SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
บทที่9
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
เจียระไน อินทรวิเชียร ม.6/6 เลขที่ 10
สุภาวดี พิทักษ์วรรัตน์ ม.6/6 เลขที่ 28
จิรสุตา บุญเจือ ม.6/6 เลขที่ 44
ระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ (Computer Network)
คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเครื่องเชื่อมต่อกันโดยใช้สื่อกลาง และสื่อสาร
ข้อมูลกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งทาให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถแลกเปลี่ยน
ข้อมูลซึ่งกันและกันได้นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในเครือข่ายร่วมกันได้เช่น
เครื่องพิมพ์ซีดีรอม สแกนเนอร์ ฮาร์ดดิสก์เป็นต้น
แนวคิดในการสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้น เริ่มมาจากการที่ผู้ใช้ต้องการที่จะ
แลกเปลี่ยนข้อมูลกันอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว คอมพิวเตอร์เดี่ยวๆ เป็นอุปกรณ์ที่มี
ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลในปริมาณมากอย่างรวดเร็วอยู่แล้ว แต่ข้อเสียคือ ผู้ใช้ไม่
สามารถแชร์ข้อมูลนั้นกับคนอื่นอย่างมีประสิทธิภาพได้ก่อนที่จะมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์
วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่าย
วัตถุประสงค์ของการเลือกใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก็เพื่อ
1. สามารถใช้โปรแกรมและข้อมูลร่วมกันได้
ก็คือ เครื่องลูก(Client) สามารถเข้ามาใช้โปรแกรม ข้อมูล ร่วมกันได้จากเครื่องแม่ (Server) หรือ
ระหว่างเครื่องลูกกับเครื่องลูกก็ได้เป็นการประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บโปรแกรม ไม่จาเป็นว่า
ทุกเครื่องต้องมีโปรแกรมเดียวกันนี้ในเครื่อง ของตนเอง
2. เพื่อความประหยัด
เพราะว่าเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า อย่างเช่นในสานักงานหนึ่งมีเครื่องอยู่ 30 เครื่อง หรือมากกว่านี้
ถ้าไม่มีการนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้จะเห็นว่าต้องใช้เครื่องพิมพ์อย่างน้อย 5 - 10
เครื่อง มาใช้งาน แต่ถ้ามีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้แล้วละก้อ ก็สามารถใช้อุปกรณ์ หรือ
เครื่องพิมพ์ประมาณ 2-3 เครื่องก็พอต่อการใช้งานแล้ว เพราะว่าทุกเครื่องสามารถเข้าใช้
เครื่องพิมพ์เครื่องไหนก็ได้ผ่านเครื่องอื่น ๆ ที่ในระบบเครือข่ายเดียวกัน
3. เพื่อความเชื่อถือได้ของระบบงาน
นับเป็นสิ่งที่สาคัญสาหรับการดาเนินธุรกิจ ถ้าทางานได้เร็วแต่ขาดความน่าเชื่อถือก็ถือว่าใช้
ไม่ได้ไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นเมื่อนาระบบ Computer Network มาใช้งาน ทาระบบงานมี
ประสิทธิภาพ มีความน่าเชื่อถือของข้อมูล เพราะจะมีการทาสารองข้อมูลไว้เมื่อเครื่องที่ใช้งาน
เกิดมีปัญหา ก็สามารถนาข้อมูลที่มีการสารองมาใช้ได้อย่างทันที
4. ประหยัดเวลา ค่าเดินทาง
เมื่อต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ในที่ที่อยู่ห่างไกลกัน เช่น บริษัทแม่อยู่ที่ กรุงเทพ ส่วนบริษัท
ลูกอาจจะอยู่ตามต่างจังหวัด แต่ละที่ก็มีการเก็บข้อมูล การเงิน ประวัติลูกค้า และอื่นๆ แต่ถ้า
ต้องการใช้ข้อมูลของอีกที่หนึ่งจะเกิดความลาบาก ล่าช้า และไม่สะดวก จึงมีการนาหลักการของ
Computer Network มาใช้งาน เช่น มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน หรือโปรแกรม ข้อมูล ร่วมกัน
ประเภทของเครือข่าย
เครือข่ายสามารถจาแนกออกได้หลายประเภทแล้วแต่เกณฑ์ที่ใช้เช่น ขนาด ลักษณะการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ เป็นต้น โดยทั่วไปการจาแนกประเภทของเครือข่ายมีอยู่ 3 วิธี
1. ใช้ขนาดทางกายภาพของเครือข่ายเป็นเกณฑ์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้
1.1 LAN (Local Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น
เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณที่ไม่กว้าง
นัก อาจใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรืออาคารที่อยู่
ใกล้กัน เช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคาร
สานักงาน คลังสินค้า หรือโรงงาน เป็นต้น การส่ง
ข้อมูลสามารถทาได้ด้วยความเร็วสูง และมี
ข้อผิดพลาดน้อย ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่นจึงถูก
ออกแบบมาให้ช่วยลดต้นทุนและเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการทางาน และใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน
1.2 MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับเมือง
เป็นระบบเครือข่ายที่มีขนาดอยู่ระหว่าง
Lan และ Wan เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้
ภายในเมืองหรือจังหวัดเท่านั้น การ
เชื่อมโยงจะต้องอาศัยระบบบริการ
เครือข่ายสาธารณะ จึงเป็นเครือข่ายที่ใช้
กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการ
เชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น
ธนาคาร เครือข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการสื่อสารไม่สูง เนื่องจากมี
สัญญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีที่ใช้กับเครือข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยง
ระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนาแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล
1.3 WAN (Wide Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับประเทศ หรือเครือข่ายบริเวณกว้าง
เป็นระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณ
กว้าง เช่น ระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานทั่ว
โลก เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรือ
อุปกรณ์ที่อยู่ห่างไกลกันเข้าด้วยกัน อาจจะ
ต้องเป็นการติดต่อสื่อสารกันใน
ระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลกก็ได้ใน
การเชื่อมการติดต่อนั้น จะต้องมีการต่อเข้ากับ
ระบบสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพราะจะเป็นการ
ส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ในการติดต่อสื่อสารกันโดยปกติมีอัตราการส่งข้อมูลที่ต่าและมี
โอกาสเกิดข้อผิดพลาด การส่งข้อมูลอาจใช้อุปกรณ์ในการสื่อสาร เช่น โมเด็ม (Modem) มาช่วย
2. ใช้ลักษณะหน้าที่การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งได้เป็น 2
ประเภทดังนี้
2.1 Peer-to-Peer Network หรือเครือข่ายแบบเท่าเทียม
เป็นการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่อง จะ
สามารถแบ่งทรัพยากรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นไฟล์หรือเครื่องพิมพ์ซึ่งกันและกันภายในเครือข่ายได้
เครื่องแต่ละเครื่องจะทางานในลักษณะที่ทัดเทียมกัน การเชื่อมต่อแบบนี้มักทาในระบบที่มี
ขนาดเล็กๆ เช่น หน่วยงานขนาดเล็กที่มีเครื่องใช้ไม่เกิน 10 เครื่อง การเชื่อมต่อแบบนี้มีจุดอ่อน
ในเรื่องของระบบรักษาความปลอดภัย แต่ถ้าเป็นเครือข่ายขนาดเล็ก และเป็นงานที่ไม่มีข้อมูลที่
เป็นความลับมากนัก เครือข่ายแบบนี้ ก็เป็นรูปแบบที่น่าเลือกนามาใช้ได้เป็นอย่างดี
2.2 Client-Server Network หรือเครือข่ายแบบผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ
เป็นระบบที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องมีฐานะการทางานที่เหมือน ๆ กัน เท่าเทียมกัน
ภายในระบบ เครือข่าย แต่จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ที่ทาหน้าที่เป็นเครื่อง Server ที่ทา
หน้าที่ให้บริการทรัพยากรต่าง ๆ ให้กับ เครื่อง Client หรือเครื่องที่ขอใช้บริการ ซึ่งอาจจะต้อง
เป็นเครื่องที่มีประสิทธิภาพที่ค่อนข้างสูง ถึงจะทาให้การให้บริการมีประสิทธิภาพตามไปด้วย
3. ใช้ระดับความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเกณฑ์
3.1 อินเทอร์เน็ต (Internet) เครือข่ายสาธารณะ
อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่ครอบคลุมทั่วโลก ซึ่งมีคอมพิวเตอร์เป็นล้านๆเครื่องเชื่อมต่อเข้ากับ
ระบบและยังขยายตัวขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปี อินเทอร์เน็ตมีผู้ใช้ทั่วโลกหลายร้อยล้านคน และผู้ใช้
เหล่านี้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้อย่างอิสระ โดยที่ระยะทางและเวลาไม่เป็น
อุปสรรค นอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถเข้าดูข้อมูลต่าง ๆ ที่ถูกตีพิมพ์ในอินเทอร์เน็ต
ได้ อินเทอร์เน็ตเชื่อมแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกันไม่ว่าจะเป็นองค์กรธุรกิจ มหาวิทยาลัย
หน่วยงานของรัฐบาล หรือแม้กระทั่งแหล่งข้อมูลบุคคล
องค์กรธุรกิจหลายองค์กรได้ใช้อินเทอร์เน็ตช่วยในการทา
การค้า เช่น การติดต่อซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ตหรืออีคอม
เมิร์ช (E-Commerce) ซึ่งเป็นอีกช่องทางหนึ่งสาหรับการ
ทาธุรกิจที่กาลังเป็นที่นิยม เนื่องจากมีต้นทุนที่ถูกกว่า
และมีฐานลูกค้าที่ใหญ่มาก ส่วนข้อเสียของอินเทอร์เน็ต
คือ ความปลอดภัยของข้อมูล เนื่องจากทุกคนสามารถ
เข้าถึงข้อมูลทุกอย่างที่แลกเปลี่ยนผ่านอินเทอร์เน็ตได้
3.2 อินทราเน็ต (Intranet) หรือเครือข่ายส่วนบุคคล
ตรงกันข้ามกับอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายส่วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เช่น
เว็บ, อีเมล, FTP เป็นต้น อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP สาหรับการรับส่งข้อมูลเช่นเดียวกับ
อินเทอร์เน็ต ซึ่งโปรโตคอลนี้สามารถใช้ได้กับฮาร์ดแวร์หลายประเภท และสายสัญญาณหลาย
ประเภท ฮาร์ดแวร์ที่ใช้สร้างเครือข่ายไม่ใช่ปัจจัยหลักของอินทราเน็ต แต่เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาให้
อินทราเน็ตทางานได้อินทราเน็ตสามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ในองค์กรได้หลายอย่าง
ความง่ายในการตีพิมพ์บนเว็บทาให้เป็นที่นิยมในการประกาศข่าวสารขององค์กร เช่น ข่าว
ภายในองค์กร กฎ ระเบียบ และมาตรฐาน การปฏิบัติงานต่าง ๆ เป็นต้น หรือแม้กระทั่งการเข้าถึง
ฐานข้อมูลขององค์กรก็ง่ายเช่นกัน ผู้ใช้สามารถทางานร่วมกันได้ง่าย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3.3 เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) หรือเครือข่ายร่วม
เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) เป็นเครือข่ายกึ่งอินเทอร์เน็ตกึ่งอินทราเน็ต กล่าวคือ เอ็กส์ทราเน็ตคือ
เครือข่ายที่เชื่อมต่อระหว่างอินทราเน็ตของสององค์กร ดังนั้นจะมีบางส่วนของเครือข่ายที่เป็น
เจ้าของร่วมกันระหว่างสององค์กรหรือบริษัท การสร้างอินทราเน็ตจะไม่จากัดด้วยเทคโนโลยี
แต่จะยากตรงนโยบายที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่ทั้งสององค์กรจะต้องตกลง
กัน เช่น องค์กรหนึ่งอาจจะอนุญาตให้ผู้ใช้ของอีกองค์กรหนึ่งล็อกอินเข้าระบบอินทราเน็ตของ
ตัวเองหรือไม่ เป็นต้น การสร้างเอ็กส์ทราเน็ตจะเน้นที่ระบบการรักษาความปลอดภัยข้อมูล
รวมถึงการติดตั้งไฟร์วอลล์หรือระหว่างอินทราเน็ตและการเข้ารหัสข้อมูลและสิ่งที่สาคัญที่สุดก็
คือ นโยบายการรักษาความปลอดภัยข้อมูลและการบังคับใช้
ข้อจากัดของระบบเครือข่าย
1. ลงทุนสูงและจัดการยุ่งยาก การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการจัดการระบบ
เครือข่าย ต้องใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากซับซ้อน ต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ความชานาญ มีประสบการณ์
สูง จึงต้องใช้งบประมาณ การเริ่มต้นลงทุนสูงมาก อีกทั้งเทคโนโลยีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก จาเป็นต้องมีงบประมาณ เพื่อปรับปรุงระบบให้ทันสมัยอยู่เสมอ
2. การแบ่งทรัพยากรกันใช้นั้นอาจไม่สามารถใช้ทรัพยากรนั้นๆ ได้ทันทีทันใด เพราะหากมีการ
เรียกใช้ทรัพยากรเดียวกันจากคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องพร้อมกัน เช่น การใช้เครื่องพิมพ์โดย
เครื่องพิมพ์นั้นมีการใช้งานจากคอมพิวเตอร์ตัวอื่นอยู่ก่อนหน้าแล้ว งานพิมพ์ของเราก็จะต้อง
เข้าคิวรอการทางาน
3. ขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ ระบบเครือข่ายปัจจุบัน ยังขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ด้าน
ต่าง ๆ ทางานภายใต้สภาพแวดล้อม แบบเครือข่ายอยู่มาก เพราะการพัฒนา ต้องใช้ความรู้ความ
ชานาญสูง ต้องใช้เวลาในการพัฒนา จึงจะสามารถสร้างซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ ได้
4. การรักษาความปลอดภัย ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ยังขาดความปลอดภัยในด้านการ
รักษาข้อมูลอยู่มาก มีโอกาสที่จะถูกผู้อื่นแอบเข้ามาเอาข้อมูลได้จากหลาย ๆที่ หรืออาจมีข้อมูล
สูญหายได้ในขณะติดต่อสื่อสาร เนื่องจากมีข่าวสารในระบบอยู่มาก
5. ความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่า ในระบบเครือข่าย
ระยะไกล เช่น อินเทอร์เน็ต การเรียกใช้ข้อมูลในไฟล์
ผ่านระบบเครื่อข่ายนั้นจะมีความเร็วที่ช้ากว่าการ
เรียกใช้ข้อมูลกับฮาร์ดดิสก์ในเครื่องของตน ตัวกลาง
นาที่ใช้ในการนาสัญญาณ ยังมีอัตราความเร็วในการ
รับส่งข้อมูลต่า เมื่อเทียบกับการสื่อสารด้วยโทรศัพท์หรือ
โทรทัศน์ โดยเฉพาะข้อมูลที่เป็นภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว
เพราะไฟล์มีขนาดใหญ่มาก
องค์ประกอบของเครือข่าย
จะต้องมี 3 ประการนี้จึงจะเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้
1. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่บนระบบเครือข่าย
- เครื่องคอมพิวเตอร์ PC / Macintosh
- เครื่องคอมพิวเตอร์เวอร์คสเตชัน
2. Physical Media หรือสื่อเชื่อมต่อทางกายภาพอัน
ได้แก่ สาย (Cable) และ Hub หรืออุปกรณ์เชื่อมต่อต่างๆ
3. ระเบียบพิธีการติดต่อสื่อสาร (Protocol)
คือระเบียบหรือข้อตกลง (rules) ที่ตั้งขึ้น เพื่อทาให้ผู้ที่จะสื่อสารกันเข้าใจกันและกัน
ตัวอย่างเช่นสัญญาณธงที่ทหารเรือใช้สื่อสารกัน เป็นต้น
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
ประกอบด้วยอุปกรณ์ประเภทต่าง ๆ ดังนี้
1. ชนิดของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล (Types of Storage Devices)
อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลสามารถสามารถแบ่งออกเป็น 2 แบบคือ
1.1 อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบแม็กเนติก (Magnetic Storage Devices)
เป็นสื่อจัดเก็บข้อมูลที่มีลักษณะของสื่อแม่เหล็กประกอบด้วย
- ดิสก์เก็ต
ดิสก์เก็ตเป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้ร่วมกับเครื่องอ่าน/บันทึกดิสก์หรือที่เรียกว่า
ดิสก์ไดร์ฟ ในปัจจุบันใช้ดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว ที่มีความจุ 1.44 เมกกะไบต์เป็นมาตรฐาน
- ฮาร์ดดิสก์
ฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์จัดเก็บอุปกรณ์ที่นิยมใช้และจาเป็นต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ภายใน
ฮาร์ดดิสก์จะมีกลไกของหัวอ่านและหัวบันทึกข้อมูลอยู่ในตัว ทาให้สามารถนาฮาร์ดดิสก์มาใช้
งานได้ทันที
- เทปไดร์ฟ
สาหรับเทปบันทึกข้อมูลในที่นี้หมายถึงเทป DAT (Digital Audio Tape) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่
สามารถเก็บข้อมูลในปริมาณมาก
1.2 อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบอ็อปติคัล (Optical Storage Devies)
เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลมาตรฐานที่เครื่องคอมพิวเตอร์ควรมีแล้ว โดยแผ่นซีดีนี้จะใช้แสง
เลเซอร์ในการอ่านข้อมูล ซึ่งแตกต่างกับสื่อที่จัดเก็บด้วยสารแม่เหล็กหรือแบบแมกเนติก
- เครื่องอ่านซีดี/ซีดีรอม
โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ในปัจจุบันมักจะเขียนลงบนแผ่นซีดี เนื่องจากสะดวก กว่าการ
จัดเก็บลงในดิสก์เก็ต กล่าวคือ ซีดีรอมสามารถเก็บข้อมูลได้สูงถึง 650 เมกกะไบต์หากเก็บใน
แผ่นดิสก์ก็จะส่งผลให้มีจานวนดิสก์มากมายไม่สะดวก อีกทั้งอายุการใช้งานของซีดียาวนานกว่า
อีกด้วย
- เครื่องบันทึกซีดี (CD-RW/CD-R)
สาหรับแผ่นซีดีที่นามาบันทึกนั้นเรียกว่า CD-R แผ่น CD-R สามารถบันทึกได้หลายครั้ง และ
อ่านได้หลาครั้ง ส่วนแผ่น CD-ROM นั้นจะบันทึกได้เพียงครั้งเดียวและอ่านได้หลายครั้ง
นอกจากเครื่องบันทึกซีดีสามารถบันทึก ข้อมูลลงแผ่น CD-R แล้ว ยังสามารถทาการอ่านข้อมูล
จากแผ่น CD-ROM และ CD-R ทั่วไปได้
-เครื่องอ่านดีวีดี/ดีวีดีรอม
แผ่นดีวีดีมีข้อดีตรงที่มีความจุสูงกว่าแผ่นซีดี โดยเฉพาะแผ่นซีดีที่บันทึกภาพยนต์หรือที่เรียกว่า
Video CD นั้น จะมีภาพและเสียงที่ด้อยกว่าภาพยนตร์ที่บันทึกด้วยแผ่นดีวีดี แผ่น VCD
ภาพยนตร์หนึ่งเรื่องอาจมีจานวน หลายแผ่นด้วยกัน ในขณะที่แผ่น DVD อาจมีเพียงแผ่นเดียว
หรือไม่กี่แผ่น
2. อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับอินพุตข้อมูล
- คีย์บอร์ด
คีย์บอร์ดจัดเป็นอุปกรณ์นาเข้าชนิดแรกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์
ปัจจุบันมีการออกแบบลักษณะต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมการใช้งาน
รวมถึงการมีแป้นคีย์ลัดต่าง ๆ เข้ามาด้วย
- เมาส์
เมาส์จัดเป็นอุปกรณ์ที่จาเป็นต่อการทางานในยุคนี้ โดยเฉพาะการใช้เมาส์เพื่อโต้ตอบ โปรแกรม
ที่มีลักษณะ GUI เพื่อใช้ชี้ตาแหน่งบนจอภาพ, การเลือกด้วยการคลิกหรือการดับเบิ้ลคลิก รวมถึง
การลาก (Dragging) เพื่อย้ายตาแหน่ง
อุปกรณ์ทางเลือกที่ใช้ในการอินพุตข้อมูล (Alternative Methods of Input)
- ปากกา
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อินพุตข้อมูลของเครื่องพีดีเอ (Personal Digital Assistants : PDA) ซึ่งใน
บางครั้งอาจเรียกว่า “ สไตลัส (Stylus)” โดยมีลักษณะการทางานคล้ายกับเมาส์
- จอภาพแบบสัมผัส
จอภาพสัมผัส ก็เป็นจอภาพชนิดหนึ่งที่นิยมนามาใช้งาน เนื่องจากผู้ใช้งานสามารถโต้ตอบกับ
คอมพิวเตอร์ผ่านเมนูบนจอภาพด้วยการกดลงไปยังตาแหน่งบนจอภาพ จอภาพแบบสัมผัสบาง
รุ่นจะมีเซ็นเซอร์ในการตรวจสอบลายนิ้วมือของผู้ใช้งาน ซึ่งเป็นหนึ่งในกระบวนการรักษา
ความปลอดภัย
- จอยสติ๊ก
เป็นอุปกรณ์หนึ่งที่นิยมนามาใช้ในด้านความบันเทิง เช่น การเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์
- เครื่องอ่านบาร์โค้ด
เครื่องอ่านบาร์โค้ด เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับอ่านรหัสบาร์โค้ด ทาให้สามรถอ่าน ข้อมูลจากรหัส
ดังกล่าวด้วยเครื่องอ่าน โดยไม่จาเป็นต้องคีย์รหัสข้อมูลด้วยตนเอง ทาให้มีความรวดเร็ว อีกทั้ง
ยังสะดวก โดยนามาใช้กับห้างสรรพสินค้าหรือซูเปอร์มาเก็ตทั่ว ๆ ไป
- สแกนเนอร์
ในความจริงแล้ว เครื่องอ่านบาร์โค้ดนั้นก็เป็นชนิดหนึ่งของ
สแกนเนอร์นั่นเองแต่สแกนเนอร์ใช้สาหรับสแกนภาพจากต้นฉบับ
รวมถึงการสแกนภาพต่าง ๆ ที่ต้องการ
- ไมโครโฟน
ปัจจุบันเสียงได้เข้ามามีบทบาทในวงการคอมพิวเตอร์ การอินพุตด้วยเสียง ซึ่งการอินพุตด้วย
เสียงนี้ต้องอินพุตผ่านไมโครโฟน
- กล้องวีดีโอพีซี (PC Video Cameras)
เช่นเดียวกัน กล้องวีดีโอพีซี ก็ได้เข้ามามีบทบาทมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการนากล้อง วิดีโอพีซีที่มี
ขนาดเล็ก มาใช้ในการโต้ตอบด้วยการประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย
- กล้องดิจิตอล
กล้องดิจิตอลสามารถจัดเก็บภาพไว้ในคอมพิวเตอร์และคัดเลือกภาพที่ต้องการได้อีกทั้งร้าน
ถ่ายรูปก็ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีด้วยการนาภาพถ่ายด้วยดิจิตอลมาอัดเป็นรูปถ่ายได้
3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการเอาท์พุตข้อมูล
จอภาพ (Monitors)
- จอภาพซีอาร์ที (Cathode-Ray Tubes : CRT Monitors)
จอภาพซีอาร์ทีคือจอภาพทั่วไปใช้กับคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีจอภาพแบบโมโนโครม (Monochorome
Monitor) และจอภาพสี (Color Monitor)
- จอภาพแบบแอลซีดี (Liquid-Crystal Display : LCD Monitors)
นอกจากจอภาพแบบซีอาร์ทีแล้ว ยังมีจอภาพแบบแบนเรียบ (Flat) หรือจอภาพแบบ LCD ซึ่ง
จอภาพขนิดนี้มักนาใช้กับโน๊ตบุ๊ค แต่ราคายังสูงอยู่จึงไม่เป็นที่นิยมเท่าใดนัก
-เครื่องพิมพ์
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลลงในกระดาษ (Hard Copy) ในปัจจุบันมีการแบ่งประภทของ
เครื่องพิมพ์ออกเป็นสองประเภทคือ เครื่องพิมพ์แบบที่ต้องใช้แรงกระแทก (Nonimpact Printer)
ซึ่งแบบใช้แรงกระแทกก็คือ ด็อทเมตริกซ์ (Dot Matrix) และแบบไม่ใช้แรงกระแทก ได้แก่
เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ต และเครื่องพิมพ์เลเซอร์
-ลาโพง
ลาโพงในที่นี้หมายถึงลาโพงที่ต่อกับการ์ดเสียง (Sound Card) เป็นอุปกรณ์ที่ ใช้เสียงออกมา
ปัจจุบันลาโพงได้นามาใช้งานด้านการบันเทิงมากขึ้น เช่น ฟังเพลง การใช้โปรแกรม มัลติมีเดียที่
มีการแสดงผลในรูปแบบเสียง และการดูภาพยนต์เป็นต้น
ซอฟต์แวร์
หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่ถูกเขียน
ขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทา
อะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็น
1. ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ (System Software)
คือ ชุดของคาสั่งที่เขียนไว้เป็นคาสั่งสาเร็จรูป ซึ่งจะทางานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อ
คอยควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน
ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรม
แปลคาสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เป็นต้น
นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรม
สาหรับระบบด้วยเช่นกัน
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่มาให้คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้าน
เอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท
คือ
2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน
คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่างที่เรา
ต้องการ บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรม
การทาบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ
โปรแกรมการทาสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละ
โปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ หรือกฏเกณฑ์
ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของ
โปรแกรมได้เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วน
ใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา
2.2 ซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป
เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทาไว้เพื่อใช้ในการทางานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ
สามารถนาโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้แต่จะไม่สามารถทาการดัดแปลง หรือ
แก้ไขโปรแกรมได้ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และ
ค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องเวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่ง
โปรแกรมสาเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานมราขาดบุคลากรที่มีความชานาญเป็น
พิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้น การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อานวยความสะดวก
และเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ตัวอย่างโปรแกรมสาเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe
Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น
ตัวกลางการสื่อสารข้อมูล
สื่อ หรือตัวกลางการสื่อสารข้อมูล (communication media) ถือว่าเป็นองค์ประกอบ
สาคัญของการสื่อสารข้อมูล เพราะการเลือกใช้สื่อที่เหมะสม ทาให้เกิดประสิทธิภาพในการ
สื่อสารข้อมูลและประหยัดต้นทุน ตัวกลางหรือสื่อที่ใช้ในการสื่อสารแบ่งได้เป็น 2 ประเท
ใหญ่ๆ ดังนี้
สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย
สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย (wired media) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า guided media ซึ่งก็คือ
สื่อที่สามารถบังคับให้สัญญาณข้อมูลเคลื่อนที่ไปในทิศทางที่กาหนดได้แบ่งเป็น 3 ชนิด ดังนี้
1.สายคู่บิดเกลียว (twisted pair cable)
ลักษณะทางกายภาพ : สายคู่บิดเกลีบวเป็นสายสัญญาณไฟฟ้านาข้อมูลได้ทั้งแอนะล็อก
และดิจิทัล ลักษณะคล้ายสายไฟทั่วไป ราคาไม่แพงมาก น้าหนัหเบา ติดตั้งได้ง่าย ภายในสายคู่
บิดเกลียวจะประกอบด้วยสายทองแดงพันกันเป็นเกลียว เป็นคู่ๆ ซึ้งอาจจะมี 2,4 หรือ 6 คู่ สายคู่
บิดเกลียวแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
* แบบไม่มีชั้นโลหะห่อหุ้ม เรียกว่า unshielded twisted pair หรือเรียกย่อๆว่า สาย usp
* แบบมีชั้นโลหะห่อหุ้ม เรียกว่า shielded twisted pair หรือเรียกย่อๆว่า stp ซึ่งภายในสายมี
โลหะห่อหุ้มอีกชั้น โลหะจะทาหน้าที่ป้องกันสัญญาณรบกวนที่มา
จากภายนอก
คุณสมบัติ : เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวประกอบด้วยสายทองแดงพันเป็นเกลียว การพันกัน
เป็นเกลียวทาเพื่อรบการรบกวนจากสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียง
ในสายเคบิลเดียวกันหรือภายนอกลงได้
ความถี่ในการส่งข้อมูล : 100 เฮิรตซ์ (Hz) ถึง 5 เมกะเฮิรตซ์ (MHz)
ความเร็วในการส่งข้อมูล : 1 ล้านบิตต่อวินาที (Mbps)
2.สายโคแอกเชียล (coaxial cable)
ลักษณะทางกายภาพ : สายโคแอกเชียล เป็นสายสัญญาณไฟฟ้านาข้อมูลได้ทั้งแอนะล็อก
และดิจิทัลเช่นเดียวกับสายคู่บิดเกลียว ลักษณะคล้ายสายเคเบิคทีวี โดยภายในมีตัวนาไฟฟ้าเป็น
แกนกลางและห่อหุ้มด้วยฉนวนเป็นชั้นๆตัวนาโลหะทาหน้าที่ส่งสัญญาณ ส่วนฉนวนทาหน้าที่
ป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอก
คุณสมบัติ : สายโคแอกเชียลมีฉนวนห่อหุ้ม
หลายชั้น ทาให้ป้องกันสัญญาณรบกวนได้
มากกว่าสายคู่บิดเกลียว ส่งข้อมูลได้ระยะ
ทางไกล และมีช่วงความกว้างในการส่ง
ข้อมูลมาก ทาให้ส่งข้อมูลด้วยอัตราเร็ว มีราคาสูงกว่าสายคู่บิดเกลียว
ความถี่ในการส่งข้อมูล : 100 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ถึง 500 เมกะเฮิรตซ์ (MHz)
ความเร็วในการส่งข้อมูล : 1 ล้านบิตต่อวินาที (Mbps) ถึง 1 พันล้านบิตต่อวินาที (Gbps)
3.สายใยแก้วนาแสง (optical fiber cable)
ลักษณะทางกายภาพ : สายใยแก้วนาแสง ภายในสายประกอบด้วย แกนกลางทาจากใย
แก้วนาแสง ซึ่งเป็นท่อแก้วหรือท่อซิลิกาหลอมละลาย และห่อหุ้มด้วยวัสดุป้องกันแสง สัญญาณ
ที่ส่งผ่านสายใยแก้วนาแสง คือ แสง ดังนั้น ข้อมูลจะถูกแปลงเป็นเเสงที่มีความเข้มของแสงต่าง
ระดับกัน เพื่อส่งผ่านสายใยแก้วนาแสง
คุณสมบัติ : เนื่องจากสายใยแก้วนาเเสงนาสัญญาณที่เป็นแสง ดังนั้นเเสงมีการเคลื่อนที่
เร็วมาก การส่งข้อมูลผ่านสายใยแก้วนาเเสงจึงทาการส่งได้เร็วเท่ากับความเร็วแสง สิ่งรบกวน
จากภายนอกมีเพียงแสงเท่านั้น ดังนั้นสัญญาณรบกวนจากภายนอกจึงมีน้อยมาก แต่ราคาของ
สายใยแก้วนาแสงมีราคาสูง และการติดตั้งเดินสายทาได้ยากกว่าสายประเภทอื่นๆ ส่วนใหญ่การ
เดินสายจะเดินใส่ท่อลงใต้ดินเพื่อป้องกันแสงรบกวน
ความเร็วในการส่งข้อมูล : 10 ล้านบิตต่อ
วินาที (Mbps) ถึง 2 พันล้านบิตต่อวินาที (gbps)
สื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย
สื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย (wireless media) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งคือ unguided media คือ
สื่อที่ไม่สามารถกาหนดทิศทางให้ข้อมูลเดินทางไปในทิศทางที่ต้องการได้อากาศเป็นสื่อหรือ
ตัวกลางในการนาข้อมูลไปยังปลายทางชนิดหนึ่ง การสื่อสารโดยใช้อากาศเป็นตัวกลางมี
ลักษณะการสื่อสาร 4 ประเภท ดังนี้
1.แสงอินฟราเรด
การสื่อสารโดยการส่งด้วยแสงอินฟราเรด (infrared) จะใช้ในการสื่อสารระยะทางใกล้ๆ
เช่น การใช้แสงอินฟราเรดจากเครื่องรีโมทคอนโทรลไปยังเครื่องรับวิทยุและโทรทัศน์ การส่ง
ข้อมูลจากโทรศัพท์มือถือไปยังมือถือด้วยกันเอง หรือระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา
เนื่องจากแสงอินฟราเรดไม่สามารถทะลุผ่านวัตถุทึบแสงได้ดังนั้นไมสามารถส่งข้อมูลในระยะ
ทางไกลได้
2.สัญญาณวิทยุ
การสื่อสารข้อมูลโดยการส่งสัญญาณวิทยุ (radio wave) ที่มีความถี่ต่างๆกัน สามารถ
ส่งไปได้ในระยะทางไกลๆ หรือในสถานที่ที่ไม่สามารถใช้สายส่งได้แต่เนื่องจากใช้อากาศเป็น
ตัวกลางในการสื่อสาร ดังนั้นเมื่อสภาพอากาศไม่ดี จึงมีผลต่อสัญญาณวิทยุที่ทาการส่งออกไป
สัญญาณวิทยุมีหลายความถี่ ซึ่งใช้ประโยชน์แตกต่างกัน เช่น สัญญาณที่ความถี่ 300 กิโลเฮิรตซ์
(KHz) -3 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ใช้ส่งสัญญาณโทรทัศน์ช่อง 3,5,7,9 วิทยุสายการบิน เป็นต้น
3.ระบบไมโครเวฟ
ระบบไมโครเวฟ (microwave) เป็นการสื่อสารไร้สายโดยการส่งสัญญาณป็นคลื่น
ไมโครเวฟจากเสาไมโครเวฟต้นหนึ่งไปยังเสาไมโครเวฟที่ตั้งอยู่ในระยะทางที่ไกลออกไป
เนื่องจากทิศทางการส่งข้อมูลระหว่างเสาไมโครเวฟ 2 ต้น ส่งในทิศทางที่เป็นเส้นตรง หรือ
เรียกว่าระยะเส้นสายตา (line of sight) ดังนั้นถ้าระหว่างเส้นทางการส่งข้อมูลมีสิ่งกีดขวางก็จะ
ไม่สามารถส่งสัญญาณได้ดังนั้นจึงต้องมีการติดตั้งจานรับส่งเป็นสถานีทวนสัญญาณ (repeater
station) เพื่อเป็นจุดส่งสัญญาณต่อไปยังเสาไมโครเวฟต้นต่อไป ซึ่งเป็นลักษณะการสื่อสารแบบ
ส่งสัญญาณต่อเนื่องเป็นช่วงๆไป โดยปกติคลื่นไมโครเวฟจะถูกส่งได้ไกลประมาณ 20-30 ไมล์
คลื่นไมโครเวฟ จะถูกรบกวนได้จากสภาพอากาศที่ไม่ดี เช่น ฝนตก ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า เป็นต้น
คลื่นไมโครเวฟมีความถี่สูงถึง 2 ล้านรอบ (MHz) ถึง 40 พันล้านรอบต่อวินาที (GHz)
สามารถส่งข้อมูลได้ในปริมาณมากถึง 1 ล้านบิตต่อวินาที (Mbps) ถึง 10 พันล้านบิตต่อวินาที
(Gbps)
ข้อดีของการสื่อสารด้วยระบบไมโครเวฟ คือ สามารถทาการสื่อสารระยะทางไกลๆได้
โดยไม่ต้องเดินสายให้ยุ่งยาก และสามารถส่งข้อมูลได้ในปริมารมาก แต่ข้อเสียคือ คลื่น
ไมโครเวฟถูกรบกวนได้ง่ายจากสภาพอากาศที่แปรปรวน และมีค่าติดตั้งเสาและจานรับและส่ง
ที่มีราคาแพง
4.การสื่อสารผ่านดาวเทียม
เมื่อต้องการทาการสื่อสารในระยะทางที่ไกลออกไป การเชื่อมต่อโดยใช้สายเคเบิลไม
สามารถทาได้การสื่อสารด้วยระบบไมโครเวฟก็ต้องเสียค่าใช้จ่ายมากและทาการติดตั้งยาก
ดังนั้นคาตอบของการสื่อสารในระยะทางไกลอีกวิธีหนึ่ง คือ การสื่อสารผ่านดาวเทียม (satellite
communication) การสื่อสารดาวเทียม เป็นการสื่อสารจากพื้นโลกไปสู่ดาวเทียม โดยบนพื้นโลก
จะมีสถานีส่งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียมที่โคจรอยู่นอกโลก ซึ่งจะทาหน้าที่ทวนสัญญาณและ
กระจายสัญญาณส่งกลับมายังสถานีรับบนพื้นโลก โดยจะทาการส่งดาวเทียมขึ้นไปอยู่ห่างจาก
พื้นโลกประมาณ 22.000 ไมล์ด้วยระยะทางการส่งข้อมูลระหว่างโลกและดาวเทียมที่อยู่ไกลกัน
มากทาการส่งข้อมูลมีความล่าช้า (dalay) การสื่อสารผ่านดาวเทียมเหมาะสมกับการสื่อสาร
ระยะไกลมากๆ เช่น การสื่อสารระหว่างประเทศ
มาตราฐานของระบบเครือข่ายเฉพาะที่ (LAN)
ระบบ LAN ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันทั่วไปมีฮาร์ดแวร์ที่ยึดมาตรฐานของ
สถาบันวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของสหรัส หรือ IEEE (Institute of Electrical
and Electronics Engineering) โดยสามารถแบ่งได้ดังนี้
อีเทอร์เน็ต (Ethernet)
อีเทอร์เน็ต (Eternet) เป็นระบบ LAN ที่พัฒนาขึ้นโดย 3 บริษัทใหญ่คือบริษัท
Xerox Corporation, Digital Equipment Corporation (DEC) และ Intel ในปี ค.ศ 1976
เริ่มจากศูนย์วิจัย PARC (Palo Alto Research Center ของ Xerox) ซึ่งถูกจัดเป็นมาตรฐาน
รหัส 802.3 ของ IEEE ปัจจุบันมีการใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยในระยะแรกอีเทอร์เน็ตใช้
สาย Coaxial เป็นหลักต่อมาได้พัฒนาและเปลี่ยนไปใช้สายแบบ UTP(Unshielded
Twisted Pair) มากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมีราคาและสามารถติดตั้งได้ง่าย รวมถึงความเร็ว
ในการรับ-ส่งข้อมูลถูกทาให้เพิ่มขึ้นจาก 10Mbps ไปเป็น 100-1000 Mbps(1 Gbps) ใน
ปัจจุบันและอาจถึง10 Gbps
ลักษณะสาคัญของอีเทอร์เน็ต คือ ข้อมูลทุกอย่างจะถูกส่งผ่านตัวกลางที่เชื่อม
ระหว่างทุกๆ เครื่อง ซึ่งก็คือสาย Coaxial นั่นเอง ดังนั้น Ethernet ในยุคแรกจึงใช้การต่อ
สายแบบบัส (Bus) ที่วิ่งผ่านทุกเครื่องและต่อมาค่อยๆเปลี่ยนไปสู่การต่อแบบดาว (Star)
ที่รวมสายเข้าศูนย์กลาง เมื่อมีการใช้สาย UTP และต่อผ่านอุปกรณ์ฮัป (Hub) มาตรฐานที่
สาคัญของ Ethernet ได้แก่ 10Base-5, 10Base-2,10Base-T โดยรหัสแต่ละตัวมี
ความหมาย
ความเร็ว เป็นตัวบอกความเร็วสูงสุดที่ระบบทาได้ในกรณีที่ไม่มีอุปสรรคใดๆ มา
ทาให้ความเร็วลดลง โดยในระบบทางานจริงๆ ไม่สามารถทาได้ปัจจุบันมีที่ใช้กันคือ
10, 100, 1000 เมกะบิตต่อวินาที
วิธีส่งสัญญาณ เป็นตัวบอกลักษณะการส่งสัญญาณทางไฟฟ้า จะมี 2 ลักษณะคือ
Baseband และ Broadband โดย Baseband คือวิธีการส่งสัญญาณแบบดิจิทัล 0 และ 1 จะ
ไม่มีการผสมสัญญาณนี้เข้ากับสัญญาณความถี่สูงอื่นใด ส่วน Broadband คือ การส่ง
สัญญาณแบบอนาล็อก ที่มีการผสมสัญญาณระหว่างสัญญาณข้อมูลแบบอนาล็อกกับ
สัญญาณคลื่นพา (Carrier Signal) เพื่อให้ส่งได้ไกลและมีความเพี้ยนน้อยกว่าแบบแรก
สายที่ใช้ รหัสที่ใช้แต่ละตัวมีความหมายดังนี้
5 หมายถึง การใช้สายแบบ Thick coaxial ซึ่งมีขนาดใหญ่โยงถึงกัน สายแบบนี้ลากไป
ไกลได้ไม่เกิน 500 เมตร จึงใช้เลข 5
2 หมายถึง การใช้สายแบบ Thin coaxial ซึ่งมีขนาดเล็กโยงถึงกัน สายแบบนี้ลากไปไกล
ได้ไม่เกิน 200 เมตร จึงใช้เลข 2
T หมายถึง การใช้สาย UTP (Unshielded Twisted-Pair) แบบที่เรียกว่า Category 5 (CAT
5) โดยทาการต่อเชื่อมทุกเครื่องเข้าหาอุปกรณ์รวมสายหรือ hub สายแบบนี้ลากไปไกล
ได้ไม่เกิน 100 เมตร
F เป็นระบบที่ใช้สาย Fiber-optic ซึ่งสามารถลากไปได้ไกลหลายร้อยเมตรขึ้นไป
ฟาสต์อีเทอร์เน็ต และ Gigabit Ethernet
Ethernet ในปัจจุบันได้รับการพัฒนาให้มีความเร็วเพิ่มจาก 10 Mbps ขึ้นเป็น 100
และ 1000 Mbps หรือกว่านั้น ซึ่งถูกนามาใช้กับการส่งข้อมูลขนาดใหญ่หรือภาพ
(Image) รวมทั้งข้อมูลที่ต้องรับส่งให้ได้ตามเวลาจริง (Real-time) เช่น ภาพเคลื่อนไหว
และเสียง โดยมาตรฐานของ Ethernet ความเร็วสูงจัดเป็นกลุ่มดังนี้
100Base-T เป็นระบบที่พัฒนาโดยใช้สายที่ดีขึ้นกว่า 10Base-T เดิม คือ ใช้เป็นสาย
UTP ที่ดีกว่า เช่นสาย CAT5+ หรือ CAT5e โดย Hub ต้องรองรับความเร็ว 100Mbps
ด้วย ระบบเครือข่าย LAN รุ่นใหม่จะใช้มาตรฐานนี้เป็นหลัก โดยสายที่ใช้กับระบบ
100Base-T นี้จะแยกรับส่งข้อมูลเป็น 4 คู่สาย ด้วยความเร็วคู่สายละ 25 Mbps รวมเป็น
25 x 4 = 100Mbps
Gigabit Ethernet หรือเรียกกันเป็น 1000Base-T (สาย UTB) หรือ 1000Base-F
(สาย Fiber optic) เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่จะทาให้สามารถส่งข้อมูลได้ในระดับความเร็ว
1000 Mbps หรือ 1 Gbps ซึ่งกาลังจะเป็นมาตรฐานใหม่ของระบบเครือข่ายสาหรับงานที่
ต้องการความเร็วสูงมาก เช่น งานกราฟิก
10 Gigabit Ethernet เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่จะสามารถรับส่งข้อมูล ได้ในระดับ
ความเร็ว 10000 Mbps หรือ 10 Gbps คาดว่าระยะแรกจะใช้กับการเชื่อมต่อระหว่างเมือง
หรือ WAN แต่ต่อไปก็คงเข้ามาอยู่ในระดับเครื่องเซิร์ฟเวอร์และเดสก็ท็อปตามลาดับ
โทเคนริง (Token Ring)
เป็นการต่อ LAN ในแบบวงแหวน (Ring) โดยมีวิธีควบคุมการส่งข้อมูลแบบ
Token-passing ที่พัฒนาขึ้นโดยบริษัทไอบีเอ็ม โดยในรุ่นแรกๆจะมีความเร็วเพียง 4
Mbps แต่ต่อมาได้ปรับปรุงเป็น 16Mbps จุดอ่อนของ Token-Ring คือ ถ้าสายเส้นใดเส้น
หนึ่งขาดวงแหวน จะไม่ครบวงและทางานไม่ได้
FDDI (Fiber Distributed Data Interface)
FDDI เป็นมาตรฐานการต่อระบบเครือข่ายโดยใช้สาย Fiber optic ซึ่งสามารถ
รับส่งข้อมูลได้ที่ความเร็วสูงถึง 100 Mbps เท่ากับ Fast Ethernet ลักษณะของ FDDI จะ
ต่อเป็นวงแหวน โดย FDDI เหมาะที่จะใช้เป็น backbone ที่เชื่อมต่อระบบ LAN หลายๆ
วงเข้าด้วยกัน โดยแต่ละวง LAN จะต้องมีตัวรวมสาย (concentrator) หรืออุปกรณ์
Router ที่ใช้ต่อระหว่าง LAN ทั้งวงเข้าเป็นสถานี
ในวงของ FDDI มีสายสองชั้นเดินคู่ขนานกัน เพื่อสารองในกรณีเกิดสายขาดขึ้น
วงจรจะได้ตัดส่วนที่ขาดออกแล้ววนสายที่เหลือให้ครบรอบเป็น ring ตามเดิม ลักษณะ
การรับส่งข้อมูลของ FDDI ก็ใช้วิธี Token-passing เช่น เดียวกับ Token Ring
Ethernet
ปัจจุบันมาตรฐาน IEEE 802.3 ได้เข้ามาแทนที่มาตรฐานดั้งเดิมของอีเทอร์เน็ตอย่าง
สมบูรณ์แล้ว กล่าวคือ คาว่าอีเทอร์เน็ตจะอ้างอิงถึงเครือข่ายที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของมาตรฐาน
IEEE 802.3 แต่ในบางครั้งเราอาจกล่าวได้ว่า IEEE 802.3 และอีเทอร์เน็ตไม่ใช่สิ่งเดียวกัน ในเชิง
เทคนิคแล้วคาตอบนี้ก็น่าจะถูก ซึ่งในช่วงหลายปีที่ผ่านมานั้น ถึงแม้อีเทอร์เน็ตจะเป็นมาตรฐาน
ดั้งเดิมของบริษัทซีร็อกซ์แต่ในช่วงราวปีค.ศ. 1985 IEEE ได้เริ่มพัฒนาโครงการ 802 ขึ้นมา และ
ได้มีการประกาศนามาตรฐาน 802.3 ออกมาใช้งาน ซึ่งมาตรฐาน IEEE 802.3 นั้นมีข้อแตกต่าง
เพียงเล็กน้อยในด้านรายละเอียด เมื่อเทียบกับมาตรฐานของอีเทอร์เน็ตจากบริษัทซีร็อกซ์ดังนั้น
ในปัจจุบันจึงมักมีการใช้คาว่าอีเทอร์เน็ต และ IEEE 802.3 ร่วมกัน ซึ่งหมายถึงเป็นคาที่สามารถ
ใช้แทนความหมายเดียวกันได้โดยอีเทอร์เน็ตจะอ้างถึงเครือข่ายต่างๆ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ
มาตรฐาน IEEE 802.3 นั่นเอง
ประวัติอีเทอร์เน็ต
ในปีค.ศ. 1973 บ็อบ เม็ทคาลเฟ (Bob Metcalfe) ได้คิดค้นระบบอีเทอร์เน็ตในการรับส่ง
ข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์และสามรถส่งข้อมูลไปยังเครื่องพิมพ์ได้หลังจากนั้นอีเทอร์เน็ตได้
ถูกพัฒนาต่อที่ PARC (Palo Alto Research Center) ซึ่งเป็นศูนย์วิจัยของบริษัทซีร็อก (Xerox)
รูปที่ 8-1 เป็นโครงสร้างของอีเทอร์เน็ตที่เม็ทคาลเฟออกแบบไว้คอมพิวเตอร์จะเชื่อมโยงกัน
เป็นเครือข่ายโดยทรานสซีฟเวอร์ (Transceiver) และแชร์สายสัญญาณสาหรับการรับส่งข้อมูล
รูปที่ 8-1 โครงสร้างของอีเทอร์เน็ตซึ่งออกแบบโดยเม็ทคาลเฟ ในปี ค.ศ. 19738 - 2
จุดประสงค์ของการสร้างอีเทอร์เน็ตในตอนแรกนั้นเพื่อให้นักวิจัยสามารถแชร์ข้อมูลร่วมกันได้
เท่านั้นไม่ใช่เป็นการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ในสมัยแรกจะใช้สายโคแอ็กซ์แบบหนา (Thick
Coax) เป็นสายสัญญาณในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้น ในตอนนี้อีเทอร์เน็ตถือป็นเทค
โนโลยีที่น่าทึ่งมากในการใช้คอมพิวเตอร์ในสมัยนั้น เพราะคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่อง
เมนเฟรมที่มีราคาแพงมาก มีน้อยคนที่สามารถซื้อระบบเฟรมมาใช้และคนส่วนใหญ่จะไม่รู้จัก
การใช้เมนเฟรม แต่มีการพัฒนาอีเทอร์เน็ตทาให้การใช้คอมพิวเตอร์แพร่หลายมากขึ้นในปี 1973
เม็ทคาลเฟได้เขียนอธิบายระบบเครือข่ายที่มีการพัฒนาจากเครือข่ายอโลฮา (Aloha) ซึ่งได้ถูก
พัฒนาที่มหาวิทยาลัยฮายวาย ในทศวรรษ 1960 โดยนอร์แมน แอ็บแรมสัน(Norman Abramson)
และเพื่อนร่วมงาน โดยได้พัฒนาวิทยุสื่อสารระหว่างเกาะต่างๆ การพัฒนานี้เป็นการพัฒนาเพื่อ
ระบบแชร์สื่อกลางการรับส่งข้อมูลในที่นี้คืออากาศที่เป็นสื่อนาคลื่นวิทยุนั่นเองในช่วงแรกนั้น
อีเทอร์เน็ตเป็นลิขสิทธิ์ของบริษัทซีร็อกซ์บริษัทเดียวเท่านั้น ต่อมามาตรฐานอีเทอร์เน็ตที่
ความเร็ว 10 Mbps ได้ประกาศใช้เมื่อปี 1980 โดยความร่วมมือของ 3 บริษัท คือ DEC–Intel-
Xerox เรียกสั้นว่า DIX และในขณะเดียวกัน IEEE ก็ได้พัฒนามาเป็นอีเทอร์เน็ตเช่นกัน คือ
มาตรฐาน IEEE 802.3 ซึ่งได้พัฒนามาจากมาตรฐานอีเธอร์เน็ตของ DIX มาตรฐานของ IEEE ถูก
ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี 1985 และต่อมา ISO (International Organization for Standardization) ก็
ยอมรับเอามาตรฐาน IEEE 802.3 นี้เป็นมาตรฐานอีเทอร์เน็ตนานาชาติ ทาให้บริษัทใดก็ได้
สามารถผลิตอุปกรณ์อีเทอร์เน็ตโดยที่ไม่ต้องเสียลิขสิทธิ์ให้กับใคร
Token-Ring
เป็นการต่อ LAN ในรูปแบบ Ring และใช้การควบคุมแบบ Token-Passing ซึ่งพัฒนาขึ้น
โดยบริษัท IBM โดยในรุ่นแรกๆ จะมีความเร็วเพียง 4 Mbps แต่ต่อมาได้ปรับปรุงเป็น 16 Mbps
สายที่ใช้จะเป็นเคเบิลแบบพิเศษ มี 2 คู่ ต่อเข้ากับอุปกรณ์รวมสายที่เรียกว่า MAU (Multiple
Access Unit) ซึ่ง 1 ตัว ต่อได้8 เครื่อง และพ่วงระหว่าง MAU แต่ละตัวเข้าด้วยกันได้อีก เกิดเป็น
ลักษณะที่เห็นลากสายจาก MAU ไปยังแต่ละเครื่องเหมือนกับเครือข่ายแบบ Star ขึ้น แต่ถ้าไล่
สายดูจริงๆ จะพบว่ายังเป็นวงแหวนหรือ Ring อยู่
จุดอ่อนของ Token-Ring คือ ถ้าสายเส้นใดเส้นหนึ่งขาด Ring จะไม่ครบวงจรและทางาน
ไม่ได้ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหานี้ บริษัท IBM ผู้คิดค้น Token-Ring จึงออกแบบสายและอุปกรณ์ให้มี
ลักษณะพิเศษ คือ มีสายสารองในตัวเป็น 2 ชุด เมื่อมีปัญหาสายในวงเกิดชารุดบางช่วงหรือบาง
เครื่องไม่ทางาน สายส่วนที่เหลือกับอุปกรณ์ MAU จะเปลี่ยนลักษณะการต่อสายให้กลับเป็นวง
แบบ 2 ชั้น วนอ้อมสายส่วนที่ขาดไป ทาให้ระบบสามารถทางานต่อได้โดยไม่ติดขัด
FDDI
FDDI (Fiber Distribution Data Interface) เป็นเครือข่ายแบบส่งผ่านโทเคนและมีแบนด์
วิธที่ 100 Mbps โดยใช้สายใยแก้วนาแสงต่อสถานีเป็นวงแหวนสองวง ส่วนใหญ่จะใช้ FDDI
เป็นแบ็คโบนของเครือข่ายเนื่องจากแบนด์วิธที่สูง และสามารถเชื่อมต่อสถานีได้ไกลกว่าสาย
ทองแดงมาก ล่าสุดได้มีการพัฒนา CDDI (Copper Distribution Data Interface) โดยใช้สายคู่
เกลียวบิตแทนสายใยแก้วนาแสงแต่ยังใช้โปรโตคอลของ FDDI ในตอนนี้เราจะเน้นที่ FDDI
และจะขอกล่าวโดยคร่าวๆเกี่ยวกับ CDDI
FDDI จะใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อสถานีเป็นวงแหวนสองวงโดยทิศทางการไหลของ
ข้อมูลในวงแหวนทั้งสองวงจะตรงกันข้ามกัน วงแหวนหนึ่งจะทาหน้าที่เป็นเส้นทางหลักในการ
รับส่งข้อมูล ส่วนวงที่สองจะเป็นเส้นทางสารอง การที่ออกแบบ FDDI ให้มีแบบนี้ก็เพื่อเพิ่ม
ความเชื่อถือได้และความแข็งแรงให้กับเครือข่าย
มาตรฐาน FDDI
โปรโตคอลส่วนที่เป็น FDDI จะอยู่ในชั้นฟิสิคอลเลเยอร์และดาต้าลิงค์เลเยอร์ของแบบ
อ้างอิง OSI เท่านั้น FDDI จะแบ่งโปรโตคอลอกเป็น 4 ส่วน ซึ่งเมื่อทางานร่วมกันทาให้
โปรโตคอลที่อยู่เหนือกว่า เช่น TCP/IP สามารถส่งผ่านข้อมูลไปบนสายไฟเบอร์ได้กาหนด 4
อย่างของ FDDI คือ
- MAC (Media Access Control) : ในส่วน MAC จะกาหนดเกี่ยวกับการเข้าถึงสื่อกลางรับส่ง
ข้อมูล และรวมถึงรูปแบบของเฟรมข้อมูล (Cyclic Redundancy Check หรือ CRC)และกลไก
เกี่ยวกับการกู้คืนข้อมูลที่เกิดข้อผิดพลาด
- PHY (Physical Layer Protocol) :ในส่วนของPHY จะกาหนดเกี่ยวกับขั้นตอนการเข้ารหัส
ข้อมูล (Data Encoding Dependent) , สัญญาณนาฬิกา และการจัดเฟรมข้อมูล
- PMD (Physical-Medium Dependent) : ส่วน PMD จะกาหนดเกี่ยวกับคุณสมบัติของ
สายสัญญาณที่ใช้ซึ่งจะรวมถึงสายไฟเบอร์, ระดับกาลังของสัญญาณ, อัตราการเกิดข้อผิดพลาด,
ส่วนต่างๆ ของไฟเบอร์ และหัวเชื่อมต่อที่ใช้
- SMT (Station Management) : ในส่วน SMT จะกาหนดเกี่ยวกับลักษณะการเชื่อมต่อกันของ
แต่ละสถานี ข้อกาหนดเกี่ยวกับการควบคุมที่เชื่อมต่อเข้ากับวงแหวน เช่น การเพิ่มสถานี, การนา
สถานีออกจากเครือข่าย, การแยกจุดเสียและการกู้คืน, การกาหนดค่าเกี่ยวกับเวลาและการเก็บ
ค่าสถิติต่างๆ
ชุดโปรโตคอล FDDI
จุดประสงค์หลักของ FDDI ก็เหมือนกับอีเทอร์เน็ตและโทเคนริงคือ จะให้บริการกับ
โปรโตคอลที่อยู่เหนือกว่า เช่น TCP/IP ในการส่งข้อมูลผ่านอุปกรณเครือข่ายและสายสัญญาณ
Wireless LAN
ระบบเครือข่ายท้องถิ่นไร้สาย หรือ WLAN (Wireless LAN) คือระบบที่สื่อสารข้อมูลที่
มรความยืดหยุ่นสูง ส่วนใหญ่จะนิยมติดตั้งเพิ่มเติมแทนที่ระบบเครือข่ายท้องถิ่นแบบใช้
สายสัญญาณ ระบบเครือข่ายท้องถิ่นไร้สายจะใช้คลื่นวิทยุ หรือ RF (Radio Frequency) เป็น
สัญญาณ และใช้อากาศเป็นตัวนาสัญญาณ
1. โทโปโลยีของ WLAN
อาจเป็นแบบธรรมดาหรืออาจเป็นแบบซับซ้อนก็ได้โดยแบบที่ง่ายที่สุดก็โดยการ
เชื่อมต่อกันของคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง ที่ติดตั้งเน็ตเวิร์คการ์ดแบบไร้สาย ซึ่งเรียกว่า “เครือข่าย
แบบเพียร์ทูเพียร์” ส่วนเครือข่ายผสมระหว่างเครือข่ายไร้สายกับใช้สาย จุดที่เชื่อมต่อระหว่าง
สองเครือข่ายนี้จะเรียก “แอ็กเซสส์พอยต์หรือ AP (Access Point) ” หรืออาจเรียกว่าฮับ (Hub) ก็
ได้
1.1 เทคโนโลยี WLANผู้ผลิตอุปกรณ์เครือข่าย WLAN สามารถที่จะใช้เทคโนโลยีหลาย
ประเภท ซึ่งแต่ละประเภทก็มีข้อดีข้อเสียที่ต่างกัน
1.1.1 เทคโนโลยี Narrowband คลื่นวิทยุที่ใช้ส่งข้อมูลสาหรับเทคโนโลยีนี้จะใช้เพียง
ความถี่เดียว ระบบนี้จะพยายามใช้ช่องความถี่ในการส่งสัญญาณให้แคบมากที่สุด
1.1.2 เทคโนโลยี Spread Spectrum เทคโนโลยีนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้
- Frequency-Hopping Spread Spectrum (FHSS) เทคโนโลยีจะใช้สัญญาณแบบแนโรว์แบนด์
แต่จะทาการเปลี่ยนความถี่ตามลาดับทั้งฝั่งรับและฝั่งส่งให้เข้าใจตรงกัน
- Direct-Sequence Spread Spectrum (DSSS) จะใช้ช่วงความถี่ขนาดกว้างในการส่งสัญญาณ
แต่จะมีวิธีการกู้คืนข้อมูลด้วยการบิตเพิ่มเติม ซึ่งจะเรียกว่าชิปปิ้งโค้ด (Chipping Code) ขนาด
โค้ดยิ่งยาวเท่าใดยิ่งทาให้ความเป็นไปได้ในการกู้คืนข้อมูงสูงมากขึ้น แต่ก็จะใช้แบนด์วิธเพิ่มขึ้น
1.1.3 เทคโนโลยี Infrared
เทคโนโลยีนี้จะใช้คลื่นอินฟราเรด สาหรับการส่งสัญญาณข้อมูล คลื่นอินฟราเรดนี้จะมีความถี่ที่
สูงมากซึ่งจะอยู่ใต้แสงที่มองเห็น คุณสมบัติของคลื่นนี้ก็จะเหมือนกับแสงคือ ไม่สามารถเดน
ทางผ่านวัตถุที่ทึบแสงได้ดังนั้นการใช้งานค่อนข้างน้อย และระยะการรับส่งสัญญาณยังได้ไม่
ไกล โดยเฉลี่ยจะอยู่ประมาณ 1 เมตร อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีนี้นิยมใช้กับอุปกรณ์รีโมท
คอนโทรลของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในบ้านส่วนใหญ่การใช้งานทางด้านเครือข่ายนั้นยังมี
น้อยแต่ก็เหมาะสาหรับการสร้างเครือข่ายย่อยที่ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงมากนัก
1.1.4 เทคโนโลยี Laser
สภาพแวดล้อมที่ใช้เลเซอร์นั้น เปรียบได้กับเครือข่ายที่ใช้ระบบสายไฟเบอร์โดยไม่ใช้สายไฟ
เบอร์อย่างไรก็ตาม LAN ส่วนใหญ่จะใช้LED (Light Emitting Diode) เนื่องจากเลเซอร์เป็นแสง
ที่มองเห็น ดังนั้นอุปกรณ์นี้จึงเป็นแบบไลน์ออฟไซต์(Light - of - Sight Diode)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
ระบบเครือข่ายไร้สาย
ระบบเครือข่ายไร้สาย หรือ ระบบเครือข่ายแบบ Wireless LAN หรือ WLAN เป็นการ
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายแบบไร้สาย (ไม่จาเป็นต้องเดินสายเคเบิ้ล) เหมาะสาหรับการ
ติดตั้งในสถานที่ที่ไม่สะดวกในการเดินสาย หรือในสถานที่ที่ต้องการความสวยงาม เรียบร้อย
และเป็นระเบียบ เช่น สนามบิน โรงแรม ร้านอาหาร เป็นต้น
หลักการทางานของระบบ Wireless LAN
การทางานจะมีอุปกรณ์ในการส่งสัญญาณ และกระจายสัญญาณ หรือที่เราเรียกว่า Access
Point และมี PC Card ที่เป็น LAN card สาหรับในการเชื่อมกับ access point โดยเฉพาะ การ
ทางานจะใช้คลื่นวิทยุเป็นการรับส่งสัญญาณ โดยมีให้เลือกใช้ตั้งแต่ 2.4 to 2.4897 Ghz และ
สามารถเลือก config ใน Wireless Lan (ภายในระบบเครือข่าย Wireless Lan ควรเลือก
ช่องสัญญาณเดียวกัน)
ระยะทางการเชื่อมต่อของระบบ Wireless LAN
ภายในอาคาร
1. ระยะ 50 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 11 Mbps
2. ระยะ 80 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 5.5 Mbps
3. ระยะ 120 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 2 Mbps
4. ระยะ 150 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 1 Mbps
ภายนอกอาคาร
1.ระยะ 250 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 11 Mbps
2. ระยะ 350 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 5.5 Mbps
3. ระยะ 400 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 2 Mbps
4. ระยะ 500 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 1 Mbps
การเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย Wireless LAN มี 2 ลักษณะ ดังนี้
1. การเชื่อมโยงระบบแบบ Ad-hoc (Peer to Peer)
โครงสร้างการเชื่อมโยงระบบแบบ Ad-hoc หรือ Peer to Peer เป็นการสื่อสารข้อมูล
ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ไร้สายและอุปกรณ์ต่าง ๆ ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป โดยที่ไม่มี
ศูนย์กลางควบคุมอุปกรณ์ทุกเครื่องสามารถสื่อสารข้อมูลถึงกันได้เอง ตัวส่งจะใช้วิธีการ
แพร่กระจายคลื่นออกไปในทุกทิศทุกทางโดยไม่ทราบจุดหมายปลายทางของตัวรับว่าอยู่ที่ใด
ซึ่งตัวรับจะต้องอยู่ในขอบเขตพื้นที่ให้บริการที่คลื่นสามารถเดินทางมาถึงแล้วคอยเช็คข้อมูลว่า
ใช่ของตน หรือไม่ ด้วยการตรวจสอบค่า Mac Address ผู้รับปลายทางในเฟรมข้อมูลที่
แพร่กระจายออกมา ถ้าใช่ข้อมูลของตนก็จะนาข้อมูลเหล่านั้นไปประมวลผลต่อไป
การเชื่อมโยงเครือข่ายไวร์เลสแลนที่ใช้โครงสร้างการเชื่อมโยงแบบ Ad-hoc ไม่สามารถ
เชื่อมโยงเข้าสู่ระบบเครือข่ายอีเธอร์เน็ตได้เนื่องจากบนระบบไม่มีการใช้สัญญาณเลย
2. การเชื่อมโยงระบบแบบ Infrastructure (Client/Server)
โครงสร้างการเชื่อมโยงระบบแบบ Infrastructure หรือ Client / Server มีข้อพิเศษกว่า
ระบบแบบ Ad-hoc ตรงที่มีแอ็กเซสพอยน์เป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยง (ทาหน้าที่คล้ายฮับ) และ
เป็นสะพานเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ไร้สายอุปกรณ์ไวร์เลสแลนเข้าสู่เคลือข่ายอีเธอร์เน็ตแลน
หลัก (Ethernet Backbone) รวมถึงการควบคุมการสื่อสารข้อมูลอุปกรณ์ไวร์เลสแลน
อุปกรณ์สาหรับการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย Wireless LAN
1. แลนการ์ดไร้สาย (Wireless LAN Card)
ทาหน้าที่ในการ แปลงข้อมูล ดิจิตอล ที่ได้จากการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้
เป็นคลื่นวิทยุแล้วส่งผ่านสายอากาศให้กระจายออกไป และทาหน้าที่ในการรับเอาคลื่นวิทยุที่
แพร่กระจายแปลงเป็น ข้อมูลดิจิตอล ส่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ประมวลผล Wireless LAN ที่
ผลิตออกมาจาหน่าย มีหลายรูปแบบแบ่งตามลักษณะช่องเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ได้ดังนี้
- แลนการ์ดแบบ PCI
- แลนการ์ดแบบ PCMCIA
- แลนการ์ดแบบ USB
- แลนการ์ดแบบ Compact Flash (CF)
2. อุปกรณ์เข้าใช้งานเครือข่าย (Wireless Access Point)
ทาหน้าที่เสมือน ฮับ เชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ไร้สายและอุปกรณ์ไวร์เลสแลนแบบต่าง ๆ
เข้าด้วยกัน อีกทั้งเป็นสะพานเชื่อมต่อ เครื่องไวร์เลสแลนเข้ากับเครื่องอีเธอร์เนตทาให้ระบบทั้ง
สองสามารถสื่อสารกันได้
3. สะพานเชื่อมโยงไร้สาย (Wireless Bridge)
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200เค้ก
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์supansa phuprasong
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5sawitri555
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Onanong Phetsawat
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายSisaketwittayalai School
 

What's hot (12)

บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ต
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Cloud computing & dropbox
Cloud computing & dropboxCloud computing & dropbox
Cloud computing & dropbox
 

Viewers also liked

Invesztitúra harc
Invesztitúra harcInvesztitúra harc
Invesztitúra harczsuzsimc3
 
ประกาศรับสมัคร
ประกาศรับสมัครประกาศรับสมัคร
ประกาศรับสมัครfindgooodjob
 
Поддержка индивидуально-личностного развития учащихся
Поддержка индивидуально-личностного развития учащихсяПоддержка индивидуально-личностного развития учащихся
Поддержка индивидуально-личностного развития учащихсяTagir Sagitov
 
Open Science - Handlungsfeld für Informationsinfrastrukturen
Open Science - Handlungsfeld für InformationsinfrastrukturenOpen Science - Handlungsfeld für Informationsinfrastrukturen
Open Science - Handlungsfeld für InformationsinfrastrukturenHeinz Pampel
 
Presentation to EDU 132: The Chamber & Networking
Presentation to EDU 132: The Chamber & NetworkingPresentation to EDU 132: The Chamber & Networking
Presentation to EDU 132: The Chamber & NetworkingKristen Smith
 
Appreciation letter-Rashi Resources
Appreciation letter-Rashi ResourcesAppreciation letter-Rashi Resources
Appreciation letter-Rashi ResourcesAchyut Das
 

Viewers also liked (13)

Karadag ulke raporu_2013
Karadag ulke raporu_2013Karadag ulke raporu_2013
Karadag ulke raporu_2013
 
Hong kong ulke_raporu_2013
Hong kong ulke_raporu_2013Hong kong ulke_raporu_2013
Hong kong ulke_raporu_2013
 
President Samir Geagea Program (Arabic)
President Samir Geagea Program (Arabic)President Samir Geagea Program (Arabic)
President Samir Geagea Program (Arabic)
 
Invesztitúra harc
Invesztitúra harcInvesztitúra harc
Invesztitúra harc
 
ประกาศรับสมัคร
ประกาศรับสมัครประกาศรับสมัคร
ประกาศรับสมัคร
 
Arnavutluk ulke raporu_2013
Arnavutluk ulke raporu_2013Arnavutluk ulke raporu_2013
Arnavutluk ulke raporu_2013
 
L'Orso in casa n.10 2014/2015
L'Orso in casa n.10 2014/2015L'Orso in casa n.10 2014/2015
L'Orso in casa n.10 2014/2015
 
Поддержка индивидуально-личностного развития учащихся
Поддержка индивидуально-личностного развития учащихсяПоддержка индивидуально-личностного развития учащихся
Поддержка индивидуально-личностного развития учащихся
 
Open Science - Handlungsfeld für Informationsinfrastrukturen
Open Science - Handlungsfeld für InformationsinfrastrukturenOpen Science - Handlungsfeld für Informationsinfrastrukturen
Open Science - Handlungsfeld für Informationsinfrastrukturen
 
Presentation to EDU 132: The Chamber & Networking
Presentation to EDU 132: The Chamber & NetworkingPresentation to EDU 132: The Chamber & Networking
Presentation to EDU 132: The Chamber & Networking
 
Almanya ulke raporu_2013
Almanya ulke raporu_2013Almanya ulke raporu_2013
Almanya ulke raporu_2013
 
Melfi medievale
Melfi medievaleMelfi medievale
Melfi medievale
 
Appreciation letter-Rashi Resources
Appreciation letter-Rashi ResourcesAppreciation letter-Rashi Resources
Appreciation letter-Rashi Resources
 

Similar to บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8chu1991
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkบทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkBeauso English
 
เครือข่าย..[1]
เครือข่าย..[1]เครือข่าย..[1]
เครือข่าย..[1]chawisa44361
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์kruumawan
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Toy Varintorn
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2singto momepoko
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3chanon555za
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3singto momepoko
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4chanon555za
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4singto momepoko
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chu1991
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chushi1991
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27sawalee kongyuen
 
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมThanatporn Boonta
 
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายสถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายThanatporn Boonta
 

Similar to บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์ (20)

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkบทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
 
เครือข่าย..[1]
เครือข่าย..[1]เครือข่าย..[1]
เครือข่าย..[1]
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์3
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์4
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์2
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Pp
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Ppอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Pp
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Pp
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
 
It 03
It 03It 03
It 03
 
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรม
 
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายสถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
 

More from galswen

บทที่6 1 17_36_ห้อง62
บทที่6 1 17_36_ห้อง62บทที่6 1 17_36_ห้อง62
บทที่6 1 17_36_ห้อง62galswen
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32galswen
 
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศgalswen
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1galswen
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8galswen
 
Test Upload
Test UploadTest Upload
Test Uploadgalswen
 

More from galswen (6)

บทที่6 1 17_36_ห้อง62
บทที่6 1 17_36_ห้อง62บทที่6 1 17_36_ห้อง62
บทที่6 1 17_36_ห้อง62
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32
 
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
Test Upload
Test UploadTest Upload
Test Upload
 

บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์

  • 1. บทที่9 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) รายชื่อสมาชิกกลุ่ม เจียระไน อินทรวิเชียร ม.6/6 เลขที่ 10 สุภาวดี พิทักษ์วรรัตน์ ม.6/6 เลขที่ 28 จิรสุตา บุญเจือ ม.6/6 เลขที่ 44
  • 2. ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ (Computer Network) คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเครื่องเชื่อมต่อกันโดยใช้สื่อกลาง และสื่อสาร ข้อมูลกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งทาให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถแลกเปลี่ยน ข้อมูลซึ่งกันและกันได้นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในเครือข่ายร่วมกันได้เช่น เครื่องพิมพ์ซีดีรอม สแกนเนอร์ ฮาร์ดดิสก์เป็นต้น แนวคิดในการสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้น เริ่มมาจากการที่ผู้ใช้ต้องการที่จะ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว คอมพิวเตอร์เดี่ยวๆ เป็นอุปกรณ์ที่มี ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลในปริมาณมากอย่างรวดเร็วอยู่แล้ว แต่ข้อเสียคือ ผู้ใช้ไม่ สามารถแชร์ข้อมูลนั้นกับคนอื่นอย่างมีประสิทธิภาพได้ก่อนที่จะมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์
  • 3. วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่าย วัตถุประสงค์ของการเลือกใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก็เพื่อ 1. สามารถใช้โปรแกรมและข้อมูลร่วมกันได้ ก็คือ เครื่องลูก(Client) สามารถเข้ามาใช้โปรแกรม ข้อมูล ร่วมกันได้จากเครื่องแม่ (Server) หรือ ระหว่างเครื่องลูกกับเครื่องลูกก็ได้เป็นการประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บโปรแกรม ไม่จาเป็นว่า ทุกเครื่องต้องมีโปรแกรมเดียวกันนี้ในเครื่อง ของตนเอง 2. เพื่อความประหยัด เพราะว่าเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า อย่างเช่นในสานักงานหนึ่งมีเครื่องอยู่ 30 เครื่อง หรือมากกว่านี้ ถ้าไม่มีการนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้จะเห็นว่าต้องใช้เครื่องพิมพ์อย่างน้อย 5 - 10 เครื่อง มาใช้งาน แต่ถ้ามีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้แล้วละก้อ ก็สามารถใช้อุปกรณ์ หรือ เครื่องพิมพ์ประมาณ 2-3 เครื่องก็พอต่อการใช้งานแล้ว เพราะว่าทุกเครื่องสามารถเข้าใช้ เครื่องพิมพ์เครื่องไหนก็ได้ผ่านเครื่องอื่น ๆ ที่ในระบบเครือข่ายเดียวกัน 3. เพื่อความเชื่อถือได้ของระบบงาน นับเป็นสิ่งที่สาคัญสาหรับการดาเนินธุรกิจ ถ้าทางานได้เร็วแต่ขาดความน่าเชื่อถือก็ถือว่าใช้ ไม่ได้ไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นเมื่อนาระบบ Computer Network มาใช้งาน ทาระบบงานมี ประสิทธิภาพ มีความน่าเชื่อถือของข้อมูล เพราะจะมีการทาสารองข้อมูลไว้เมื่อเครื่องที่ใช้งาน เกิดมีปัญหา ก็สามารถนาข้อมูลที่มีการสารองมาใช้ได้อย่างทันที 4. ประหยัดเวลา ค่าเดินทาง เมื่อต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ในที่ที่อยู่ห่างไกลกัน เช่น บริษัทแม่อยู่ที่ กรุงเทพ ส่วนบริษัท ลูกอาจจะอยู่ตามต่างจังหวัด แต่ละที่ก็มีการเก็บข้อมูล การเงิน ประวัติลูกค้า และอื่นๆ แต่ถ้า ต้องการใช้ข้อมูลของอีกที่หนึ่งจะเกิดความลาบาก ล่าช้า และไม่สะดวก จึงมีการนาหลักการของ Computer Network มาใช้งาน เช่น มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน หรือโปรแกรม ข้อมูล ร่วมกัน
  • 4. ประเภทของเครือข่าย เครือข่ายสามารถจาแนกออกได้หลายประเภทแล้วแต่เกณฑ์ที่ใช้เช่น ขนาด ลักษณะการ แลกเปลี่ยนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ เป็นต้น โดยทั่วไปการจาแนกประเภทของเครือข่ายมีอยู่ 3 วิธี 1. ใช้ขนาดทางกายภาพของเครือข่ายเป็นเกณฑ์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ 1.1 LAN (Local Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณที่ไม่กว้าง นัก อาจใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรืออาคารที่อยู่ ใกล้กัน เช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคาร สานักงาน คลังสินค้า หรือโรงงาน เป็นต้น การส่ง ข้อมูลสามารถทาได้ด้วยความเร็วสูง และมี ข้อผิดพลาดน้อย ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่นจึงถูก ออกแบบมาให้ช่วยลดต้นทุนและเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทางาน และใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน 1.2 MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับเมือง เป็นระบบเครือข่ายที่มีขนาดอยู่ระหว่าง Lan และ Wan เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้ ภายในเมืองหรือจังหวัดเท่านั้น การ เชื่อมโยงจะต้องอาศัยระบบบริการ เครือข่ายสาธารณะ จึงเป็นเครือข่ายที่ใช้ กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการ เชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร เครือข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการสื่อสารไม่สูง เนื่องจากมี สัญญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีที่ใช้กับเครือข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยง ระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนาแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล
  • 5. 1.3 WAN (Wide Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับประเทศ หรือเครือข่ายบริเวณกว้าง เป็นระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณ กว้าง เช่น ระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานทั่ว โลก เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรือ อุปกรณ์ที่อยู่ห่างไกลกันเข้าด้วยกัน อาจจะ ต้องเป็นการติดต่อสื่อสารกันใน ระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลกก็ได้ใน การเชื่อมการติดต่อนั้น จะต้องมีการต่อเข้ากับ ระบบสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพราะจะเป็นการ ส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ในการติดต่อสื่อสารกันโดยปกติมีอัตราการส่งข้อมูลที่ต่าและมี โอกาสเกิดข้อผิดพลาด การส่งข้อมูลอาจใช้อุปกรณ์ในการสื่อสาร เช่น โมเด็ม (Modem) มาช่วย 2. ใช้ลักษณะหน้าที่การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทดังนี้ 2.1 Peer-to-Peer Network หรือเครือข่ายแบบเท่าเทียม เป็นการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่อง จะ สามารถแบ่งทรัพยากรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นไฟล์หรือเครื่องพิมพ์ซึ่งกันและกันภายในเครือข่ายได้ เครื่องแต่ละเครื่องจะทางานในลักษณะที่ทัดเทียมกัน การเชื่อมต่อแบบนี้มักทาในระบบที่มี ขนาดเล็กๆ เช่น หน่วยงานขนาดเล็กที่มีเครื่องใช้ไม่เกิน 10 เครื่อง การเชื่อมต่อแบบนี้มีจุดอ่อน ในเรื่องของระบบรักษาความปลอดภัย แต่ถ้าเป็นเครือข่ายขนาดเล็ก และเป็นงานที่ไม่มีข้อมูลที่ เป็นความลับมากนัก เครือข่ายแบบนี้ ก็เป็นรูปแบบที่น่าเลือกนามาใช้ได้เป็นอย่างดี 2.2 Client-Server Network หรือเครือข่ายแบบผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ เป็นระบบที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องมีฐานะการทางานที่เหมือน ๆ กัน เท่าเทียมกัน ภายในระบบ เครือข่าย แต่จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ที่ทาหน้าที่เป็นเครื่อง Server ที่ทา หน้าที่ให้บริการทรัพยากรต่าง ๆ ให้กับ เครื่อง Client หรือเครื่องที่ขอใช้บริการ ซึ่งอาจจะต้อง เป็นเครื่องที่มีประสิทธิภาพที่ค่อนข้างสูง ถึงจะทาให้การให้บริการมีประสิทธิภาพตามไปด้วย
  • 6. 3. ใช้ระดับความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเกณฑ์ 3.1 อินเทอร์เน็ต (Internet) เครือข่ายสาธารณะ อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่ครอบคลุมทั่วโลก ซึ่งมีคอมพิวเตอร์เป็นล้านๆเครื่องเชื่อมต่อเข้ากับ ระบบและยังขยายตัวขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปี อินเทอร์เน็ตมีผู้ใช้ทั่วโลกหลายร้อยล้านคน และผู้ใช้ เหล่านี้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้อย่างอิสระ โดยที่ระยะทางและเวลาไม่เป็น อุปสรรค นอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถเข้าดูข้อมูลต่าง ๆ ที่ถูกตีพิมพ์ในอินเทอร์เน็ต ได้ อินเทอร์เน็ตเชื่อมแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกันไม่ว่าจะเป็นองค์กรธุรกิจ มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐบาล หรือแม้กระทั่งแหล่งข้อมูลบุคคล องค์กรธุรกิจหลายองค์กรได้ใช้อินเทอร์เน็ตช่วยในการทา การค้า เช่น การติดต่อซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ตหรืออีคอม เมิร์ช (E-Commerce) ซึ่งเป็นอีกช่องทางหนึ่งสาหรับการ ทาธุรกิจที่กาลังเป็นที่นิยม เนื่องจากมีต้นทุนที่ถูกกว่า และมีฐานลูกค้าที่ใหญ่มาก ส่วนข้อเสียของอินเทอร์เน็ต คือ ความปลอดภัยของข้อมูล เนื่องจากทุกคนสามารถ เข้าถึงข้อมูลทุกอย่างที่แลกเปลี่ยนผ่านอินเทอร์เน็ตได้ 3.2 อินทราเน็ต (Intranet) หรือเครือข่ายส่วนบุคคล ตรงกันข้ามกับอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายส่วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เช่น เว็บ, อีเมล, FTP เป็นต้น อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP สาหรับการรับส่งข้อมูลเช่นเดียวกับ อินเทอร์เน็ต ซึ่งโปรโตคอลนี้สามารถใช้ได้กับฮาร์ดแวร์หลายประเภท และสายสัญญาณหลาย ประเภท ฮาร์ดแวร์ที่ใช้สร้างเครือข่ายไม่ใช่ปัจจัยหลักของอินทราเน็ต แต่เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาให้ อินทราเน็ตทางานได้อินทราเน็ตสามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ในองค์กรได้หลายอย่าง ความง่ายในการตีพิมพ์บนเว็บทาให้เป็นที่นิยมในการประกาศข่าวสารขององค์กร เช่น ข่าว ภายในองค์กร กฎ ระเบียบ และมาตรฐาน การปฏิบัติงานต่าง ๆ เป็นต้น หรือแม้กระทั่งการเข้าถึง ฐานข้อมูลขององค์กรก็ง่ายเช่นกัน ผู้ใช้สามารถทางานร่วมกันได้ง่าย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • 7. 3.3 เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) หรือเครือข่ายร่วม เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) เป็นเครือข่ายกึ่งอินเทอร์เน็ตกึ่งอินทราเน็ต กล่าวคือ เอ็กส์ทราเน็ตคือ เครือข่ายที่เชื่อมต่อระหว่างอินทราเน็ตของสององค์กร ดังนั้นจะมีบางส่วนของเครือข่ายที่เป็น เจ้าของร่วมกันระหว่างสององค์กรหรือบริษัท การสร้างอินทราเน็ตจะไม่จากัดด้วยเทคโนโลยี แต่จะยากตรงนโยบายที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่ทั้งสององค์กรจะต้องตกลง กัน เช่น องค์กรหนึ่งอาจจะอนุญาตให้ผู้ใช้ของอีกองค์กรหนึ่งล็อกอินเข้าระบบอินทราเน็ตของ ตัวเองหรือไม่ เป็นต้น การสร้างเอ็กส์ทราเน็ตจะเน้นที่ระบบการรักษาความปลอดภัยข้อมูล รวมถึงการติดตั้งไฟร์วอลล์หรือระหว่างอินทราเน็ตและการเข้ารหัสข้อมูลและสิ่งที่สาคัญที่สุดก็ คือ นโยบายการรักษาความปลอดภัยข้อมูลและการบังคับใช้
  • 8. ข้อจากัดของระบบเครือข่าย 1. ลงทุนสูงและจัดการยุ่งยาก การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการจัดการระบบ เครือข่าย ต้องใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากซับซ้อน ต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ความชานาญ มีประสบการณ์ สูง จึงต้องใช้งบประมาณ การเริ่มต้นลงทุนสูงมาก อีกทั้งเทคโนโลยีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก จาเป็นต้องมีงบประมาณ เพื่อปรับปรุงระบบให้ทันสมัยอยู่เสมอ 2. การแบ่งทรัพยากรกันใช้นั้นอาจไม่สามารถใช้ทรัพยากรนั้นๆ ได้ทันทีทันใด เพราะหากมีการ เรียกใช้ทรัพยากรเดียวกันจากคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องพร้อมกัน เช่น การใช้เครื่องพิมพ์โดย เครื่องพิมพ์นั้นมีการใช้งานจากคอมพิวเตอร์ตัวอื่นอยู่ก่อนหน้าแล้ว งานพิมพ์ของเราก็จะต้อง เข้าคิวรอการทางาน 3. ขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ ระบบเครือข่ายปัจจุบัน ยังขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ด้าน ต่าง ๆ ทางานภายใต้สภาพแวดล้อม แบบเครือข่ายอยู่มาก เพราะการพัฒนา ต้องใช้ความรู้ความ ชานาญสูง ต้องใช้เวลาในการพัฒนา จึงจะสามารถสร้างซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ ได้ 4. การรักษาความปลอดภัย ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ยังขาดความปลอดภัยในด้านการ รักษาข้อมูลอยู่มาก มีโอกาสที่จะถูกผู้อื่นแอบเข้ามาเอาข้อมูลได้จากหลาย ๆที่ หรืออาจมีข้อมูล สูญหายได้ในขณะติดต่อสื่อสาร เนื่องจากมีข่าวสารในระบบอยู่มาก 5. ความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่า ในระบบเครือข่าย ระยะไกล เช่น อินเทอร์เน็ต การเรียกใช้ข้อมูลในไฟล์ ผ่านระบบเครื่อข่ายนั้นจะมีความเร็วที่ช้ากว่าการ เรียกใช้ข้อมูลกับฮาร์ดดิสก์ในเครื่องของตน ตัวกลาง นาที่ใช้ในการนาสัญญาณ ยังมีอัตราความเร็วในการ รับส่งข้อมูลต่า เมื่อเทียบกับการสื่อสารด้วยโทรศัพท์หรือ โทรทัศน์ โดยเฉพาะข้อมูลที่เป็นภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว เพราะไฟล์มีขนาดใหญ่มาก
  • 9. องค์ประกอบของเครือข่าย จะต้องมี 3 ประการนี้จึงจะเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่บนระบบเครือข่าย - เครื่องคอมพิวเตอร์ PC / Macintosh - เครื่องคอมพิวเตอร์เวอร์คสเตชัน 2. Physical Media หรือสื่อเชื่อมต่อทางกายภาพอัน ได้แก่ สาย (Cable) และ Hub หรืออุปกรณ์เชื่อมต่อต่างๆ 3. ระเบียบพิธีการติดต่อสื่อสาร (Protocol) คือระเบียบหรือข้อตกลง (rules) ที่ตั้งขึ้น เพื่อทาให้ผู้ที่จะสื่อสารกันเข้าใจกันและกัน ตัวอย่างเช่นสัญญาณธงที่ทหารเรือใช้สื่อสารกัน เป็นต้น
  • 10. อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ประกอบด้วยอุปกรณ์ประเภทต่าง ๆ ดังนี้ 1. ชนิดของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล (Types of Storage Devices) อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลสามารถสามารถแบ่งออกเป็น 2 แบบคือ 1.1 อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบแม็กเนติก (Magnetic Storage Devices) เป็นสื่อจัดเก็บข้อมูลที่มีลักษณะของสื่อแม่เหล็กประกอบด้วย - ดิสก์เก็ต ดิสก์เก็ตเป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้ร่วมกับเครื่องอ่าน/บันทึกดิสก์หรือที่เรียกว่า ดิสก์ไดร์ฟ ในปัจจุบันใช้ดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว ที่มีความจุ 1.44 เมกกะไบต์เป็นมาตรฐาน - ฮาร์ดดิสก์ ฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์จัดเก็บอุปกรณ์ที่นิยมใช้และจาเป็นต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ภายใน ฮาร์ดดิสก์จะมีกลไกของหัวอ่านและหัวบันทึกข้อมูลอยู่ในตัว ทาให้สามารถนาฮาร์ดดิสก์มาใช้ งานได้ทันที - เทปไดร์ฟ สาหรับเทปบันทึกข้อมูลในที่นี้หมายถึงเทป DAT (Digital Audio Tape) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ สามารถเก็บข้อมูลในปริมาณมาก 1.2 อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบอ็อปติคัล (Optical Storage Devies) เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลมาตรฐานที่เครื่องคอมพิวเตอร์ควรมีแล้ว โดยแผ่นซีดีนี้จะใช้แสง เลเซอร์ในการอ่านข้อมูล ซึ่งแตกต่างกับสื่อที่จัดเก็บด้วยสารแม่เหล็กหรือแบบแมกเนติก
  • 11. - เครื่องอ่านซีดี/ซีดีรอม โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ในปัจจุบันมักจะเขียนลงบนแผ่นซีดี เนื่องจากสะดวก กว่าการ จัดเก็บลงในดิสก์เก็ต กล่าวคือ ซีดีรอมสามารถเก็บข้อมูลได้สูงถึง 650 เมกกะไบต์หากเก็บใน แผ่นดิสก์ก็จะส่งผลให้มีจานวนดิสก์มากมายไม่สะดวก อีกทั้งอายุการใช้งานของซีดียาวนานกว่า อีกด้วย - เครื่องบันทึกซีดี (CD-RW/CD-R) สาหรับแผ่นซีดีที่นามาบันทึกนั้นเรียกว่า CD-R แผ่น CD-R สามารถบันทึกได้หลายครั้ง และ อ่านได้หลาครั้ง ส่วนแผ่น CD-ROM นั้นจะบันทึกได้เพียงครั้งเดียวและอ่านได้หลายครั้ง นอกจากเครื่องบันทึกซีดีสามารถบันทึก ข้อมูลลงแผ่น CD-R แล้ว ยังสามารถทาการอ่านข้อมูล จากแผ่น CD-ROM และ CD-R ทั่วไปได้ -เครื่องอ่านดีวีดี/ดีวีดีรอม แผ่นดีวีดีมีข้อดีตรงที่มีความจุสูงกว่าแผ่นซีดี โดยเฉพาะแผ่นซีดีที่บันทึกภาพยนต์หรือที่เรียกว่า Video CD นั้น จะมีภาพและเสียงที่ด้อยกว่าภาพยนตร์ที่บันทึกด้วยแผ่นดีวีดี แผ่น VCD ภาพยนตร์หนึ่งเรื่องอาจมีจานวน หลายแผ่นด้วยกัน ในขณะที่แผ่น DVD อาจมีเพียงแผ่นเดียว หรือไม่กี่แผ่น 2. อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับอินพุตข้อมูล - คีย์บอร์ด คีย์บอร์ดจัดเป็นอุปกรณ์นาเข้าชนิดแรกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันมีการออกแบบลักษณะต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมการใช้งาน รวมถึงการมีแป้นคีย์ลัดต่าง ๆ เข้ามาด้วย - เมาส์ เมาส์จัดเป็นอุปกรณ์ที่จาเป็นต่อการทางานในยุคนี้ โดยเฉพาะการใช้เมาส์เพื่อโต้ตอบ โปรแกรม ที่มีลักษณะ GUI เพื่อใช้ชี้ตาแหน่งบนจอภาพ, การเลือกด้วยการคลิกหรือการดับเบิ้ลคลิก รวมถึง การลาก (Dragging) เพื่อย้ายตาแหน่ง อุปกรณ์ทางเลือกที่ใช้ในการอินพุตข้อมูล (Alternative Methods of Input)
  • 12. - ปากกา เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อินพุตข้อมูลของเครื่องพีดีเอ (Personal Digital Assistants : PDA) ซึ่งใน บางครั้งอาจเรียกว่า “ สไตลัส (Stylus)” โดยมีลักษณะการทางานคล้ายกับเมาส์ - จอภาพแบบสัมผัส จอภาพสัมผัส ก็เป็นจอภาพชนิดหนึ่งที่นิยมนามาใช้งาน เนื่องจากผู้ใช้งานสามารถโต้ตอบกับ คอมพิวเตอร์ผ่านเมนูบนจอภาพด้วยการกดลงไปยังตาแหน่งบนจอภาพ จอภาพแบบสัมผัสบาง รุ่นจะมีเซ็นเซอร์ในการตรวจสอบลายนิ้วมือของผู้ใช้งาน ซึ่งเป็นหนึ่งในกระบวนการรักษา ความปลอดภัย - จอยสติ๊ก เป็นอุปกรณ์หนึ่งที่นิยมนามาใช้ในด้านความบันเทิง เช่น การเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ - เครื่องอ่านบาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับอ่านรหัสบาร์โค้ด ทาให้สามรถอ่าน ข้อมูลจากรหัส ดังกล่าวด้วยเครื่องอ่าน โดยไม่จาเป็นต้องคีย์รหัสข้อมูลด้วยตนเอง ทาให้มีความรวดเร็ว อีกทั้ง ยังสะดวก โดยนามาใช้กับห้างสรรพสินค้าหรือซูเปอร์มาเก็ตทั่ว ๆ ไป - สแกนเนอร์ ในความจริงแล้ว เครื่องอ่านบาร์โค้ดนั้นก็เป็นชนิดหนึ่งของ สแกนเนอร์นั่นเองแต่สแกนเนอร์ใช้สาหรับสแกนภาพจากต้นฉบับ รวมถึงการสแกนภาพต่าง ๆ ที่ต้องการ - ไมโครโฟน ปัจจุบันเสียงได้เข้ามามีบทบาทในวงการคอมพิวเตอร์ การอินพุตด้วยเสียง ซึ่งการอินพุตด้วย เสียงนี้ต้องอินพุตผ่านไมโครโฟน - กล้องวีดีโอพีซี (PC Video Cameras) เช่นเดียวกัน กล้องวีดีโอพีซี ก็ได้เข้ามามีบทบาทมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการนากล้อง วิดีโอพีซีที่มี ขนาดเล็ก มาใช้ในการโต้ตอบด้วยการประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย
  • 13. - กล้องดิจิตอล กล้องดิจิตอลสามารถจัดเก็บภาพไว้ในคอมพิวเตอร์และคัดเลือกภาพที่ต้องการได้อีกทั้งร้าน ถ่ายรูปก็ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีด้วยการนาภาพถ่ายด้วยดิจิตอลมาอัดเป็นรูปถ่ายได้ 3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการเอาท์พุตข้อมูล จอภาพ (Monitors) - จอภาพซีอาร์ที (Cathode-Ray Tubes : CRT Monitors) จอภาพซีอาร์ทีคือจอภาพทั่วไปใช้กับคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีจอภาพแบบโมโนโครม (Monochorome Monitor) และจอภาพสี (Color Monitor) - จอภาพแบบแอลซีดี (Liquid-Crystal Display : LCD Monitors) นอกจากจอภาพแบบซีอาร์ทีแล้ว ยังมีจอภาพแบบแบนเรียบ (Flat) หรือจอภาพแบบ LCD ซึ่ง จอภาพขนิดนี้มักนาใช้กับโน๊ตบุ๊ค แต่ราคายังสูงอยู่จึงไม่เป็นที่นิยมเท่าใดนัก -เครื่องพิมพ์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลลงในกระดาษ (Hard Copy) ในปัจจุบันมีการแบ่งประภทของ เครื่องพิมพ์ออกเป็นสองประเภทคือ เครื่องพิมพ์แบบที่ต้องใช้แรงกระแทก (Nonimpact Printer) ซึ่งแบบใช้แรงกระแทกก็คือ ด็อทเมตริกซ์ (Dot Matrix) และแบบไม่ใช้แรงกระแทก ได้แก่ เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ต และเครื่องพิมพ์เลเซอร์ -ลาโพง ลาโพงในที่นี้หมายถึงลาโพงที่ต่อกับการ์ดเสียง (Sound Card) เป็นอุปกรณ์ที่ ใช้เสียงออกมา ปัจจุบันลาโพงได้นามาใช้งานด้านการบันเทิงมากขึ้น เช่น ฟังเพลง การใช้โปรแกรม มัลติมีเดียที่ มีการแสดงผลในรูปแบบเสียง และการดูภาพยนต์เป็นต้น
  • 14. ซอฟต์แวร์ หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่ถูกเขียน ขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทา อะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 1. ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคาสั่งที่เขียนไว้เป็นคาสั่งสาเร็จรูป ซึ่งจะทางานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อ คอยควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรม แปลคาสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เป็นต้น นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรม สาหรับระบบด้วยเช่นกัน 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่มาให้คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้าน เอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ 2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่างที่เรา ต้องการ บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรม การทาบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทาสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละ
  • 15. โปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ หรือกฏเกณฑ์ ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของ โปรแกรมได้เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วน ใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา 2.2 ซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทาไว้เพื่อใช้ในการทางานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนาโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้แต่จะไม่สามารถทาการดัดแปลง หรือ แก้ไขโปรแกรมได้ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และ ค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องเวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่ง โปรแกรมสาเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานมราขาดบุคลากรที่มีความชานาญเป็น พิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้น การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อานวยความสะดวก และเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ตัวอย่างโปรแกรมสาเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น
  • 16. ตัวกลางการสื่อสารข้อมูล สื่อ หรือตัวกลางการสื่อสารข้อมูล (communication media) ถือว่าเป็นองค์ประกอบ สาคัญของการสื่อสารข้อมูล เพราะการเลือกใช้สื่อที่เหมะสม ทาให้เกิดประสิทธิภาพในการ สื่อสารข้อมูลและประหยัดต้นทุน ตัวกลางหรือสื่อที่ใช้ในการสื่อสารแบ่งได้เป็น 2 ประเท ใหญ่ๆ ดังนี้ สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย (wired media) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า guided media ซึ่งก็คือ สื่อที่สามารถบังคับให้สัญญาณข้อมูลเคลื่อนที่ไปในทิศทางที่กาหนดได้แบ่งเป็น 3 ชนิด ดังนี้ 1.สายคู่บิดเกลียว (twisted pair cable) ลักษณะทางกายภาพ : สายคู่บิดเกลีบวเป็นสายสัญญาณไฟฟ้านาข้อมูลได้ทั้งแอนะล็อก และดิจิทัล ลักษณะคล้ายสายไฟทั่วไป ราคาไม่แพงมาก น้าหนัหเบา ติดตั้งได้ง่าย ภายในสายคู่ บิดเกลียวจะประกอบด้วยสายทองแดงพันกันเป็นเกลียว เป็นคู่ๆ ซึ้งอาจจะมี 2,4 หรือ 6 คู่ สายคู่ บิดเกลียวแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ * แบบไม่มีชั้นโลหะห่อหุ้ม เรียกว่า unshielded twisted pair หรือเรียกย่อๆว่า สาย usp * แบบมีชั้นโลหะห่อหุ้ม เรียกว่า shielded twisted pair หรือเรียกย่อๆว่า stp ซึ่งภายในสายมี โลหะห่อหุ้มอีกชั้น โลหะจะทาหน้าที่ป้องกันสัญญาณรบกวนที่มา จากภายนอก คุณสมบัติ : เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวประกอบด้วยสายทองแดงพันเป็นเกลียว การพันกัน เป็นเกลียวทาเพื่อรบการรบกวนจากสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียง ในสายเคบิลเดียวกันหรือภายนอกลงได้ ความถี่ในการส่งข้อมูล : 100 เฮิรตซ์ (Hz) ถึง 5 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ความเร็วในการส่งข้อมูล : 1 ล้านบิตต่อวินาที (Mbps)
  • 17. 2.สายโคแอกเชียล (coaxial cable) ลักษณะทางกายภาพ : สายโคแอกเชียล เป็นสายสัญญาณไฟฟ้านาข้อมูลได้ทั้งแอนะล็อก และดิจิทัลเช่นเดียวกับสายคู่บิดเกลียว ลักษณะคล้ายสายเคเบิคทีวี โดยภายในมีตัวนาไฟฟ้าเป็น แกนกลางและห่อหุ้มด้วยฉนวนเป็นชั้นๆตัวนาโลหะทาหน้าที่ส่งสัญญาณ ส่วนฉนวนทาหน้าที่ ป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอก คุณสมบัติ : สายโคแอกเชียลมีฉนวนห่อหุ้ม หลายชั้น ทาให้ป้องกันสัญญาณรบกวนได้ มากกว่าสายคู่บิดเกลียว ส่งข้อมูลได้ระยะ ทางไกล และมีช่วงความกว้างในการส่ง ข้อมูลมาก ทาให้ส่งข้อมูลด้วยอัตราเร็ว มีราคาสูงกว่าสายคู่บิดเกลียว ความถี่ในการส่งข้อมูล : 100 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ถึง 500 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ความเร็วในการส่งข้อมูล : 1 ล้านบิตต่อวินาที (Mbps) ถึง 1 พันล้านบิตต่อวินาที (Gbps) 3.สายใยแก้วนาแสง (optical fiber cable) ลักษณะทางกายภาพ : สายใยแก้วนาแสง ภายในสายประกอบด้วย แกนกลางทาจากใย แก้วนาแสง ซึ่งเป็นท่อแก้วหรือท่อซิลิกาหลอมละลาย และห่อหุ้มด้วยวัสดุป้องกันแสง สัญญาณ ที่ส่งผ่านสายใยแก้วนาแสง คือ แสง ดังนั้น ข้อมูลจะถูกแปลงเป็นเเสงที่มีความเข้มของแสงต่าง ระดับกัน เพื่อส่งผ่านสายใยแก้วนาแสง คุณสมบัติ : เนื่องจากสายใยแก้วนาเเสงนาสัญญาณที่เป็นแสง ดังนั้นเเสงมีการเคลื่อนที่ เร็วมาก การส่งข้อมูลผ่านสายใยแก้วนาเเสงจึงทาการส่งได้เร็วเท่ากับความเร็วแสง สิ่งรบกวน จากภายนอกมีเพียงแสงเท่านั้น ดังนั้นสัญญาณรบกวนจากภายนอกจึงมีน้อยมาก แต่ราคาของ สายใยแก้วนาแสงมีราคาสูง และการติดตั้งเดินสายทาได้ยากกว่าสายประเภทอื่นๆ ส่วนใหญ่การ เดินสายจะเดินใส่ท่อลงใต้ดินเพื่อป้องกันแสงรบกวน ความเร็วในการส่งข้อมูล : 10 ล้านบิตต่อ วินาที (Mbps) ถึง 2 พันล้านบิตต่อวินาที (gbps)
  • 18. สื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย สื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย (wireless media) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งคือ unguided media คือ สื่อที่ไม่สามารถกาหนดทิศทางให้ข้อมูลเดินทางไปในทิศทางที่ต้องการได้อากาศเป็นสื่อหรือ ตัวกลางในการนาข้อมูลไปยังปลายทางชนิดหนึ่ง การสื่อสารโดยใช้อากาศเป็นตัวกลางมี ลักษณะการสื่อสาร 4 ประเภท ดังนี้ 1.แสงอินฟราเรด การสื่อสารโดยการส่งด้วยแสงอินฟราเรด (infrared) จะใช้ในการสื่อสารระยะทางใกล้ๆ เช่น การใช้แสงอินฟราเรดจากเครื่องรีโมทคอนโทรลไปยังเครื่องรับวิทยุและโทรทัศน์ การส่ง ข้อมูลจากโทรศัพท์มือถือไปยังมือถือด้วยกันเอง หรือระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา เนื่องจากแสงอินฟราเรดไม่สามารถทะลุผ่านวัตถุทึบแสงได้ดังนั้นไมสามารถส่งข้อมูลในระยะ ทางไกลได้ 2.สัญญาณวิทยุ การสื่อสารข้อมูลโดยการส่งสัญญาณวิทยุ (radio wave) ที่มีความถี่ต่างๆกัน สามารถ ส่งไปได้ในระยะทางไกลๆ หรือในสถานที่ที่ไม่สามารถใช้สายส่งได้แต่เนื่องจากใช้อากาศเป็น ตัวกลางในการสื่อสาร ดังนั้นเมื่อสภาพอากาศไม่ดี จึงมีผลต่อสัญญาณวิทยุที่ทาการส่งออกไป สัญญาณวิทยุมีหลายความถี่ ซึ่งใช้ประโยชน์แตกต่างกัน เช่น สัญญาณที่ความถี่ 300 กิโลเฮิรตซ์ (KHz) -3 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ใช้ส่งสัญญาณโทรทัศน์ช่อง 3,5,7,9 วิทยุสายการบิน เป็นต้น
  • 19. 3.ระบบไมโครเวฟ ระบบไมโครเวฟ (microwave) เป็นการสื่อสารไร้สายโดยการส่งสัญญาณป็นคลื่น ไมโครเวฟจากเสาไมโครเวฟต้นหนึ่งไปยังเสาไมโครเวฟที่ตั้งอยู่ในระยะทางที่ไกลออกไป เนื่องจากทิศทางการส่งข้อมูลระหว่างเสาไมโครเวฟ 2 ต้น ส่งในทิศทางที่เป็นเส้นตรง หรือ เรียกว่าระยะเส้นสายตา (line of sight) ดังนั้นถ้าระหว่างเส้นทางการส่งข้อมูลมีสิ่งกีดขวางก็จะ ไม่สามารถส่งสัญญาณได้ดังนั้นจึงต้องมีการติดตั้งจานรับส่งเป็นสถานีทวนสัญญาณ (repeater station) เพื่อเป็นจุดส่งสัญญาณต่อไปยังเสาไมโครเวฟต้นต่อไป ซึ่งเป็นลักษณะการสื่อสารแบบ ส่งสัญญาณต่อเนื่องเป็นช่วงๆไป โดยปกติคลื่นไมโครเวฟจะถูกส่งได้ไกลประมาณ 20-30 ไมล์ คลื่นไมโครเวฟ จะถูกรบกวนได้จากสภาพอากาศที่ไม่ดี เช่น ฝนตก ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า เป็นต้น คลื่นไมโครเวฟมีความถี่สูงถึง 2 ล้านรอบ (MHz) ถึง 40 พันล้านรอบต่อวินาที (GHz) สามารถส่งข้อมูลได้ในปริมาณมากถึง 1 ล้านบิตต่อวินาที (Mbps) ถึง 10 พันล้านบิตต่อวินาที (Gbps) ข้อดีของการสื่อสารด้วยระบบไมโครเวฟ คือ สามารถทาการสื่อสารระยะทางไกลๆได้ โดยไม่ต้องเดินสายให้ยุ่งยาก และสามารถส่งข้อมูลได้ในปริมารมาก แต่ข้อเสียคือ คลื่น ไมโครเวฟถูกรบกวนได้ง่ายจากสภาพอากาศที่แปรปรวน และมีค่าติดตั้งเสาและจานรับและส่ง ที่มีราคาแพง
  • 20. 4.การสื่อสารผ่านดาวเทียม เมื่อต้องการทาการสื่อสารในระยะทางที่ไกลออกไป การเชื่อมต่อโดยใช้สายเคเบิลไม สามารถทาได้การสื่อสารด้วยระบบไมโครเวฟก็ต้องเสียค่าใช้จ่ายมากและทาการติดตั้งยาก ดังนั้นคาตอบของการสื่อสารในระยะทางไกลอีกวิธีหนึ่ง คือ การสื่อสารผ่านดาวเทียม (satellite communication) การสื่อสารดาวเทียม เป็นการสื่อสารจากพื้นโลกไปสู่ดาวเทียม โดยบนพื้นโลก จะมีสถานีส่งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียมที่โคจรอยู่นอกโลก ซึ่งจะทาหน้าที่ทวนสัญญาณและ กระจายสัญญาณส่งกลับมายังสถานีรับบนพื้นโลก โดยจะทาการส่งดาวเทียมขึ้นไปอยู่ห่างจาก พื้นโลกประมาณ 22.000 ไมล์ด้วยระยะทางการส่งข้อมูลระหว่างโลกและดาวเทียมที่อยู่ไกลกัน มากทาการส่งข้อมูลมีความล่าช้า (dalay) การสื่อสารผ่านดาวเทียมเหมาะสมกับการสื่อสาร ระยะไกลมากๆ เช่น การสื่อสารระหว่างประเทศ
  • 21. มาตราฐานของระบบเครือข่ายเฉพาะที่ (LAN) ระบบ LAN ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันทั่วไปมีฮาร์ดแวร์ที่ยึดมาตรฐานของ สถาบันวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของสหรัส หรือ IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineering) โดยสามารถแบ่งได้ดังนี้ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) อีเทอร์เน็ต (Eternet) เป็นระบบ LAN ที่พัฒนาขึ้นโดย 3 บริษัทใหญ่คือบริษัท Xerox Corporation, Digital Equipment Corporation (DEC) และ Intel ในปี ค.ศ 1976 เริ่มจากศูนย์วิจัย PARC (Palo Alto Research Center ของ Xerox) ซึ่งถูกจัดเป็นมาตรฐาน รหัส 802.3 ของ IEEE ปัจจุบันมีการใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยในระยะแรกอีเทอร์เน็ตใช้ สาย Coaxial เป็นหลักต่อมาได้พัฒนาและเปลี่ยนไปใช้สายแบบ UTP(Unshielded Twisted Pair) มากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมีราคาและสามารถติดตั้งได้ง่าย รวมถึงความเร็ว ในการรับ-ส่งข้อมูลถูกทาให้เพิ่มขึ้นจาก 10Mbps ไปเป็น 100-1000 Mbps(1 Gbps) ใน ปัจจุบันและอาจถึง10 Gbps ลักษณะสาคัญของอีเทอร์เน็ต คือ ข้อมูลทุกอย่างจะถูกส่งผ่านตัวกลางที่เชื่อม ระหว่างทุกๆ เครื่อง ซึ่งก็คือสาย Coaxial นั่นเอง ดังนั้น Ethernet ในยุคแรกจึงใช้การต่อ สายแบบบัส (Bus) ที่วิ่งผ่านทุกเครื่องและต่อมาค่อยๆเปลี่ยนไปสู่การต่อแบบดาว (Star) ที่รวมสายเข้าศูนย์กลาง เมื่อมีการใช้สาย UTP และต่อผ่านอุปกรณ์ฮัป (Hub) มาตรฐานที่ สาคัญของ Ethernet ได้แก่ 10Base-5, 10Base-2,10Base-T โดยรหัสแต่ละตัวมี ความหมาย
  • 22. ความเร็ว เป็นตัวบอกความเร็วสูงสุดที่ระบบทาได้ในกรณีที่ไม่มีอุปสรรคใดๆ มา ทาให้ความเร็วลดลง โดยในระบบทางานจริงๆ ไม่สามารถทาได้ปัจจุบันมีที่ใช้กันคือ 10, 100, 1000 เมกะบิตต่อวินาที วิธีส่งสัญญาณ เป็นตัวบอกลักษณะการส่งสัญญาณทางไฟฟ้า จะมี 2 ลักษณะคือ Baseband และ Broadband โดย Baseband คือวิธีการส่งสัญญาณแบบดิจิทัล 0 และ 1 จะ ไม่มีการผสมสัญญาณนี้เข้ากับสัญญาณความถี่สูงอื่นใด ส่วน Broadband คือ การส่ง สัญญาณแบบอนาล็อก ที่มีการผสมสัญญาณระหว่างสัญญาณข้อมูลแบบอนาล็อกกับ สัญญาณคลื่นพา (Carrier Signal) เพื่อให้ส่งได้ไกลและมีความเพี้ยนน้อยกว่าแบบแรก สายที่ใช้ รหัสที่ใช้แต่ละตัวมีความหมายดังนี้ 5 หมายถึง การใช้สายแบบ Thick coaxial ซึ่งมีขนาดใหญ่โยงถึงกัน สายแบบนี้ลากไป ไกลได้ไม่เกิน 500 เมตร จึงใช้เลข 5 2 หมายถึง การใช้สายแบบ Thin coaxial ซึ่งมีขนาดเล็กโยงถึงกัน สายแบบนี้ลากไปไกล ได้ไม่เกิน 200 เมตร จึงใช้เลข 2 T หมายถึง การใช้สาย UTP (Unshielded Twisted-Pair) แบบที่เรียกว่า Category 5 (CAT 5) โดยทาการต่อเชื่อมทุกเครื่องเข้าหาอุปกรณ์รวมสายหรือ hub สายแบบนี้ลากไปไกล ได้ไม่เกิน 100 เมตร F เป็นระบบที่ใช้สาย Fiber-optic ซึ่งสามารถลากไปได้ไกลหลายร้อยเมตรขึ้นไป
  • 23. ฟาสต์อีเทอร์เน็ต และ Gigabit Ethernet Ethernet ในปัจจุบันได้รับการพัฒนาให้มีความเร็วเพิ่มจาก 10 Mbps ขึ้นเป็น 100 และ 1000 Mbps หรือกว่านั้น ซึ่งถูกนามาใช้กับการส่งข้อมูลขนาดใหญ่หรือภาพ (Image) รวมทั้งข้อมูลที่ต้องรับส่งให้ได้ตามเวลาจริง (Real-time) เช่น ภาพเคลื่อนไหว และเสียง โดยมาตรฐานของ Ethernet ความเร็วสูงจัดเป็นกลุ่มดังนี้ 100Base-T เป็นระบบที่พัฒนาโดยใช้สายที่ดีขึ้นกว่า 10Base-T เดิม คือ ใช้เป็นสาย UTP ที่ดีกว่า เช่นสาย CAT5+ หรือ CAT5e โดย Hub ต้องรองรับความเร็ว 100Mbps ด้วย ระบบเครือข่าย LAN รุ่นใหม่จะใช้มาตรฐานนี้เป็นหลัก โดยสายที่ใช้กับระบบ 100Base-T นี้จะแยกรับส่งข้อมูลเป็น 4 คู่สาย ด้วยความเร็วคู่สายละ 25 Mbps รวมเป็น 25 x 4 = 100Mbps Gigabit Ethernet หรือเรียกกันเป็น 1000Base-T (สาย UTB) หรือ 1000Base-F (สาย Fiber optic) เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่จะทาให้สามารถส่งข้อมูลได้ในระดับความเร็ว 1000 Mbps หรือ 1 Gbps ซึ่งกาลังจะเป็นมาตรฐานใหม่ของระบบเครือข่ายสาหรับงานที่ ต้องการความเร็วสูงมาก เช่น งานกราฟิก 10 Gigabit Ethernet เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่จะสามารถรับส่งข้อมูล ได้ในระดับ ความเร็ว 10000 Mbps หรือ 10 Gbps คาดว่าระยะแรกจะใช้กับการเชื่อมต่อระหว่างเมือง หรือ WAN แต่ต่อไปก็คงเข้ามาอยู่ในระดับเครื่องเซิร์ฟเวอร์และเดสก็ท็อปตามลาดับ
  • 24. โทเคนริง (Token Ring) เป็นการต่อ LAN ในแบบวงแหวน (Ring) โดยมีวิธีควบคุมการส่งข้อมูลแบบ Token-passing ที่พัฒนาขึ้นโดยบริษัทไอบีเอ็ม โดยในรุ่นแรกๆจะมีความเร็วเพียง 4 Mbps แต่ต่อมาได้ปรับปรุงเป็น 16Mbps จุดอ่อนของ Token-Ring คือ ถ้าสายเส้นใดเส้น หนึ่งขาดวงแหวน จะไม่ครบวงและทางานไม่ได้ FDDI (Fiber Distributed Data Interface) FDDI เป็นมาตรฐานการต่อระบบเครือข่ายโดยใช้สาย Fiber optic ซึ่งสามารถ รับส่งข้อมูลได้ที่ความเร็วสูงถึง 100 Mbps เท่ากับ Fast Ethernet ลักษณะของ FDDI จะ ต่อเป็นวงแหวน โดย FDDI เหมาะที่จะใช้เป็น backbone ที่เชื่อมต่อระบบ LAN หลายๆ วงเข้าด้วยกัน โดยแต่ละวง LAN จะต้องมีตัวรวมสาย (concentrator) หรืออุปกรณ์ Router ที่ใช้ต่อระหว่าง LAN ทั้งวงเข้าเป็นสถานี ในวงของ FDDI มีสายสองชั้นเดินคู่ขนานกัน เพื่อสารองในกรณีเกิดสายขาดขึ้น วงจรจะได้ตัดส่วนที่ขาดออกแล้ววนสายที่เหลือให้ครบรอบเป็น ring ตามเดิม ลักษณะ การรับส่งข้อมูลของ FDDI ก็ใช้วิธี Token-passing เช่น เดียวกับ Token Ring
  • 25. Ethernet ปัจจุบันมาตรฐาน IEEE 802.3 ได้เข้ามาแทนที่มาตรฐานดั้งเดิมของอีเทอร์เน็ตอย่าง สมบูรณ์แล้ว กล่าวคือ คาว่าอีเทอร์เน็ตจะอ้างอิงถึงเครือข่ายที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของมาตรฐาน IEEE 802.3 แต่ในบางครั้งเราอาจกล่าวได้ว่า IEEE 802.3 และอีเทอร์เน็ตไม่ใช่สิ่งเดียวกัน ในเชิง เทคนิคแล้วคาตอบนี้ก็น่าจะถูก ซึ่งในช่วงหลายปีที่ผ่านมานั้น ถึงแม้อีเทอร์เน็ตจะเป็นมาตรฐาน ดั้งเดิมของบริษัทซีร็อกซ์แต่ในช่วงราวปีค.ศ. 1985 IEEE ได้เริ่มพัฒนาโครงการ 802 ขึ้นมา และ ได้มีการประกาศนามาตรฐาน 802.3 ออกมาใช้งาน ซึ่งมาตรฐาน IEEE 802.3 นั้นมีข้อแตกต่าง เพียงเล็กน้อยในด้านรายละเอียด เมื่อเทียบกับมาตรฐานของอีเทอร์เน็ตจากบริษัทซีร็อกซ์ดังนั้น ในปัจจุบันจึงมักมีการใช้คาว่าอีเทอร์เน็ต และ IEEE 802.3 ร่วมกัน ซึ่งหมายถึงเป็นคาที่สามารถ ใช้แทนความหมายเดียวกันได้โดยอีเทอร์เน็ตจะอ้างถึงเครือข่ายต่างๆ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ มาตรฐาน IEEE 802.3 นั่นเอง
  • 26. ประวัติอีเทอร์เน็ต ในปีค.ศ. 1973 บ็อบ เม็ทคาลเฟ (Bob Metcalfe) ได้คิดค้นระบบอีเทอร์เน็ตในการรับส่ง ข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์และสามรถส่งข้อมูลไปยังเครื่องพิมพ์ได้หลังจากนั้นอีเทอร์เน็ตได้ ถูกพัฒนาต่อที่ PARC (Palo Alto Research Center) ซึ่งเป็นศูนย์วิจัยของบริษัทซีร็อก (Xerox) รูปที่ 8-1 เป็นโครงสร้างของอีเทอร์เน็ตที่เม็ทคาลเฟออกแบบไว้คอมพิวเตอร์จะเชื่อมโยงกัน เป็นเครือข่ายโดยทรานสซีฟเวอร์ (Transceiver) และแชร์สายสัญญาณสาหรับการรับส่งข้อมูล รูปที่ 8-1 โครงสร้างของอีเทอร์เน็ตซึ่งออกแบบโดยเม็ทคาลเฟ ในปี ค.ศ. 19738 - 2 จุดประสงค์ของการสร้างอีเทอร์เน็ตในตอนแรกนั้นเพื่อให้นักวิจัยสามารถแชร์ข้อมูลร่วมกันได้ เท่านั้นไม่ใช่เป็นการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ในสมัยแรกจะใช้สายโคแอ็กซ์แบบหนา (Thick Coax) เป็นสายสัญญาณในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้น ในตอนนี้อีเทอร์เน็ตถือป็นเทค โนโลยีที่น่าทึ่งมากในการใช้คอมพิวเตอร์ในสมัยนั้น เพราะคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่อง เมนเฟรมที่มีราคาแพงมาก มีน้อยคนที่สามารถซื้อระบบเฟรมมาใช้และคนส่วนใหญ่จะไม่รู้จัก การใช้เมนเฟรม แต่มีการพัฒนาอีเทอร์เน็ตทาให้การใช้คอมพิวเตอร์แพร่หลายมากขึ้นในปี 1973 เม็ทคาลเฟได้เขียนอธิบายระบบเครือข่ายที่มีการพัฒนาจากเครือข่ายอโลฮา (Aloha) ซึ่งได้ถูก พัฒนาที่มหาวิทยาลัยฮายวาย ในทศวรรษ 1960 โดยนอร์แมน แอ็บแรมสัน(Norman Abramson) และเพื่อนร่วมงาน โดยได้พัฒนาวิทยุสื่อสารระหว่างเกาะต่างๆ การพัฒนานี้เป็นการพัฒนาเพื่อ ระบบแชร์สื่อกลางการรับส่งข้อมูลในที่นี้คืออากาศที่เป็นสื่อนาคลื่นวิทยุนั่นเองในช่วงแรกนั้น อีเทอร์เน็ตเป็นลิขสิทธิ์ของบริษัทซีร็อกซ์บริษัทเดียวเท่านั้น ต่อมามาตรฐานอีเทอร์เน็ตที่ ความเร็ว 10 Mbps ได้ประกาศใช้เมื่อปี 1980 โดยความร่วมมือของ 3 บริษัท คือ DEC–Intel- Xerox เรียกสั้นว่า DIX และในขณะเดียวกัน IEEE ก็ได้พัฒนามาเป็นอีเทอร์เน็ตเช่นกัน คือ มาตรฐาน IEEE 802.3 ซึ่งได้พัฒนามาจากมาตรฐานอีเธอร์เน็ตของ DIX มาตรฐานของ IEEE ถูก ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี 1985 และต่อมา ISO (International Organization for Standardization) ก็ ยอมรับเอามาตรฐาน IEEE 802.3 นี้เป็นมาตรฐานอีเทอร์เน็ตนานาชาติ ทาให้บริษัทใดก็ได้ สามารถผลิตอุปกรณ์อีเทอร์เน็ตโดยที่ไม่ต้องเสียลิขสิทธิ์ให้กับใคร
  • 27. Token-Ring เป็นการต่อ LAN ในรูปแบบ Ring และใช้การควบคุมแบบ Token-Passing ซึ่งพัฒนาขึ้น โดยบริษัท IBM โดยในรุ่นแรกๆ จะมีความเร็วเพียง 4 Mbps แต่ต่อมาได้ปรับปรุงเป็น 16 Mbps สายที่ใช้จะเป็นเคเบิลแบบพิเศษ มี 2 คู่ ต่อเข้ากับอุปกรณ์รวมสายที่เรียกว่า MAU (Multiple Access Unit) ซึ่ง 1 ตัว ต่อได้8 เครื่อง และพ่วงระหว่าง MAU แต่ละตัวเข้าด้วยกันได้อีก เกิดเป็น ลักษณะที่เห็นลากสายจาก MAU ไปยังแต่ละเครื่องเหมือนกับเครือข่ายแบบ Star ขึ้น แต่ถ้าไล่ สายดูจริงๆ จะพบว่ายังเป็นวงแหวนหรือ Ring อยู่ จุดอ่อนของ Token-Ring คือ ถ้าสายเส้นใดเส้นหนึ่งขาด Ring จะไม่ครบวงจรและทางาน ไม่ได้ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหานี้ บริษัท IBM ผู้คิดค้น Token-Ring จึงออกแบบสายและอุปกรณ์ให้มี ลักษณะพิเศษ คือ มีสายสารองในตัวเป็น 2 ชุด เมื่อมีปัญหาสายในวงเกิดชารุดบางช่วงหรือบาง เครื่องไม่ทางาน สายส่วนที่เหลือกับอุปกรณ์ MAU จะเปลี่ยนลักษณะการต่อสายให้กลับเป็นวง แบบ 2 ชั้น วนอ้อมสายส่วนที่ขาดไป ทาให้ระบบสามารถทางานต่อได้โดยไม่ติดขัด
  • 28. FDDI FDDI (Fiber Distribution Data Interface) เป็นเครือข่ายแบบส่งผ่านโทเคนและมีแบนด์ วิธที่ 100 Mbps โดยใช้สายใยแก้วนาแสงต่อสถานีเป็นวงแหวนสองวง ส่วนใหญ่จะใช้ FDDI เป็นแบ็คโบนของเครือข่ายเนื่องจากแบนด์วิธที่สูง และสามารถเชื่อมต่อสถานีได้ไกลกว่าสาย ทองแดงมาก ล่าสุดได้มีการพัฒนา CDDI (Copper Distribution Data Interface) โดยใช้สายคู่ เกลียวบิตแทนสายใยแก้วนาแสงแต่ยังใช้โปรโตคอลของ FDDI ในตอนนี้เราจะเน้นที่ FDDI และจะขอกล่าวโดยคร่าวๆเกี่ยวกับ CDDI FDDI จะใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อสถานีเป็นวงแหวนสองวงโดยทิศทางการไหลของ ข้อมูลในวงแหวนทั้งสองวงจะตรงกันข้ามกัน วงแหวนหนึ่งจะทาหน้าที่เป็นเส้นทางหลักในการ รับส่งข้อมูล ส่วนวงที่สองจะเป็นเส้นทางสารอง การที่ออกแบบ FDDI ให้มีแบบนี้ก็เพื่อเพิ่ม ความเชื่อถือได้และความแข็งแรงให้กับเครือข่าย
  • 29. มาตรฐาน FDDI โปรโตคอลส่วนที่เป็น FDDI จะอยู่ในชั้นฟิสิคอลเลเยอร์และดาต้าลิงค์เลเยอร์ของแบบ อ้างอิง OSI เท่านั้น FDDI จะแบ่งโปรโตคอลอกเป็น 4 ส่วน ซึ่งเมื่อทางานร่วมกันทาให้ โปรโตคอลที่อยู่เหนือกว่า เช่น TCP/IP สามารถส่งผ่านข้อมูลไปบนสายไฟเบอร์ได้กาหนด 4 อย่างของ FDDI คือ - MAC (Media Access Control) : ในส่วน MAC จะกาหนดเกี่ยวกับการเข้าถึงสื่อกลางรับส่ง ข้อมูล และรวมถึงรูปแบบของเฟรมข้อมูล (Cyclic Redundancy Check หรือ CRC)และกลไก เกี่ยวกับการกู้คืนข้อมูลที่เกิดข้อผิดพลาด - PHY (Physical Layer Protocol) :ในส่วนของPHY จะกาหนดเกี่ยวกับขั้นตอนการเข้ารหัส ข้อมูล (Data Encoding Dependent) , สัญญาณนาฬิกา และการจัดเฟรมข้อมูล - PMD (Physical-Medium Dependent) : ส่วน PMD จะกาหนดเกี่ยวกับคุณสมบัติของ สายสัญญาณที่ใช้ซึ่งจะรวมถึงสายไฟเบอร์, ระดับกาลังของสัญญาณ, อัตราการเกิดข้อผิดพลาด, ส่วนต่างๆ ของไฟเบอร์ และหัวเชื่อมต่อที่ใช้ - SMT (Station Management) : ในส่วน SMT จะกาหนดเกี่ยวกับลักษณะการเชื่อมต่อกันของ แต่ละสถานี ข้อกาหนดเกี่ยวกับการควบคุมที่เชื่อมต่อเข้ากับวงแหวน เช่น การเพิ่มสถานี, การนา สถานีออกจากเครือข่าย, การแยกจุดเสียและการกู้คืน, การกาหนดค่าเกี่ยวกับเวลาและการเก็บ ค่าสถิติต่างๆ
  • 30. ชุดโปรโตคอล FDDI จุดประสงค์หลักของ FDDI ก็เหมือนกับอีเทอร์เน็ตและโทเคนริงคือ จะให้บริการกับ โปรโตคอลที่อยู่เหนือกว่า เช่น TCP/IP ในการส่งข้อมูลผ่านอุปกรณเครือข่ายและสายสัญญาณ Wireless LAN ระบบเครือข่ายท้องถิ่นไร้สาย หรือ WLAN (Wireless LAN) คือระบบที่สื่อสารข้อมูลที่ มรความยืดหยุ่นสูง ส่วนใหญ่จะนิยมติดตั้งเพิ่มเติมแทนที่ระบบเครือข่ายท้องถิ่นแบบใช้ สายสัญญาณ ระบบเครือข่ายท้องถิ่นไร้สายจะใช้คลื่นวิทยุ หรือ RF (Radio Frequency) เป็น สัญญาณ และใช้อากาศเป็นตัวนาสัญญาณ 1. โทโปโลยีของ WLAN อาจเป็นแบบธรรมดาหรืออาจเป็นแบบซับซ้อนก็ได้โดยแบบที่ง่ายที่สุดก็โดยการ เชื่อมต่อกันของคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง ที่ติดตั้งเน็ตเวิร์คการ์ดแบบไร้สาย ซึ่งเรียกว่า “เครือข่าย แบบเพียร์ทูเพียร์” ส่วนเครือข่ายผสมระหว่างเครือข่ายไร้สายกับใช้สาย จุดที่เชื่อมต่อระหว่าง สองเครือข่ายนี้จะเรียก “แอ็กเซสส์พอยต์หรือ AP (Access Point) ” หรืออาจเรียกว่าฮับ (Hub) ก็ ได้
  • 31. 1.1 เทคโนโลยี WLANผู้ผลิตอุปกรณ์เครือข่าย WLAN สามารถที่จะใช้เทคโนโลยีหลาย ประเภท ซึ่งแต่ละประเภทก็มีข้อดีข้อเสียที่ต่างกัน 1.1.1 เทคโนโลยี Narrowband คลื่นวิทยุที่ใช้ส่งข้อมูลสาหรับเทคโนโลยีนี้จะใช้เพียง ความถี่เดียว ระบบนี้จะพยายามใช้ช่องความถี่ในการส่งสัญญาณให้แคบมากที่สุด 1.1.2 เทคโนโลยี Spread Spectrum เทคโนโลยีนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้ - Frequency-Hopping Spread Spectrum (FHSS) เทคโนโลยีจะใช้สัญญาณแบบแนโรว์แบนด์ แต่จะทาการเปลี่ยนความถี่ตามลาดับทั้งฝั่งรับและฝั่งส่งให้เข้าใจตรงกัน - Direct-Sequence Spread Spectrum (DSSS) จะใช้ช่วงความถี่ขนาดกว้างในการส่งสัญญาณ แต่จะมีวิธีการกู้คืนข้อมูลด้วยการบิตเพิ่มเติม ซึ่งจะเรียกว่าชิปปิ้งโค้ด (Chipping Code) ขนาด โค้ดยิ่งยาวเท่าใดยิ่งทาให้ความเป็นไปได้ในการกู้คืนข้อมูงสูงมากขึ้น แต่ก็จะใช้แบนด์วิธเพิ่มขึ้น 1.1.3 เทคโนโลยี Infrared เทคโนโลยีนี้จะใช้คลื่นอินฟราเรด สาหรับการส่งสัญญาณข้อมูล คลื่นอินฟราเรดนี้จะมีความถี่ที่ สูงมากซึ่งจะอยู่ใต้แสงที่มองเห็น คุณสมบัติของคลื่นนี้ก็จะเหมือนกับแสงคือ ไม่สามารถเดน ทางผ่านวัตถุที่ทึบแสงได้ดังนั้นการใช้งานค่อนข้างน้อย และระยะการรับส่งสัญญาณยังได้ไม่ ไกล โดยเฉลี่ยจะอยู่ประมาณ 1 เมตร อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีนี้นิยมใช้กับอุปกรณ์รีโมท คอนโทรลของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในบ้านส่วนใหญ่การใช้งานทางด้านเครือข่ายนั้นยังมี น้อยแต่ก็เหมาะสาหรับการสร้างเครือข่ายย่อยที่ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงมากนัก 1.1.4 เทคโนโลยี Laser สภาพแวดล้อมที่ใช้เลเซอร์นั้น เปรียบได้กับเครือข่ายที่ใช้ระบบสายไฟเบอร์โดยไม่ใช้สายไฟ เบอร์อย่างไรก็ตาม LAN ส่วนใหญ่จะใช้LED (Light Emitting Diode) เนื่องจากเลเซอร์เป็นแสง ที่มองเห็น ดังนั้นอุปกรณ์นี้จึงเป็นแบบไลน์ออฟไซต์(Light - of - Sight Diode)
  • 32. ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN) ระบบเครือข่ายไร้สาย ระบบเครือข่ายไร้สาย หรือ ระบบเครือข่ายแบบ Wireless LAN หรือ WLAN เป็นการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายแบบไร้สาย (ไม่จาเป็นต้องเดินสายเคเบิ้ล) เหมาะสาหรับการ ติดตั้งในสถานที่ที่ไม่สะดวกในการเดินสาย หรือในสถานที่ที่ต้องการความสวยงาม เรียบร้อย และเป็นระเบียบ เช่น สนามบิน โรงแรม ร้านอาหาร เป็นต้น หลักการทางานของระบบ Wireless LAN การทางานจะมีอุปกรณ์ในการส่งสัญญาณ และกระจายสัญญาณ หรือที่เราเรียกว่า Access Point และมี PC Card ที่เป็น LAN card สาหรับในการเชื่อมกับ access point โดยเฉพาะ การ ทางานจะใช้คลื่นวิทยุเป็นการรับส่งสัญญาณ โดยมีให้เลือกใช้ตั้งแต่ 2.4 to 2.4897 Ghz และ สามารถเลือก config ใน Wireless Lan (ภายในระบบเครือข่าย Wireless Lan ควรเลือก ช่องสัญญาณเดียวกัน) ระยะทางการเชื่อมต่อของระบบ Wireless LAN ภายในอาคาร 1. ระยะ 50 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 11 Mbps 2. ระยะ 80 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 5.5 Mbps 3. ระยะ 120 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 2 Mbps 4. ระยะ 150 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 1 Mbps
  • 33. ภายนอกอาคาร 1.ระยะ 250 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 11 Mbps 2. ระยะ 350 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 5.5 Mbps 3. ระยะ 400 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 2 Mbps 4. ระยะ 500 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 1 Mbps การเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย Wireless LAN มี 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. การเชื่อมโยงระบบแบบ Ad-hoc (Peer to Peer) โครงสร้างการเชื่อมโยงระบบแบบ Ad-hoc หรือ Peer to Peer เป็นการสื่อสารข้อมูล ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ไร้สายและอุปกรณ์ต่าง ๆ ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป โดยที่ไม่มี ศูนย์กลางควบคุมอุปกรณ์ทุกเครื่องสามารถสื่อสารข้อมูลถึงกันได้เอง ตัวส่งจะใช้วิธีการ แพร่กระจายคลื่นออกไปในทุกทิศทุกทางโดยไม่ทราบจุดหมายปลายทางของตัวรับว่าอยู่ที่ใด ซึ่งตัวรับจะต้องอยู่ในขอบเขตพื้นที่ให้บริการที่คลื่นสามารถเดินทางมาถึงแล้วคอยเช็คข้อมูลว่า ใช่ของตน หรือไม่ ด้วยการตรวจสอบค่า Mac Address ผู้รับปลายทางในเฟรมข้อมูลที่ แพร่กระจายออกมา ถ้าใช่ข้อมูลของตนก็จะนาข้อมูลเหล่านั้นไปประมวลผลต่อไป การเชื่อมโยงเครือข่ายไวร์เลสแลนที่ใช้โครงสร้างการเชื่อมโยงแบบ Ad-hoc ไม่สามารถ เชื่อมโยงเข้าสู่ระบบเครือข่ายอีเธอร์เน็ตได้เนื่องจากบนระบบไม่มีการใช้สัญญาณเลย 2. การเชื่อมโยงระบบแบบ Infrastructure (Client/Server) โครงสร้างการเชื่อมโยงระบบแบบ Infrastructure หรือ Client / Server มีข้อพิเศษกว่า ระบบแบบ Ad-hoc ตรงที่มีแอ็กเซสพอยน์เป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยง (ทาหน้าที่คล้ายฮับ) และ
  • 34. เป็นสะพานเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ไร้สายอุปกรณ์ไวร์เลสแลนเข้าสู่เคลือข่ายอีเธอร์เน็ตแลน หลัก (Ethernet Backbone) รวมถึงการควบคุมการสื่อสารข้อมูลอุปกรณ์ไวร์เลสแลน อุปกรณ์สาหรับการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย Wireless LAN 1. แลนการ์ดไร้สาย (Wireless LAN Card) ทาหน้าที่ในการ แปลงข้อมูล ดิจิตอล ที่ได้จากการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ เป็นคลื่นวิทยุแล้วส่งผ่านสายอากาศให้กระจายออกไป และทาหน้าที่ในการรับเอาคลื่นวิทยุที่ แพร่กระจายแปลงเป็น ข้อมูลดิจิตอล ส่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ประมวลผล Wireless LAN ที่ ผลิตออกมาจาหน่าย มีหลายรูปแบบแบ่งตามลักษณะช่องเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ได้ดังนี้ - แลนการ์ดแบบ PCI - แลนการ์ดแบบ PCMCIA - แลนการ์ดแบบ USB - แลนการ์ดแบบ Compact Flash (CF) 2. อุปกรณ์เข้าใช้งานเครือข่าย (Wireless Access Point) ทาหน้าที่เสมือน ฮับ เชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ไร้สายและอุปกรณ์ไวร์เลสแลนแบบต่าง ๆ เข้าด้วยกัน อีกทั้งเป็นสะพานเชื่อมต่อ เครื่องไวร์เลสแลนเข้ากับเครื่องอีเธอร์เนตทาให้ระบบทั้ง สองสามารถสื่อสารกันได้ 3. สะพานเชื่อมโยงไร้สาย (Wireless Bridge)