SlideShare a Scribd company logo
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet)
สาระสำาคัญ
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต คือระบบเครือ
ข่ายคอมพิวเตอร์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้
ใช้สามารถติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่อง
อื่นๆ ที่อยู่ทั่วโลกได้ เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละ
เครื่องอาจมีระบบที่ต่างกัน แต่เมื่อเชื่อมต่อเข้า
สู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ตก็สามารถใช้บริการ
บนอินเตอร์เน็ต แลกเปลี่ยนข้อความ ไฟล์
ภาพและข้อมูลต่างๆ กับเครื่องคอมพิวเตอร์
เครื่องอื่นๆ ได้
2
สาระการเรียนรู้
 ความหมายของเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
 กำาเนิดเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย
 การทำางานของเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
 บริการที่สำาคัญในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
 การเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
3
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายความหมายของเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตได้
2. บอกถึงการกำาเนิดเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้
3. บอกถึงวิวัฒนาการเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ของประเทศไทยได้
4. อธิบายการทำางานของเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตได้
5. บอกถึงบริการที่สำาคัญในเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตได้ 4
1. เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
(Internet)
 เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเริ่มมีการใช้งานเมื่อปี พ.ศ.
2512 เมื่อองค์กรอาร์พา (ARPA :Advance
Research Projects Agency) ที่ตั้งขึ้นโดย
คณะวิจัยของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา
 ได้ทำาการเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ของ
กระทรวงกลาโหมกับมหาวิทยาลัยและองค์กร
ต่างๆ เข้าด้วยกัน
 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะสร้างระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อหลายเส้น
ทาง หากระบบเครือข่ายบางส่วนถูกทำาลาย
เนื่องจากสงคราม ระบบเครือข่ายในส่วนที่เหลือยัง
สามารถใช้งานแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างกันได้ 5
กองทุนเอ็นเอสเอฟ (NSF:National
Science Foundation) เข้ามาสนับสนุนกา
รพัฒนา หลังจากที่กระทรวงกลาโหมของ
สหรัฐได้งดเงินทุนในการสนับสนุน เอ็นเอส
เอฟได้ทำาการพัฒนาระบบเครือข่าย โดยแก้ไข
ข้อบกพร่องของระบบอาร์พาเน็ต และทำาการ
ตั้งชื่อระบบใหม่ที่ได้พัฒนาขึ้นว่า เอ็นเอสเอฟ
เน็ต (NSFnet) นอกจากนี้ยังได้เชื่อมโยงเครือ
ข่ายอาร์พาเน็ตเอ็นเอสเอฟเน็ตกับระบบเครือ
ข่ายอื่นๆ โดยเรียกการเชื่อมโยงดังกล่าวว่า
6
รูปแสดงการเชื่อมต่อเครือข่าย
ARPANET
7
แสดงการเชื่อมต่อเครือข่าย
ARPANET เครือข่าย NSFNET กับ
เครือข่ายอื่น ๆ
8
เครือข่ายอินเตอร์เน็ตในประเทศไทย
เริ่มต้นเมื่อปี พ.ศ. 2529 สถาบันเทคโนโลยี
แห่งเอเชีย (AIT) สร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ขึ้นเป็นครั้งแรก ที่มีความเร็ว 1200 - 2400
Baud และได้เปลี่ยนไปใช้บริการไทยแพค
ของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ซึ่งใช้
เทคโนโลยี X.25 ผ่านการหมุนโทรศัพท์ไปยัง
ศูนย์บริการของการสื่อสารแห่งประเทศไทย
ทำาการรับส่งอีเมล์กับมหาวิทยาลัยโตเกียว และ
มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น โดยใช้โปรแกรม
9
หลังจากนั้นรัฐบาลประเทศออสเตรเลีย
ได้ให้ความช่วยเหลือกับจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
(มอ.) และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT)
ภายใต้โครงการ The International
Development Plan (IDP) พัฒนาเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ไทยขึ้นมา ในปี พ.ศ. 2531
โดยให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ทำาหน้าที่เป็น
ศูนย์กลางของประเทศไทยในการเชื่อมโยงไป
1
ในปีพ.ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
(NECTEC)ได้พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยใช้
X.25 รวมกับ MHSNet และใช้โปรโตคอล TCP/IP
เรียกว่า เครือข่ายไทยสาร (Thai
Social/Scientific Academic and Research
Network – ThaiSarn) และในปีพ.ศ. 2538
รัฐบาลไทยได้เปิดบริการอินเตอร์เน็ตเชิงพาณิชย์
โดยบริษัทอินเตอร์เน็ตแห่งประเทศไทย จำากัด โดยมี
การสื่อสารแห่งประเทศไทย องค์การโทรศัพท์แห่ง
ประเทศไทย และสำานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และ 1
2. หน่วยงานที่มีบทบาทสำาคัญใน
เครือข่ายอินเตอร์เน็ตของ
ประเทศไทย
2.1 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ NECTEC
ในฐานะหน่วยงานวิจัย ค้นคว้า และพัฒนา
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการ
สื่อสารข้อมูล และในฐานะผู้ให้บริการจุด
แลกเปลี่ยนสัญญาณภายในประเทศ ผู้ดูแล
เครือข่าย Thaisarn SchoolNet GINet
และในฐานะคณะอนุกรรมการด้านนโยบาย
อินเตอร์เน็ตสำาหรับประเทศไทย
1
2.2 THNIC ในฐานะผู้ให้บริการจด
ทะเบียนชื่อโดเมนสัญชาติไทย (.th) และดู
และระบบบริการสอบถามชื่อโดเมนสัญชาติ
ไทย ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้การดูแลของ
AIT
2.3 การสื่อสารแห่งประเทศไทย ใน
ฐานะผู้ให้บริการวงจรสื่อสารระหว่างประเทศ
ผู้ให้ใบอนุญาต และถอดถอนสิทธิการให้
บริการของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) รวม1
2.4 ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ (ISP
: Internet Service Providers ) ในฐานะผู้ให้
บริการอินเตอร์เน็ตแก่บุคคลและองค์กรต่างๆ
2.5 ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตแบบไม่หวังกำาไร
เช่น SchoolNet ที่ให้บริการโรงเรียนต่างๆ ทั่ว
ประเทศ ThaiSarn ผู้ให้บริการเชิงวิจัยสำาหรับ
สถานศึกษา UniNet เครือข่ายอินเตอร์เน็ตของ
ทบวงมหาวิทยาลัย MoeNet เครือข่ายของกระ
ทวงศึกษาธิการ และ GINet เครือข่ายรัฐบาล
2.6 ผู้ให้บริการวงจรสื่อสารภายในประเทศ
เช่น การสื่อสารแห่งประเทศไทย บริษัท ทศท
1
3. การทำางานของเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต
สิ่งสำาคัญในการทำางานของเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต คือ การที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของ
ผู้ใช้สามารถติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์
เครื่องอื่นๆ ที่อยู่ทั่วโลกได้
องค์ประกอบสำาคัญของเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต ประกอบด้วย ระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ (Computer Network)
โปรโตคอลทีซีพี/ไอพี (TCP/IP Protocol)
และไอพีแอดเดรส (IP Address) 1
3.1 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ในระบบเครือข่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่
ไม่ได้ทำาการเชื่อมต่อโดยตรงกับเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต แต่จะเชื่อมต่อผ่านเครือข่ายย่อย
3.2 โปรโตคอลทีซีพี/ไอพี (TCP/IP
Protocol)
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต เชื่อมโยงเครื่อง
คอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันสามารถติดต่อสื่อสาร
แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์
ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใช้ 1
3.3 ไอพีแอดเดรส (IP Address)
เครื่องคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ โดยอาศัยโปรโตคอล
ทีซีพี/ไอพีในการสื่อสารและมีความจำาเป็นต้องมี
การระบุหมายเลขประจำาเครื่อง ที่จะแสดงถึง
เครื่องต้นทางและเครื่องปลายทางในการติดต่อ
สื่อสาร โดยหมายเลขประจำาเครื่องนี้จะซำ้ากันไม่
ได้ เราเรียกหมายเลขเหล่านั้นว่า ไอพีแอดเดรส
(IP Address : Internet Protocol Address)
1
4. บริการที่สำาคัญในเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต
 จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
 การสนทนา (Chat)
 การติดตามข่าวสาร (News)
 การใช้ทรัพยากรเครือข่ายร่วมกัน
(Telnet)
 การถ่ายโอนไฟล์ (FTP)
 บริการอื่นๆ ที่เป็นบริการที่สำาคัญในเครือ
ข่ายอินเตอร์เน็ต
1
เวิลด์ไวด์เว็บ (WWW : World
Wide Web)
เวิลด์ไวด์เว็บหรือเครือข่ายใยแมงมุม เป็น
บริการค้นหาและแสดงข้อความและข้อมูลที่ใช้หลัก
การของไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) ทำางานด้วยโปร
โตคอลเอชทีทีพี (HTTP:Hypertext Tranfer
Protocol) ซึ่งมีลักษณะแบบไคลแอนท์เซิร์ฟเวอร์
(Client/server) โดยการใช้งานผู้ใช้จะร้องขอ
ข้อมูลจากเครื่องที่เปิดให้บริการข้อมูลที่เรียกว่า เว็บ
เซิร์ฟเวอร์ (Web Server) โดยใช้โปรแกรมช่วยใน
การเปิดอ่านเอกสารดังกล่าว คือ โปรแกรมเว็บ
บราวเซอร์ (Web Browser) เอกสารที่ใช้ในโปรโตร
คอล HTTP มีชื่อเรียกว่า เว็บเพจ ซึ่งสร้างมาจาก 1
แสดงการบริการเวิลด์ไวด์เว็บ
(WWW : World Wide Web)
2
ในการส่งและรับข้อมูลข่าวสารจากบุคคลหนึ่ง
สู่อีกบุคคลหนึ่งผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต จะใช้
บริการที่เรียกว่า จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
ปัจจุบันจดหมายอิเล็กทรอนิกส์สามารถส่ง
ข้อความในรูปแบบของเอกสาร HTML รูปภาพ ไฟล์
เสียง และวีดีโอ โดยผู้ใช้จะทำาการส่งจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ไปยังเมล์เซิร์ฟเวอร์ของผู้รับ โดยใช้
โปรโตคอล SMTP (Simple Mail Transfer
Protocol) ผู้รับจดหมายเมื่อต้องการเปิดอ่าน
จดหมาย จะเชื่อมต่อกับเมล์เซิร์ฟเวอร์เพื่ออ่าน
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ในเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งอาจใช้ 2
แสดงการใช้งาน บริการ E-Mail ด้วย
โปรแกรม Outlook
2
การสนทนาออนไลน์ (Talk)
การสนทนาออนไลน์ โดยการพิมพ์
ข้อความลงในโปรแกรมสำาหรับการสนทนา
ผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต อาจจะอยู่ใน
รูปแบบที่คุยสองคน ที่เรียกว่า Talk หรือการ
คุยเป็นกลุ่มที่เรียกว่า Chat โปรแกรมให้
บริการสนทนาออนไลน์ได้แก่ โปรแกรมไออาร์
ซี (IRC)โปรแกรมไอซีคิว (ICQ) และโปรแก
รมเอ็มเอสเอ็น (MSN) เป็นต้น
ปัจจุบันการสนทนาออนไลน์ นอกจาก
การสนทนาโดยการพิมพ์ข้อความแล้ว ยัง
สามารถพูดคุยด้วยเสียงคล้ายกับการใช้ 2
แสดงโปรแกรม MSN ซึ่งเป็น
โปรแกรมสนทนาออนไลน์
2
บริการถ่ายโอนไฟล์ (FTP :
File Transfer Protocol)
การถ่ายโอนไฟล์หรือคัดลอกไฟล์จาก
เครื่องที่เชื่อมต่ออยู่ระยะไกลมาที่เครื่องของผู้
ใช้ เรียกว่า บริการเอฟทีพี (FTP) หรือ ไฟล์
ทรานเฟอร์โปรโตคอล (File Transfer
Protocol)
2
แสดงการใช้งานบริการถ่ายโอนไฟล์
ด้วยโปรแกรม CuteFTP
2
เทลเน็ต (Telnet)
เทลเน็ต เป็นบริการในระบบเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต ที่เป็นส่วนหนึ่งของโปรโตคอล
TCP/IP ซึ่งเป็นโปรโตคอลหลักของระบบเครือ
ข่ายอินเตอร์เน็ต มีรูปแบบการต่อเชื่อมเป็น
แบบไคลเอ็นต์-เซิร์ฟเวอร์
การติดต่อเทลเน็ตทำาได้สะดวกและ
รวดเร็ว โดยการป้อนที่อยู่หรือไอพีแอดเดรส
ของเครื่องที่ต้องการติดต่อ เมื่อติดต่อได้แล้วจะ
มีหน้าจอให้ผู้ใช้ logon ซึ่งในขั้นตอนนี้จะ 2
แสดงการควบคุมอุปกรณ์เครือข่ายจาก
ระยะไกล ผ่านบริการ Telnet
2
5. การเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบ
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
5.1 การเชื่อมต่อส่วนบุคคล
เชื่อมต่อเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตได้โดย
ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อจากที่บ้าน
หรือสำานักงาน โดยใช้ช่องทางการเชื่อมต่อ
ผ่านทางสายโทรศัพท์ ร่วมกับอุปกรณ์โมเด็ม
(Modem) การเชื่อมต่อลักษณะนี้จะเสียค่า
ใช้จ่ายไม่สูงมากนัก เราเรียกการเชื่อมต่อ
แบบนี้ว่า การเชื่อมต่อแบบ Dial-Up แต่การ
เชื่อมต่อแบบ Dial-Up อาจจะมีปัญหาใน 2
แสดงการเชื่อมต่อเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตส่วนบุคคล
3
5.2 การเชื่อมต่อแบบองค์กร
สามารถนำาเครื่องแม่ข่าย (Server) ของ
เครือข่ายนั้นเข้าเชื่อมต่อกับผู้ให้บริการ
อินเตอร์เน็ต (ISP) เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบ
อินเตอร์เน็ต ซึ่งผู้ใช้งานจะไม่ต้องยุ่งยาก
ในการกำาหนดค่าเกี่ยวกับการเชื่อมต่อ
เพียงแต่เปิดคอมพิวเตอร์ แล้วระบบที่
สำานักงานติดตั้งไว้ก็จะเชื่อมต่อ
อินเตอร์เน็ตให้โดยอัตโนมัติ เครื่อง
คอมพิวเตอร์ในสำานักงานส่วนใหญ่จะ
เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายของหน่วยงาน
โดยผ่านระบบเครือข่ายท้องถิ่นหรือ LAN 3
แสดงการเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ผ่านสายนำาสัญญาณความเร็วสูง
3
แสดงการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตแบบองค์กรผ่านโมเด็ม
3
กิจกรรมท้ายบทเรียนที่ 7
แบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่มเรียนรู้กลุ่มละ 3–5 คน
ทำาการศึกษาเกี่ยวกับความหมายของเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต กำาเนิดเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและ
เครือข่ายอินเตอร์เน็ตในประเทศไทย สรุป
เนื้อหาการทำางานของเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
บริการที่สำาคัญในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การ
เชื่อมต่อเข้าสู่ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และ
ให้นักศึกษานำาเสนอเนื้อหาที่ได้ทำาการศึกษา
เป็นรายกลุ่มท้ายชั่วโมงเรียน
3

More Related Content

What's hot

ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภทลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
Chalermkiat Aum
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
apisak smutpha
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
kvc10513
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
Wanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
อรยา ม่วงมนตรี
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Narathip Limkul
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4Chutikan Mint
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
Jenchoke Tachagomain
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
อรยา ม่วงมนตรี
 
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตสื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
kiss_jib
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Kalib Karn
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Wanphen Wirojcharoenwong
 

What's hot (16)

ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภทลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
Week 2
Week 2Week 2
Week 2
 
Basic
BasicBasic
Basic
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตสื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to Unit07 internet

ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในaru
 
Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)
woobingirlfriend
 
Computer
ComputerComputer
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
พีรพัฒน์ บุญวัชรพันธ์สกุล
 
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1
พีรพัฒน์ บุญวัชรพันธ์สกุล
 
M.5 3 11 13 24
M.5 3 11 13 24M.5 3 11 13 24
M.5 3 11 13 24
Mark'k Stk
 
M.5 3 11 13 24(PP)
M.5 3 11 13 24(PP)M.5 3 11 13 24(PP)
M.5 3 11 13 24(PP)
Mark'k Stk
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ACR
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ACR
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ACR
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ACR
 
งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้
Phai Trinod
 
งานคอม แก้
งานคอม แก้งานคอม แก้
งานคอม แก้
Phai Trinod
 
งานคอม 656
งานคอม 656งานคอม 656
งานคอม 656
Wittawat Kaodee
 

Similar to Unit07 internet (20)

2
22
2
 
2
22
2
 
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
 
Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)
 
pw
pwpw
pw
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
 
22
2222
22
 
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1
 
M.5 3 11 13 24
M.5 3 11 13 24M.5 3 11 13 24
M.5 3 11 13 24
 
M.5 3 11 13 24(PP)
M.5 3 11 13 24(PP)M.5 3 11 13 24(PP)
M.5 3 11 13 24(PP)
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
 
งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้
 
งานคอม แก้
งานคอม แก้งานคอม แก้
งานคอม แก้
 
งานคอม 656
งานคอม 656งานคอม 656
งานคอม 656
 
ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 

Unit07 internet