolivia
Biotecnologia en  cercado de cochabamba, boliviaBiotecnologia en  cercado de cochabamba, bolivia
Biotecnologia en cercado de cochabamba, bolivia
 
Itd project 3
Itd project 3Itd project 3
Itd project 3
 
Rosa barajas actividad 4 pasó de noche
Rosa barajas actividad 4 pasó de nocheRosa barajas actividad 4 pasó de noche
Rosa barajas actividad 4 pasó de noche
 
Materiales segunda jornada de practica
Materiales segunda jornada de practica Materiales segunda jornada de practica
Materiales segunda jornada de practica
 
Slaidikava
SlaidikavaSlaidikava
Slaidikava
 
IDRB
IDRBIDRB
IDRB
 
Personal interests english
Personal interests englishPersonal interests english
Personal interests english
 
Excel
ExcelExcel
Excel
 
Mostafa al zein freelance work samples
Mostafa al zein freelance work samplesMostafa al zein freelance work samples
Mostafa al zein freelance work samples
 
Jello slush punch
Jello slush punchJello slush punch
Jello slush punch
 
User survey finding
User survey findingUser survey finding
User survey finding
 
Report1
Report1Report1
Report1
 
Memorando2
Memorando2Memorando2
Memorando2
 
General Questionnaire
General QuestionnaireGeneral Questionnaire
General Questionnaire
 
Las nuevas redes sociales
Las nuevas redes socialesLas nuevas redes sociales
Las nuevas redes sociales
 

Similar to Work3-49

%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...soontornnamsain
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Radompon.com
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นSukanya Burana
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Oh Aeey
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
tee0533
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์Nantawoot Imjit
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Sujit Chuajine
 
IT-2-55
IT-2-55IT-2-55
IT-2-55
kochakorn55
 
Work3 19
Work3 19Work3 19
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมkotyota
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyPa'rig Prig
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 

Similar to Work3-49 (20)

%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
คูมื่อ E book
คูมื่อ E bookคูมื่อ E book
คูมื่อ E book
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
Com element
Com elementCom element
Com element
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
IT-2-55
IT-2-55IT-2-55
IT-2-55
 
Work3 19
Work3 19Work3 19
Work3 19
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอม
 
งานโฟม
งานโฟมงานโฟม
งานโฟม
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
 

Work3-49

  • 2. ฮาร์ดแวร์ (hardware) ความหมายของฮาร์ดแวร์ ฮาร์ดแวร์ หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์ รวมอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ คอมพิวเตอร์ที่เราสามารถมองเห็นและสัมผัสได้ เช่น ตัวเครื่อง จอภาพ คีย์บอร์ด และเมาส์ เป็นต้น จาแนกตามหน้าที่ของฮาร์ดแวร์สามารถแบ่งเป็น ส่วนสาคัญ 5 ส่วน คือ 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่รับ โปรแกรมคาสั่ง และข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ 2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit - CPU) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการคานวณทั้งทาง ตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมทั้งการประมวลข้อมูลตาม คาสั่งที่ได้รับ 3. หน่วยความจา (Memory Unit) ทา หน้าที่เก็บข้อมูลหรือคาสั่งที่ส่งมาจากหน่วย รับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยัง หน่วยประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ ได้มาจากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียม ส่งไปยังหน่วยแสดงผล 4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทา หน้าที่แสดงผลข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทาการ ประมวลผล หรือผ่านการคานวณแล้ว 5. อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ (Peripheral Equipment) เป็นอุปกรณ์ที่นามาต่อพ่วงเข้า กับคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพใน การทางานให้มากยิ่งขึ้น เช่น โมเด็ม แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นต้น
  • 3. ซอฟต์แวร์(software) คามหมายของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่ง ที่จะสั่งและควบคุมให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ทางาน เรา ไม่สามารถจับต้อง ซอฟต์แวร์ ได้โดยตรงเหมือนกับตัวฮาร์ดแวร์ เพราะซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมนี้จะถูก จัดเก็บอยู่ในสื่อ ที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล เช่น แผ่นดิสก์ ซอฟต์แวร์ ที่มักติดตั้งไว้ในฮาร์ดดิสก์เพื่อทางานทัน ที่ที่เปิดเครื่องคือ ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ สรุปแล้ว ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมชุดคาสั่งไว้ควบคมคอมฯให้ ทางาน ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ (System Software) คือชุดคาสั่งที่เป็นระบบปฏิบัติการต่างๆที่ทางาน ควบคู่กับระบบต่างๆภายในคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ต่างๆ หรือจะกล่าวง่ายๆนั่นก็คือ Windows Mac หรือแม้แต่ Linux และนอกจากนี้ยังรวมถึงโปรแกรมที่ เขียนในภาษาคอมพิวเตอร์อย่าง C C# Java Pascal พวกนี้เองก็เป็นหนึ่งในการช่วยให้ ซอฟต์แวร์นั้นมี ระบบที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น 2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) โปรแกรมที่ถูกออกแบบ ถูกทามาให้กับ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆให้สามารถสั่งงาน เพื่อตอบสนองรูปแบบการทางานอย่าง เครื่องคิด เลข โปรแกรมแต่งรูป หรือแม้แต่ โปรแกรมแชท ต่างๆ เองก็เป็นโปรแกรมพื้นฐานที่ทุกเครื่องต้องมี นอกจากนี้ยังรวมถึง ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะ ด้าน คือ โปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่องานนั้นๆ เช่น โปรแกรมบริหารต่างๆ โปรแกรมออกแบบบ้าน หรือ โปรแกรมPOS เป็นต้น
  • 4. บุคลากรคอมพิวเตอร์(peopleware) ความหมายของบุคลากรคอมพิวเตอร์ หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้ 1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไป ตามเป้าหมายของหน่วยงาน 2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และ ทาการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการ ใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์ เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน 3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ทางานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียน ตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้ 4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้ วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้ โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทางานได้ตามที่ต้องการ
  • 5. กลุ่มผู้ใช้งานทั่วไป 1.ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User/End user) ผู้ใช้งานระดับต่าสุด ไม่จาเป็นต้องมีี ความเชี่ยวชาญมาสามารถใช้งานได้ โดยศึกษา จากคู่มือการปฎิบัติงานหรือรับการอบรมเพิ่มเติม 2.พนักงานปฎิบัติการเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer operator) 2.1ดูแลควบคุมการปิดเครื่อง 2.2นาโปรแกรมมาบรรจุเข้าเครื่องเพื่อให้เริ่ม ทางาน 3.พนักงานบันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 1.นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) 2.นักเขียนโปรแกรม (Programmer) 3.วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineer) 4.ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก (Network Administration) 5.ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ (Computer Technician) กลุ่มผู้บริหาร 1.ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ (CIO-Chief Information Officer) 2.หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Center Manager/Information Manager) 3.ผู้จัดการฐานข้อมูล (Database Administrator)
  • 6. ข้อมูลและสารสนเทศ ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วใช้ตัวเลขตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ ต่างๆ ทาความหมายแทนสิ่งเหล่านั้น สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อสรุปต่างๆ ที่ได้จากการนาข้อมูลมาทาการวิเคราะห์ หรือผ่าน วิธีการที่ ได้กาหนดขึ้น ทั้งนี้เพื่อนาข้อสรุปไปใช้งานหรืออ้างอิง ข้อมูลและสารสนเทศ หมายถึง การทางานของคอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องตั้งแต่การนาข้อมูลเข้า (data) จนกลายเป็นข้อมูลที่สามารถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือที่เรียกว่าสารสนเทศ (information) ข้อมูลเหล่านี้ อาจเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และข้อมูลในรูปแบบอื่นๆเช่น ภาพ เสียง เป็นต้น
  • 7. กระบวนการแปลงข้อมูล ข้อมูลที่จะนามาใช้กับคอมพิวเตอร์ ต้องแปลงรูปแบบหรือสถานะให้คอมพิวเตอร์เข้าใจเสียก่อน สถานะหรือรูปแบบนี้เราเรียกว่า สถานะแบบดิจิตอล สถานะแบบดิจิตอล กระบวนการแปลงข้อมูลมีเพียง 2 สถานะเท่านั้นคือ เปิด (1) และ ปิด (0) เหมือนกับหลักการทางานของไฟฟ้า อาศัยการประมวลผลโดยใช้ ระบบเลขฐานสอง หรือที่เรียกว่า binary system เป็นหลัก ซึ่งประกอบด้วยตัวเลขเพียง 2 ตัวเท่านั้น คือ 0 กับ 1 ตัวเลข 0 กับ 1 เราเรียกว่าเป็นตัวเลขฐานสองหรือไบนารีดิจิต(binary digit) มักเรียกย่อๆว่า บิต (bit) นั่นเอง เมื่อบิตหลายตัวรวมกันจานวนหนึ่ง (ขึ้นอยู่กับรหัสการจัดเก็บ) เช่น 8 บิต เราจะเรียกหน่วย จัดเก็บข้อมูลนี้ใหม่ว่าเป็น ไบต์ (byte) ซึ่งสามารถใช้แทน ตัวอักษร ตัวเลข อักขระพิเศษที่เราต้องการป้อน ข้อมูลเข้าไปในเครื่องแต่ละตัวได้ กลุ่มตัวเลขฐานสองต่างๆที่นาเอามาใช้นี้ จะมีองค์กรกาหนดมาตรฐานให้ ใช้บนระบบคอมพิวเตอร์อยู่หลายมาตรฐานมาก ที่รู้จักดีและเป็นนิยมแพร่หลายคือมาตรฐานของสถาบัน มาตรฐานแห่งสหรัฐอเมริกา ที่เรียกว่า รหัสแอสกี (ASCII : American Standard Code for Information Interchange
  • 8. หน่วยวัดความจุข้อมูล 1.บิต (bit) เป็นหน่วยที่มีขนาดเล็กที่สุด โดยจะถูกด้วยเลขฐานสองคือ 0 กับ 1 2.ไบต์ (byte) โดย 1 ไบต์เท่ากับ 8 บิต จะใช้เเทนตัวอักษรใดๆ เช่น พยัญชนะ ตัวเลข เป็นต้น 3.กิโลไบต์ (kilobyte) มีค่าเท่ากับ 1,024 ไบต์ เทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1,000 ตัว หรือประมาณ 1 หน้ากระดาษ 4.เมกะไบต์ (Megabyte) มีค่าเท่ากับ 1,000 กิโลไบต์ หรือเทียบเท่า 1 ล้านไบต์ หรือ ประมาณหนังสือ 1 เล่ม 5.กิกะไบต์ (Gigabyte) บอกความจุ ข้อมูลของฮาร์ดดิสก์ USB DVD เป็นต้น โดยมี ค่าประมาณ 1,000 เมกกะไบต์หรือเทียบเท่ากับ ตัวอักษรประมาณ 1 พันล้านตัวหรือหนังสือที่ บรรจุอยู่ในตู้หนังสือ 1 ตู้ 6.เทอราไบต์ (Terabyte) เป็นหน่วยวัดที่มี ขนาดใหญ่มาก ปัจจุบบันมีเพียงอุปกรณ์จาพวก ฮาร์ดดิสก์บางรุ่นเท่านั้น โดยมีค่าประมาณ 1,000 กิกะไบต์ หรือเทียบเท่าตัวอักษร 1 ล้านล้านตัว หรือ หนังสือทั้งหมดที่ถูกบรรจุอยู่ในห้องสมุด 1 ห้อง 7.เพตาไบต์ (Petabyte) เป็นหน่วยความจุ ที่ใหญ่ที่สุด ไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน
  • 9. การนาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ยุคแรกใช้บัตรเจาะรูเพื่อควบคุมลายทอผ้านาบัตรแบบใหม่มาประยุกต์ใช้มากขึ้น เช่น IBM 80 Column พัฒนามาใช้สื่อแบบใหม่มากขึ้นจนถึงปัจจุบัน การนาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ แบ่งได้เป็น 2 วิธีด้วยกันคือ 1.ผ่านอุปกรณ์นาเข้า (input device) - เป็นวิธีที่ง่ายและสะดวกที่สุด - นาข้อมูลเข้าไปยังคอมพิวเตอร์โดยตรง - ผ่านอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลหลายชนิด ขึ้นอยู่กับ รูปแบบของข้อมูล เช่น คีย์บอร์ด (keyboard) สาหรับข้อมูล ประเภทตัวอักษร หรืออักขระพิเศษ สแกนเนอร์ (scanner) สาหรับข้อมูล ประเภทภาพ ไมโครโฟน (microphone) สาหรับ ข้อมูลประเภทเสียง ฯลฯ 2. ผ่านสื่อเก็บบันทึกข้อมูลสารอง (secondary storage) ดึงเอาข้อมูลที่ได้บันทึกหรือเก็บข้อมูลไว้ ก่อนแล้วโดยใช้ สื่อเก็บบันทึกข้อมูลสารอง เช่น ฮาร์ดดิสก์ ดิสเก็ตต์ หรือซีดี เครื่องคอมพิวเตอร์จะ อ่านข้อมูลเหล่านี้โดยอาศัยเครื่องอ่านสื่อ โดยเฉพาะ เช่น ฟล็อปปี้ไดรว์ ซีดีรอมไดรว์ บัตรเจาะรูจัดอยู่ในกลุ่มการนาเข้าข้อมูลวิธีนี้ เช่นกัน (ปัจจุบันไม่พบเห็นการใช้งานแล้ว)
  • 10. กิจกรรมและความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์ 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่ในการรับข้อมูลหรือคาสั่งจาก ภายนอกเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจาเพื่อเตรียม ประมวลผล - Mouse - Disk Drive - Hard Drive - CD-Rom - Magnetic Tape - Card Reader - Scanner 1.ขั้นป้อนข้อมูลเข้า (User Input) 2.ขั้นร้องขอบริการ (Service requests) 3.ขั้นสั่งการฮาร์ดแวร์ (Hardware Instructions) 4.ขั้นประมวลผลลัพธ์ (Processing results) 5.ขั้นตอบสนองบริการ (Service responses) 6.ขั้นแสดงผลลัพธ์ (Program Output)
  • 11. 2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ทาหน้าที่ในการคานวณและประมวลผล แบ่งออกเป็น 2 หน่วยย่อย คือ - หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ในการดูแล ควบคุมลาดับขั้นตอนของการประมวลผล และการทางาน ของอุปกรณ์ต่างๆ ภายใน หน่วยประมวลผลกลาง และช่วยประสานงาน ระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง กับ อุปกรณ์ นาเข้าข้อมูล อุปกรณ์ในการแสดงผล และ หน่วยความจาสารอง - หน่วยคานวณและตรรก ทาหน้าที่ใน การคานวณและเปรียบเทียบข้อมูลต่างๆ ที่ส่ง มาจากหน่วยควบคุม และหน่วยความจา 3. หน่วยความจา (Memory) ทาหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือคาสั่งต่างๆ ที่รับจากภายนอกเข้ามาเก็บไว้ เพื่อประมวลผล และยังเก็บผลที่ได้จากการประมวลผลไว้เพื่อ แสดงผลอีกด้วย - หน่วยความจา เป็นหน่วยความจาที่มี อยู่ ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่ในการเก็บ คาสั่งหรือข้อมูล แบ่งออกเป็น - ROM หน่วยความจาแบบถาวร - RAM หน่วยความจาแบบชั่วคราว - หน่วยความจาสารอง เป็นหน่วยความจาที่อยู่ นอกเครื่อง มีหน้าที่ช่วยให้หน่วยความจาหลัก สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น 4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่ในการแสดงผลลัทธ์ที่ได้ หลังจากการคานวณและประมวลผล สาหรับ อุปกรณ์ที่ ทาหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูลที่ได้นั้น ได้แก่ จอภาพ และเครื่องพิมพ์
  • 12. หน่วยประมวลผลกลาง ส่วนประกอบที่สาคัญภายในของซีพียู แบ่งออกได้ดังนี้ 1.หน่วยควบคุม (Control Unit) ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของทุกๆหน่วย ในซีพียูรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงเริ่มตั้งแต่การแปล คาสั่งที่ป้อนเข้าไป โดยการไปดึงคาสั่งและข้อมูล จากหน่วยความจามาแล้วแปลความหมายของ คาสั่งจากนั้นส่งความหมายที่ได้ไปให้หน่วยคานวณ และตรรกะเพื่อคานวณและตัดสินใจว่าจะให้เก็บ ข้อมูลไว้ที่ใด 2.หน่วยคานวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit) ทาหน้าที่ในการคานวณทางคณิตศาสตร์ (arithmetic) เช่น การคูณ ลบ บวก หาร เปรียบเทียบข้อมูลทางตรรกศาสตร์ (logical) ว่าเป็น จริงหรือเท็จ อาศัยตัวปฏิบัติการเปรียบเทียบ พื้นฐาน 3 ค่า คือ มากกว่า น้อยกว่าและเท่ากับ 3. รีจิสเตอร์ (Register) พื้นที่สาหรับเก็บพักข้อมูลชุดคาสั่ง ผลลัพธ์ และข้อมูลที่เกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผล เพียงชั่วคราวไม่ถือว่าเป็นหน่วยความจา รับส่ง ข้อมูลด้วยความเร็วสูง และทางานภายใต้การ ควบคุมของหน่วยควบคุมเช่นเดียวกับหน่วย อื่นๆ รีจิสเตอร์ที่สาคัญโดยทั่วไป (อาจแตกต่าง กันออกไปตามรุ่นของซีพียู) มีดังนี้ 1.Accumulate Register ใช้เก็บผลลัพธ์ที่ ได้จากการคานวณ 2.Storage Register เก็บข้อมูลและคาสั่ง ชั่วคราวที่ผ่านจากหน่วยความจาหลัก หรือรอ ส่งกลับไปที่หน่วยความจาหลัก 3.Instruction Register ใช้เก็บคาสั่งในการ ประมวลผล
  • 13. หน่วยความจาหลัก ทาหน้าที่เก็บข้อมูลและคาสั่งตลอดจนผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของซีพียูเพียงชั่วคราว เช่นเดียวกัน ปกติจะมีตาแหน่งของการเก็บข้อมูลที่ไม่ซ้ากันที่เรียกว่า “แอดเดรส” (address) ต่างจาก รีจิสเตอร์ตรงที่เป็นการเก็บมูลและคาสั่งเพื่อที่จะ เรียกใช้ได้ในอนาคตอันใกล้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1.รอม (ROM : Read Only Memory) - หน่วยความจาที่อ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถ เขียนหรือบันทึกเพิ่มเติมได้ - ใช้เก็บคาสั่งที่ใช้บ่อยและเป็นคาสั่งเฉพาะ - ข้อมูลใน ROM จะอยู่กับเครื่องอย่างถาวร ถึงแม้ไฟจะดับหรือปิดเครื่องไปก็ไม่สามารถทา ให้ข้อมูลหรือคาสั่งในการทางานต่างๆหายไปได้ - นิยมเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า nonvolatile memory - มีหลายชนิดเช่น PROM, EPROM, EEPROM เป็นต้น 2.2 แรม (RAM : Random Access Memory) - หน่วยความจาที่จดจาข้อมูลคาสั่งในระหว่างที่ ระบบกาลังทางานอยู่ - สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ตลอดเวลา - หากไฟดับหรือมีการปิดเครื่องข้อมูลใน หน่วยความจานี้จะถูกลบเลือนหายไปหมด - นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า volatile memory - มีหลายชนิดเช่น SDRAM, DDR SDRAM, RDRAM
  • 14. หน่วยความจาสารอง ใช้สาหรับเก็บและบันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ เพื่อเรียกข้อมูลนั้นใช้ในภายหลังได้ (เก็บไว้ ใช้ได้ในอนาคต) มีหลายชนิดมาก เช่นฮาร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ดิสก์ Flash Drive CD ฯลฯ หน่วยรับและแสดงผลข้อมูล คอมพิวเตอร์ทั่วไปจะมีหน่วยรับข้อมูลและคาสั่งเข้าสู่ระบบ แปลงข้อมูลผ่านอุปกรณ์นาข้อมูล เข้า เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ สแกนเนอร์ เป็นต้น ส่งต่อข้อมูลที่ป้อนเข้าให้กับส่วนของหน่วยประมวลผล กลาง เพื่อทาหน้าที่ตามคาสั่งที่ได้รับมา หากขาดส่วนรับข้อมูลและคาสั่ง มนุษย์จะไม่สามารถติดต่อ สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ หน่วยแสดงผลลัพธ์ แสดงผลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (เรียกว่า soft copy) เช่น จอภาพคอมพิวเตอร์ หรืออยู่ใน รูปแบบของ hard copy เช่น พิมพ์ออกมาเป็น กระดาษออกทางเครื่องพิมพ์ อาจอาศัยอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ลาโพง สาหรับการแสดงผลที่เป็นเสียงได้
  • 15. ทางเดินของระบบ เส้นทางผ่านของสัญญาณเพื่อให้อุปกรณ์ระหว่างหน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจาใน ระบบสามารถเชื่อมต่อกันได้เปรียบกับถนนที่ให้รถยนต์วิ่งไปยังสถานที่ใดที่หนึ่ง หากถนนกว้างหรือมีมาก เท่าใด การส่งข้อมูลต่อครั้งก็ยิ่งเร็วและมากขึ้นเท่านั้นจานวนเส้นทางที่ใช้วิ่งบนทางเดินระบบ เรียกว่า บิต (เปรียบเทียบได้กับเลนบนถนน) วงรอบการทางานซีพียู อิศราภรณ์ อยู่เป็นสุข ม.6/2 เลขที่ 49