SlideShare a Scribd company logo
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
การค้นคว้าแบบอิสระเรื่องการพัฒนาสื่อเชิงโต้ตอบวิชาทฤษฏีสี สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้น
ปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน
การสอนวิชาทฤษฏีสี สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีปีที่ 1 โดยมีทฤษฎีแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่ง
ได้นามาใช้ประกอบการศึกษา โดยมีหัวข้อดังนี้
2.1 การประชาสัมพันธ์
2.2 ความหมายของเว็บไซต์
2.3 ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
2.4 ทฤษฏีการออกแบบเชิงปฏิสัมพันธ์
2.5 ทฤษฏีสี
2.6 หลักการออกแบบเว็บไซต์
2.7ขั้นตอนการพัฒนา
2.8ส่วนประกอบของเว็บไซต์
2.9แนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์
2.10ความรู้เกี่ยวกับบทเรียนผ่านเว็บ
2.11 หลักการออกแบบบทเรียนผ่านเว็บ
2.12 การประเมินเว็บไซต์
2.13 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 การประชาสัมพันธ์
ความหมายของการประชาสัมพันธ์คาว่า “การประชาสัมพันธ์” มาจากคาว่า “ประชา” กับ“สัมพันธ์”
ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า “public relations” หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า “PR” ตามคาศัพท์นี้หมายถึงการมี
ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับประชาชน ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง
การติดต่อสื่อสาร เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันถูกต้องต่อกัน และถ้าจะขยายความหมายให้เป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น จะ
หมายถึง “ความพยายามที่มีการวางแผนและเป็นการกระทาที่ต่อเนื่อง ในอันที่จะมีอิทธิพลเหนือความคิดจิตใจ
ของประชาชน กลุ่มเป้าหมายโดยการกระทาสิ่งที่ดีมีคุณค่าให้กับสังคม เพื่อให้ประชาชนเหล่านี้เกิดทัศนคติทีดี
ต่อหน่วยงานกิจกรรม และบริการ หรือสินค้าของหน่วยงานนี้ และเพื่อที่จะได้รับการสนับสนุนและร่วมมือที่ดี
จากประชาชนเหล่านี้ในระยะยาว” อย่างไรก็ดี ได้มีผู้ให้ความหมายของการประชาสัมพันธ์ไว้ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ด.ร.เสรี วงษ์มณฑา, 2540 ให้ความหมายว่า “การประชาสัมพันธ์เป็นความพยายามที่มีการวางแผน
ในการที่จะมีอิทธิพลเหนือความคิดจิตใจของสาธารณชนที่เกี่ยวข้อง โดยกระทาสิ่งที่ดีที่มีคุณค่ากับสังคมเพื่อให้
สาธารณชนเหล่านั้นมีทัศนคติที่ดีต่อหน่วยงาน องค์กร บริษัท ห้างร้าน หรือสมาคม ตลอดจนมีภาพพจน์ที่ดี
2
เกี่ยวกับหน่วยงานต่าง ๆ เหล่านั้น เพื่อให้หน่วยงานได้รับการสนับสนุนและความร่วมมือที่ดีจากสาธารณชนที่
เกี่ยวข้องในระยะยาวต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ”
สุพิณ ปัญญามาก, 2535 อธิบายไว้ว่า “ความพยายามที่มีแผนที่จะมีอิทธิพลต่อความคิดและทัศนคติ
ของประชาชน เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประชาชนกับหน่วยงาน”
สะอาด ตัณศุภผล,2536 อาจารย์ผู้ซึ่งมีความสาคัญมากผู้หนึ่งในการวางรากฐานการเรียนการสอน
วิชาการประชาสัมพันธ์ของไทยในปัจจุบันได้กล่าว่า “การประชาสัมพันธ์ คือ วิธีการของสถาบันอันมีแผนการ
และกระทาต่อเนื่องกันไป ในอันที่จะสร้างหรือยังให้เกิดความสัมพันธ์อันดีกับกลุ่มประชาชน เพื่อให้สถาบัน
และกลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจ และให้การสนับสนุนร่วมมือกันและกัน อันจะเป็นประโยชน์
ให้สถาบันนั้นดาเนินงานไปได้ผลดีสมความมุ่งหมาย โดยมีประชามติเป็นแนวบรรทัดฐานอันสาคัญด้วย”
นางสาว ชลิตา ไวรักษ์.การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อประชาสัมพันธ์องค์กร :กรณีศึกษาสโมสรทาร์ซาน ฮัท
เพนท์ บอล เชียงใหม่
2.2 ความหมายของเว็บไซต์(Web site) โฮมเพ็จ (Home page) และเว็บเพจ (Web page)
เอเบอร์โซล (Ebersole. 2000 : Online) กล่าวว่า เว็บไซต์ หมายถึง สื่อประสมการเชื่อมต่อและ
นาเสนอข้อมูลข่าวสาร และแหล่งความบันเทิงต่างๆ ไปยังกลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดย
ปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เว็บไซต์เติบโตอย่างรวดเร็ว ก็คือ ความง่ายในการใช้งานและการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่งคน
ที่ดูแลเนื้อหาของเว็บเองก็คอยจะนาเสนอบริการใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นด้วย ในความเป็นจริงแล้วองค์ประกอบที่
สลับซับซ้อนของเว็บไซต์อยู่ที่ความเป็นพลวัต และความสามารถในการรวมตัวกับคุณสมบัติของสื่ออื่น หรือ
เปลี่ยนแปลงไปเป็นสิ่งอื่น ๆได้โดยในแต่ละเดือนที่ผ่านไปได้นามาซึ่งเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อการพัฒนาและ
ขยายขอบข่ายของเว็บไซต์ และประสบการณ์ที่ผู้รับสารจะได้รับผ่านเว็บไซต์ และในปัจจุบันได้มีการนาเว็บไซต์
มาใช้เพื่อการศึกษาของโรงเรียนต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้นอีกที
กิดานันท์ มลิทอง (2542 : 7) ได้ให้ความหมายคาว่า “เว็บไซต์” ไว้ว่าคือแหล่งที่รวบรวมหน้าเว็บ
จานวนมากมายหลายหน้าในเรื่องเดียวกันมารวมอยู่ด้วยกัน แต่สิ่งหนึ่งในการเสนอเรื่องราวที่อยู่บนเว็บไซต์ที่
แตกต่างไปจากโปรแกรมโทรทัศน์ เนื้อหานิตยสาร หรือหนังสือพิมพ์คือ การทางานบนเว็บไม่มีสิ้นสุดลง
โดยทั่วไปแล้วเว็บไซต์จะประกอบด้วยเว็บเพจ (Web page) หรือหน้าเว็บที่เปรียบเสมือนหน้าหนังสือที่
ประกอบด้วยข้อความและภาพจานวนหลายหน้า และจะมีหน้าโฮมเพจ (Homepage) หรือหน้านาเข้า หรือ
เรียกอีกอย่างว่า “หน้าต้อนรับ” ซึ่งจะมีปรากฏเป็นหน้าแรกเมื่อเปิดเว็บไซต์ขึ้นมา หน้าโฮมเพจจึง
เปรียบเสมือนเป็นหน้าสารบัญเพื่อบอกกล่าวหัวข้อเรื่องราวเกี่ยวกับ
เว็บไซต์นั้นปัจจุบันมีเว็บไซต์เกิดขึ้นมากมายนับล้านเว็บ ซึ่งหมายถึง มีข้อมูลสารสนเทศที่มากมาย
มหาศาลอยู่บนเว็บ ข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้จะมีที่ยู่แตกต่างกัน การจะไปยังเว็บเพจใดจะต้องทราบที่อยู่
(Address) ของเว็บเพจนั้น ที่อยู่ของเว็บเพจได้มีการกาหนดขึ้นเป็นสากลเพื่อบ่งบอกว่าเว็บเพจนั้นอยู่ที่ใด
เรียกกันโดยย่อว่า URL (Universal Recourse Locator) ซึ่งประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วนคือ ส่วนที่หนึ่ง
คือ โปรโตคอล ส่วนที่สองคือชื่อเครื่องที่ให้บริการ และส่วนที่สาม คือ เส้นทางที่บ่งบอกที่อยู่ของเอกสารใน
3
เครื่องให้บริการนั้นตัวอย่างเช่น เว็บเพจที่มี URL เป็น http://www.ku.ac.th/index.html มีโปรโตคอล คือ
http ชื่อเครื่องให้บริการคือ www.ac.th ส่วนเส้นทางเดินของเอกสารจะมีระดับเดียว คือ แต่หากมีเส้นทาง
ในอีกระดับก็จะสังเกตได้ว่าจะมีเส้นขีดทับตามด้วยชื่อแฟ้ม เช่น
http://www.infoplease.com/A0193167.html
พันจันทร์ ธนาวัฒเสถียร,ประชา พฤกษ์ประเสริฐ์ และปิยะ นากบังก์ (2542 : 5) กล่าวว่า เว็บไซต์
(Web site) เป็นที่เก็บเว็บเพจ เมื่อใดที่เราต้องการเปิดดูเว็บเพจ เราต้องใช้บราวเซอร์ดึง ข้อมูล โดยบราวเซอร์
จะทาการติดต่อกับเว็บไซต์นั้นเพื่อให้มีการโอนย้ายข้อมูลมาแสดงที่เครื่องของเรา ดังตัวอย่างการโอนย้ายเว็บ
เพจจากเว็บไซต์ ABCNEWS มาแสดงที่เครื่องของเรา (เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเผยแพร่เว็บไซต์ เรียกว่า
เว็บเซิฟเวอร์ : Web server)
วันชัย แซ่เตีย และสิทธิชัย ประสานวงศ์ (2542 : 5) กล่าวว่า เว็บไซต์ เป็นเครื่องที่ใช้ในการจัดเก็บ
เว็บเพจแต่ละองค์กรที่จะนาเสนอข้อมูลของตนในรูปของเว็บมักจะมีเว็บไซต์เป็นของตนเอง และมักใช้ชื่อ
องค์กรเป็นชื่อเว็บไซต์เพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถจดจาได้ง่าย
สรุปได้ว่าเว็บไซต์ คือ แหล่งรวมโฮมเพจ เว็บเพจทั้งหมดขององค์กร และนาเสนอผ่านอินเทอร์เน็ต
ผ่าน httpโดยผู้ใช้สามารถเปิดดูด้วย Browser เช่น IE หรือ Netscape เป็นต้น ข้อมูลในเว็บไซต์สามารถ
เป็นได้ทั้งตัวอักษร ภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหวได้
นามาจาก : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
2.3 ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2551: ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความ ของเว็บไซต์ (Web site)
หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่าน
คอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ
เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จาเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสีย
ค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อมูลสื่อ
ต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์
ชัยมงคล เทพวงษ์(2550)โดยองค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์ มีดังนี้คือ
1) ความเรียบง่าย ได้แก่ มีรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้งานได้สะดวก ไม่มีกราฟิกหรือ
ตัวอักษรที่เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ชนิดและสีของตัวอักษรไม่มากจนเกินไปทาให้วุ่นวาย
2) ความสม่าเสมอ ได้แก่ ใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ เช่น รูปแบบของหน้า สไตล์ของกราฟิก
ระบบเนวิเกชันและโทนสี ควรมีความคล้ายคลึงกันตลอดทั้งเว็บไซต์
3) ความเป็นเอกลักษณ์การออกแบบเว็บไซต์ควรคานึงถึงอัตลักษณ์และลักษณะขอองค์กรเพราะ
รูปแบบของเว็บไซต์จะสะท้อนถึงเอกลักษณ์และลักษณะขององค์กรนั้นๆเช่นถ้าเป็นเว็บไซต์ของทางราชการ
จะต้องดูน่าเชื่อถือไม่เหมือนสวนสนุก ฯลฯ
4
4) เนื้อหาที่มีประโยชน์ เนื้อหาเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในเว็บไซต์ ดังนั้นควรจัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูลที่
ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้อง และสมบูรณ์ มีการปรับปรุงและเพิ่มเติมให้ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื้อหาไม่ควรซ้ากับ
เว็บไซต์อื่นจึงจะดึงดูดความสนใจ
5) ระบบเนวิเกชันที่ใช้งานง่าย ต้องออกแบบให้ผู้ใช้เข้าใจง่ายและใช้งานสะดวก ใช้กราฟิกที่สื่อ
ความหมายร่วมกับคาอธิบายที่ชัดเจน มีรูปแบบและลาดับของรายการที่สม่าเสมอ เช่น วางไว้ตาแหน่งเดียวกัน
ของทุกหน้า
6) ลักษณะที่น่าสนใจหน้าตาของเว็บไซต์ต้องมีความสัมพันธ์กับคุณภาพขององค์ประกอบประกอบ
ต่างๆ เช่น คุณภาพของกราฟิกที่จะต้องสมบูรณ์ การใช้สี การใช้ตัวอักษรที่อ่านง่าย สบายตา การใช้โทนสีที่เข้า
กัน ลักษณะหน้าตาที่น่าสนใจนั้นขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละบุคคล
7) การใช้งานอย่างไม่จากัดผู้ใช้ส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงได้มากที่สุดเลือกใช้บราวเซอร์ชนิดใดก็ได้ใน
การเข้าถึงเนื้อหาสามารถแสดงผลได้ทุกระบบปฏิบัติการและความละเอียดหน้าต่างๆ กันอย่างไม่มีปัญหาเป็น
ลักษณะสาคัฐสาหรับผู้ใช้ที่มีจานวนมาก
8) คุณภาพในการออกแบบ การออกแบบ และ การเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบสามารถสร้าง
ความรู้สึกว่าเว็บไซต์มีคุณภาพถูกต้องและเชื่อถือได้
9) ระบบการใช้งานที่ถูกต้องการใช้แบบฟอร์มสาหรับกรอกข้อมูลต้องสามารถกรอกได้จริงใช้งานได้
จริงลิงค์ต่างๆจะต้องเชื่อมโยงไปหน้าที่มีอยู่จริงและถูกต้องระบบการทางานต่างๆในเว็บไซต์จะต้องมีความ
แน่นอนและทาหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง
Jess james Garrett (2003) ได้กาหนดกรอบของกระบวนการทางาน(Framework)ที่แสดงให้เห็นถึง
ขั้นตอนของการพัฒนาเว็บตั้งแต่เริ่มต้นกระบวนการจนกระทั้งสิ้นสุดกระบวนการ เพื่อให้พัฒนาเว็บเป็นไป
อย่างมีแบบแผน แบบจาลองกระบวนการพัฒนา แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอนได้แก่
1) การสร้างกลยุทธ์ในการออกแบบ(Strategy Plane) เป็นขั้นตอนการวิเคราะห์ปัจจัย 3ประการคือ
ผู้ใช้ องค์กร และองค์กรที่มีลักษณะงานประเภทเดียวกันเพื่อทราบเป้าหมายหรือแนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์
โดยปัจจัยทั้ง3ประการมีรายละเอียดดังนี้
- ผู้ใช้ เป็นการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ โดยศึกษาหรือทาการสารวจจากผู้ใช้ที่เป็กลุ่มเป้าหมาย
เพื่อตอบคาถามว่า เมื่อผู้ใช้เข้ามายังหน้าเว็บแล้วต้องการได้รับข้อมูลใดกลับไปบ้าง มีฟังก์ชั่นหรือการใช้งาน
รูปแบบใดบนเว็บไซต์ที่ผู้ใช้ต้องการ และปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดจากการใช้งานเว็บที่ได้พบ
- องค์กร เป็นการวิเคราะห์เป้าหมายทางธุรกิจทั้งในส่วนเงินทุนบุคลากรและความเป็นไปได้ที่จะ
พัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่อใช้งานรวมทั้งการเก็บรวบรวมข้อมูลขององค์กรที่จาเป็นต่อการออกแบบหน้าเว็บ เช่น
แบบเนอร์ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้จดจาเว็บไซต์ได้ง่ายขึ้น
- องค์กรที่มีลักษณะงานประเภทเดียวกันเป็นการประเมินขอบเขตข้อมูลรูปแบบนาเสนอ และ
เป้าหมายขององค์กรเพื่อพิจารณาจุดอ่อนจุดแข็งของการออกแบบเว็บแล้วนามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเว็บ
ขององค์กรต่อไป
5
2) การกาหนดขอบเขตของข้อมูล (Scope Plane) เป็นการสรุปขอบเขตของข้อมูลที่ควรมีบนหน้าเว็บ
ให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นเนื่องจากผู้ออกแบบบางคนมีเทคนิคนาเสนอขอ้มูลที่ชื่นชอบ หรือมีแนวทางพัฒนาเว็บ
หลายวิธีจนทาให้เกิดความสับสน ขั้นตอนนี้จึงเป็นการสรุปแนวทางพัฒนาเว็บโดยพิจารณาขอบเขตข้อมูลให้
สอดคล้องกับเป้าหมายที่ได้จากการวิเคราะห์ปัจจัย 3 ประการ
ขั้นตอนแรก สามารถจาแนกข้อมูลบนเว็บไซต์ออกเป็น 2 ประเภทดังนี้
- เนื้อหา (Content Requirements) เป็นข้อมูลทั่วไปที่นาเสนอให้กับผู้ใช้งาน เช่นข้อความบรรยาย
รูปภาพ เป็นต้น
- การใช้งาน (Functional Specifications) เป็นระบบการทางานหรือการใช้งานบนหน้าเว็บ ซึ่ง
มักจะเป็นงานที่ต้องมีการปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกับผู้ใช้ เช่น การรับส่ง E-mailการประมวลค่าข้อมูลของฟอร์ม
โปรแกรมสนทนาและผู้ใช้เป็นต้น
3) การจัดทาโครงสร้างข้อมูล (Structure Plane) ภายหลังจากที่ได้กาหนดขอบเขตข้อมูลแล้ว ก็จะ
เริ่มต้นกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาและหน้าที่งานบนเว็บไซต์ โดยในขั้นตอนนี้ประกอบด้วยงาน 2
ลักษณะดังนี้
- การออกแบบส่วนปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ (Interaction Design) เป็นการออกแบบหน้าเว็บสาหรับงานที่
มีลักษณะโต้ตอบกับผู้ใช้งาน เช่นการ กรอกแบบฟอร์ม และการับส่ง อีเมล์เป็นต้น ผู้ออกแบบต้องเริ่มต้นศึกษา
พฤติกรรมหรือขั้นตอนการปฏิบัติงานตามเป็นจริง แลัวนามาประยุกต์ใช้กับการออกแบบเว็บ โดยกาหนดลาดับ
ขั้นตอนการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้งานบนหน้าเว็บให้เหมือนกับขั้นตอนดังกล่าว
ธวัชชัย ศรีสุเทพ(2545)ได้กล่าวถึง ส่วนต่อประสารกับผู้ใช้ซึ่งจะประกอบด้วย
(1) เนวิเกชั่นบาร์ (Navigation Bar) เป็นระบบพื้นฐานที่ใช้ได้หลายรูปแบบโดยทั่วไปเนวิเกชั่นบาร์จะ
ประกอบด้วยกลุ่มของลิงค์ต่าง ๆ ที่อยู่รวมกันในบริเวณหนึ่งของหน้าเว็บโดยอาจจะเป็นตัวหนังสือหรือกราฟิก
ก็ได้และถือเป็นรูปแบบของเนวิกาชั่นที่ได้รับความนิยมที่สุด
(2) เนวิเกชั่นระบบเฟรม (Frame-Based) การสร้างเนวิเกชั่นระบบเฟรมเป็นอีกวิธีทาให้ผู้ใช้เข้าถึงเนวิ
เกชั่นบาร์ได้ง่ายและสม่าเสมอ โดยที่แต่ละหน้ายังเป็นอิสระต่อกัน การลิงค์จากเฟรมที่เป็นเนวิเกชั่นบาร์
สามารถควบคุมการแสดงผลของข้อมูลในอีกเฟรมหนึ่งได้ ดังนั้นส่วนที่เป็นเนวิเกชั่นบาร์จะปรากฏคงที่เสมอ
ในขณะที่ผู้ใช้เลื่อนดูข้อมูลใด ๆ ก็ตามในอีกเฟรมหนึ่งการแยกแยะระบบเนวิเกชั่นบาร์ออกจากหน้าข้อมูลใน
ลักษณะนี้จะทาให้ผู้ใช้เข้าถึงระบบเนวิเกชั่นได้ตลอดเวลาและยังคงความสม่าเสมอทั่วทั้งเว็บไซต์
(3) Pull-Down Menuเป็นส่วนประกอบของแบบฟอร์ม ที่มีลักษณะเด่นคือ มีรายการให้เลือก
มากมายแต่ใช้พื้นที่น้อยมากเมื่อเทียบกับองค์ประกอบชนิดอื่น ๆ การนา Pull-Down Menu มาใช้เป็น
ระบบเนวิเกชั่นจะช่วยให้ผุ้ใช้เลือกรายการย่อยเข้าไปสู่เป้าหมายได้อย่างสะดวก เมนูรูปแบบนี้เหมาะสาหรับ
ข้อมูลประเภทเดียวกันที่มีจานวนมาก เช่น รายชื่อประเทศ จังหวัด หรือ ภาษา แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลจานวน
น้อยหรือข้อมูลต่างประเภทกัน และควรระวังไม่ใช้ Pull- Down Menu มากจนเกินไป การใช้เมนูแบบนี้เป็น
6
ระบบเนวิเกชั่นหลาย ๆ แห่งในหนึ่งหน้าอย่างไม่เหมาะสม จะสร้างความสับสนให้ผู้ใช้เพราะไม่มีการแสดง
ความสัมพันธ์ของข้อมูลภายในเว็บไซต์ และ ผู้ใช้หน้าใหม่อาจไม่รู้ว่ามีรายการให้เลือกภายใต้เมนูนั้นก็เป็นได้
(4) Pop-up Menuเป็นเมนูอีกรูปแบบหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายPull-DownMenu แต่รายการย่อยของ
เมนูจะปรากฏขึ้นเองเมื่อผู้ใช้นาเมาส์ไปวางเหนือตาแหน่งของรายการในเมนูหลัก จากนั้นผู้ใช้ก็สามารถเลื่อน
เมาส์ไปเลือกรายการต่าง ๆ ที่ปรากฏขึ้นได้ ซึ่งสามารถพัฒนาเมนูแบบนี้ได้ โดยใช้ภาษาจาวาสคริปต์
(JavaScript)วิธีนี้ช่วยให้หน้าเพจดูไม่รกเกินไปด้วยลิงค์จานวนมาก และยังช่วยประหยัดพื้นที่แสดงรายการ
ย่อยของเมนูได้
(5) Image Map การใช้รูปกราฟิกเป็นลิงค์ในรูปแบบ Image map ได้รับความนิยมนามาใช้กับ
ระบบเนวิเกชั่นมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยบางบริเวณของกราฟิกนั้น จะถูกกาหนดให้เป็นลิงค์ไปยังส่วนต่าง ๆ ตาม
ต้องการ ควรใส่คาอธิบายของ ALT (Alternative text) ให้ครบถ้วนเพื่อผู้ใช้ จะได้รู้ว่าบริเวณนั้นถูกลิงค์ไปยังที่
ใด และไม่ควรที่จะใช้แต่ Image maps เป็นระบบเนวิเกชั่นเพียงอย่างเดียวในเว็บเพจ เพราะอาจมีผู้ใช้บางคน
ไม่รู้ว่ากราฟิกนั้นสามารถคลิกเพื่อไปยังข้อมูลอื่น ๆได้
(6) Search Box การจัดเตรียมระบบสือค้นข้อมูล (Search) ภายในเว็บไซต์เป็นระบบเนวิเกชั่นแบบ
หนึ่งที่มีประโยชน์สาหรับเว็บที่มีข้อมูลปริมาณมาก ทาให้คนใช้ค้นหาสิ่งที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วโดยระบุคีย์
เวิร์ดที่น่าสนใจ เนื่องจากข้อมูลในเว็บไซต์นั้นอาจไม่ได้จัดระบบไว้ตรงกับความสนใจของผู้อ่าน
(7) แผนที่เว็บไซต์(Site Map) แผนที่เว็บไซต์เป็นการแสดงโครงสร้างข้อมูลในเว็บไซต์แบบกราฟิก
เพื่อเพิ่มความสวยงามและการสื่อความหมายของเนื้อหาที่มากกว่าแบบตัวอักษรแต่ก็จัดทาค่อนข้างยากเพราะ
ต้องอาศัยความเข้าใจถึงโครงสร้างของเว็บไซต์และ มีความชานาญทางกราฟิก เราจึงเห็นแผนที่เว็บไซต์จริง ๆ
ที่เป็นแบบกราฟิกกันไม่มากนัก เพราะเว็บไซต์ส่วนใหญ่ มักทาในแบบตัวอักษรแทน
(8) อีเมล์ (E-mail) จัดเป็นช่องทางติดต่อที่สาคัญอีกช่องทางหนึ่งระหว่างผู้ชมเว็บไซต์กับผู้พัฒนา
เว็บไซต์เพราะเป็นช่องทางการสื่อสารที่ง่าย ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมใช้กันมากและพบในเว็บไซต์แทบทุกประเภท
(9) เว็บบอร์ด (Webboard) กระดานสนทนาที่มีไว้เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้ใช้กับผู้ใช้
หรือระหว่างผู้ใช้กับผู้พัฒนาเหมาะสาหรับการแสดงความคิดเห็นที่ต้องการกลุ่มสนทนามากที่สุด
(10) สมุดเยี่ยม(Guest Book)สมุดเยี่ยมเป็นเพียงการแสดงความคิดเห็น หรือแสดงความยินดี หรือ
เพียงเยี่ยมชมต่อผู้พัฒนาเว็บไซต์เท่านั้น จึงไม่เป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย
(11) Contact Us เป็นการแสดงช่องทางติดต่อสื่อสารในด้านอื่นเพิ่มเติม อาจมีการระบุเบอร์โทรศัพท์
ติดต่อ โทรสาร ที่อยู่ หรือข้อความที่จะให้ผู้ใช้สามารถติดต่อกับผู้ออกแบบเว็บไซต์ในภายหลังได้การออกแบบ
ร่างหน้าตาเว็บเพจ (Interface Design) แตกต่างจาก การออกแบบส่วนกราฟิก (Visual Design) ที่การ
ออกแบบร่างหน้าตาเว็บเพจ (Interface Design) เป็นการออกแบบร่างองค์ประกอบส่วนต่างๆ ของเว็บเพจ
แต่สาหรับการออกแบบส่วนกราฟิก นั้นมีการลงรายละเอียด เรื่องความงาม องค์ประกอบสี ตัวอักษร การ
ออกแบบร่างหน้าตาเว็บเพจจึงเป็นแบบร่างทางความคิดของผู้ออกแบบเพื่อนาไปสู่การออกแบบจริง แบบร่าง
ความคิดนี้จะช่วยในการสมมุติกิจกรรมภายในเว็บที่อาจเกิดขึ้นได้ การวางองค์ประกอบต่างๆ ให้สอดคล้องกับ
7
ผู้ใช้งานและเป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้งเว็บไซต์ ซึ่งผู้ออกแบบสามารถออกแบบโดยวิธีการออกแบบจาลอง
โครงร่าง (WireFrames) หรือการออกแบบร่างภาพต้นแบบ (Paper Prototyping) เป็นการร่างภาพด้วยการ
วาดลงบนกระดาษคร่าวๆ (อรนงค์ ศรีพธูราษฎร์, 2549: 21 อ้างถึงใน ธวัชชัย ศรีสุเทพ, 2544: 143-151)
สถาปัตยกรรมข้อมูล (Information Architecture) เป็นการกาหนดโครงสร้างของเนื้อหาทั้งหมดที่จะนาเสนอ
บนเว็บไซต์ โดยเชื่อมโยงเว็บเพจแต่ละส่วนไว้ด้วยกันตามความสัมพันธ์ของระบบงาน เพื่อให้ข้อมูลเคลื่อนที่
อย่างเป็นระบบ จนผู้ใช้งานไม่รู้สึกสะดุดหรือข้ามขั้นตอนเมื่อเรียกใช้หน้าเว็บนั้น มีการศึกษา โดยได้นาเอา
ทฤษฎี สถาปัตยกรรมข้อมูลเป็นแนวทางในการศึกษา
โดยอรนงค์ ศรีพธูราษฎร์(2549) ทาการศึกษาการออกแบบสถาปัตยกรรมสารสนเทศของแบบจาลอง
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประเภทธุรกิจผู้บริโภคที่มีความเหมาะสม กับสินค้าครื่องปั้นดินเผาร้านชวนหลงเซรามิค
โดยได้นาแนวคิดการออกแบบสถาปัตยกรรมสารสนเทศและการออกแบบเว็บไซต์เป็นแนวทางในการศึกษาผล
การศึกษาพบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในระดับสูงต่อแบบจาลองพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โดยสามารถ
เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายเว็บไซต์มีรูปแบบที่เรียบง่ายเหมาะกับเว็บไซต์เชิงพาณิชย์ อีกทั้งสื่อถึงเอกลักษณ์ของร้าน
และมีความเป็นสากล การจัดองค์ประกอบส่วนต่าง ๆในหน้าเว็บเพจเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
4) การออกแบบโครงร่างเว็บเพจ (Skeleton Plane) เป็นการจัดแบ่งพื้นที่บนหน้าเว็บ เพื่อใช้วาง
องค์ประกอบส่วนต่าง ๆ และเริ่มต้นออกแบบส่วนอินเตอร์เฟสกับผู้ใช้ โดยสร้างระบบนาทาง(Navigation
System)เพื่อเชื่อมโยงการทางานทุกส่วนเข้าไว้ด้วยกันโดยในขั้นตอนนี้จะประกอบด้วยกิจกรรมย่อย 3
กิจกรรมคือ
- การออกแบบร่างหน้าตาเว็บเพจ (Interface Design) เป็นขั้นตอนของการออกแบบร่างหน้าราเว็บ
เพจ ซึ่งเป็นการวางองค์ประกอบสารสนเทศส่วนต่าง ๆ ของเว็บเพจ ว่าสิ่งใดควรจะอยู่ตรงไหนของหน้าเว็บเพจ
นั้น ๆ เป็นการเริ่มออกแบบและสเก็ตรูปแบบของเว็บเพจลงบนกระดาษก่อนที่จะลงมือทาเว็บไซต์ โดยกาหนด
ตาแหน่งเมนู ข้อความ รูปภาพ พื้นหลังของหน้าและใช้วิธีการจัดโครงสร้างทุกๆ หน้า ให้มีความเหมือนกัน เช่น
จัดเมนูไว้บริเวณคอลัมน์ด้านซ้ายของหน้า วิธีการกาหนดที่แน่นอนให้กับองค์ประกอบต่างๆ ในเว็บเพจ ซึ่งจะ
ช่วยให้มองเห็นภาพรวมที่ชัดเจนก่อนที่จะลงมือสร้างเว็บเพจ และการออกแบบส่วนติดต่อระหว่างผู้ใช้กับ
เว็บไซต์ เพื่อการนาเสนอ รับชม และใช้งานข้อมูลบนเว็บนั้นด้วยการโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ การออกแบบ
อินเตอร์เฟสบนเว็บไซต์ที่ดี มุ่งเน้นประสิทธิภาพหรือความสามารถในการใช้เว็บเป็นสาคัญ โดยจะต้องสามารถ
ใช้งานได้ง่าย ใช้งานได้จริง และให้ผลเป็นที่พอใจของผู้ใช้งาน
- การออกแบบระบบนาทาง (Navigation Design) เป็นการออกแบบเส้นทางการเชื่อมโยงบนเว็บไซต์
เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถท่องเที่ยวไปในไซต์ได้อย่างสมบูรณ์แบบและไม่หลงทาง โดยใช้เครื่องมือนาทางรูปแบบ
ต่าง ๆ เช่นรายการ เมนูเชื่อมโยง(Navigation bar) ส่วนค้นหา(Search) หรือ Drop-Down Menu เป็นต้น
- การออกแบบส่วนข้อมูล (Information Design) เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเลือกใช้วิธี
นาเสนอข้อมูลอย่างไร จึงจะะเหมาะสมกับชนิดข้อมูลนั้น และทาให้ผู้ใช้เข้าใจง่ายที่สุด ยกตัวอย่างเช่น ตัวเลข
ทางสถิติควรเลือกนาเสนอด้วยรูปแบบตาราง กราฟ หรือแผนภูมิภาพสินค้าเคลื่อนไหว ควรเลือกนาเสนอด้วย
8
รูปถ่าย วิดีโอ เป็นต้น นอกจากนี้การออกแบบส่วนข้อมูลยังรวมถึงการจัดข้อมูลให้เป็นระเบียบ หมวดหมู่ ทา
ให้ผู้ใช้ อ่านง่าย และสบายตาด้วย
5) การออกแบบรูปลักษณ์ของเว็บเพจ (Surface Plane) หรือเรียกการออกแบบในขั้นตอนนี้ได้อีก
อย่างหนึ่งว่า “Visual Design” เนื่องจากการออกแบบส่วนอินเตอร์เฟสในขั้นตอนที่ 4 จะมุ่งเน้นประสิทธิภาพ
ด้านความสามารถในการใช้งานและการจัดวางองค์ประกอบบนหน้าเว็บเพื่ออานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้
มากกว่ามากการตกแต่งหน้าเว็บให้มีความสวยงาม ดังนั้นงานในขั้นตอนสุดท้ายนี้ จึงเป็นการเพิ่มความสวยงาม
และความน่าสนใจให้กับหน้าเว็บ โดยเป็นการตกแต่งหน้าเว็บให้มีรูปลักษณ์ที่พร้อมที่จะนาเสนอต่อผู้ใช้งาน ซึ่ง
รูปลักษณ์ของหน้าเว็บที่สวยงามพิจารณาด้านต่าง ๆ ได้แก่ การเลือกใช้โทนสี รูปแบบตัวอักษร พื้นหลัง และ
อื่น ๆ
2.4 ทฤษฏีสี (Theory of Colors)
2.4.1 แม่สีและความเป็นมาของแม่สี
สีในงานศิลปะที่เราใช้กันนั้น โดยมากมักเป็นสีประเภทสาเร็จรูป กล่าวคือเมื่อเปิดขวดขึ้นมาก็สามารถ
นามาใช้ได้ทันที จนทาให้เราขาดทักษะความรู้ด้านการผสมสีให้ได้มาซึ่งสีในรูปแบบต่างๆ นับแต่อดีตกาล
มนุษย์เรารู้จักการใช้สีในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆรอบๆตัว เช่นว่า การนาเอาสีของยางไม้ไปเขียนตามผนังถ้าทั้ง
แบบตั้งใจและไม่ตั้งใจศิลปินสมัยก่อนๆเห็นว่าเรื่องของสีเป็นเรื่องยุ่งยาก ทาให้การสร้างสรรค์งานศิลปะในยุค
ก่อนไม่ค่อยคานึงถึงกฎเกณฑ์หรือหลักการเท่าไรนักในยุคโบราณสีที่ใช้เป็นอุปกรณ์ในการเขียนภาพ ไม่ได้ได้มา
จากกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แต่ได้จากการนาเอาวัตถุดิบที่มีอยู่ ธรรมชาติมาทาให้เกิดสีเช่น สีแดง ได้
จากยางไม้ดินแดง หรือหินสีมาบดหรือแม้บางครั้งก็นามาจากเลือดของสัตว์ สีขาวได้จากดินขาว สีดาได้จาก
การนาเอาเขม่าจากก้นภาชนะมาละลายน้า สีครามได้จากดอกไม้บางชนิด สีเหลืองได้จากดินเหลืองหรือยางรง
ซึ่งในยุคนั้นไม่ ค่อยนิยมนามาใช้ในการเขียนภาพแต่มักจานาสีที่ได้มาใช้ในการย้อมผ้าแต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ
เชื่อ วิถีทางวัฒนธรรมของแต่ละชนชาติว่า นิยมหรือมี วิธีในการสร้างสรรค์อย่างไรเช่นชาวจีนไม่ค่อยนิยมที่จะ
เขียนภาพด้วยสีเท่าไรนัก แต่กลับนิยมเขียนภาพด้วยหมึกดาส่วนชนชาติไทยเรานิยมใช้หลายสี แต่ไม่มากนัก
เพราะสีที่หาได้จะมีจานวนจากัดเท่าที่หาได้จากธรรมชาติ ได้แก่สีดา สีขาว สีแดง และเหลือง ภาพเขียนเก่าแก่
ของไทยจากกรุปรางค์ทิศวัดมหาธาตุอยุธยา กรุปรางค์ใหญ่วัดมหาธาตุ ราชบุรี(น. ณ ปากน้า:1) ต่อมาในยุค
หลังๆที่มี การพัฒนาด้านเทคโนโลยีมีการคิดค้นและผลิตสีต่างๆออกมามากมาย หลายชนิด ทาให้การใช้สีนั้น
กลายเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยุ่งยากเพราะว่าคู่สีบางคู่มีความสดและเข้มพอๆกัน ทาให้เข้ากันไม่ได้เกิดความขัดแย้ง
และไม่เหมาะสม ขาดความนุ่มนวล ดังนั้นผู้เรียนจึงควรรู้จักหลักเกณฑ์ในการ รู้กฎเกณฑ์ในการใช้สีพอสมควร
จึงจะทาให้การสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะดูสวยงามและมีคุณค่าแม่สีในยุคปัจจุบัน อาจจาแนกออกได้เป็น 3
ประเภทคือ
แม่สีจิตวิทยา หมายถึง เป็นสีในกลุ่มที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึก และมีผลต่อจิตใจของมนุษย์ กล่าวคือสี
ที่เราพบเห็นจะสามารถโน้มน้าวชวนให้รู้สึกตื่นเต้น โศกเศร้า โดยมากมักใช้ในการรักษาคนไข้ได้ เช่นโรค
ประสาท หรือโรคทางจิต แม่สีจิตวิทยาสี 4 สีประกอบด้วย สีแดง สีเหลือง สีเขียว และสีน้าเงิน
9
แม่สีวิทยาศาสตร์ หมายถึง แม่สีวิทยาศาสตร์เป็นสีที่เกิดจากการสร้างหรือประดิษฐ์ขึ้นจาก
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่น สีของหลอดไฟ สีที่ผ่านแท่งแก้วปริซึม ที่เกิดจากการสะท้อนและการหักเห
ของแสง แม่สีในกลุ่มนี้ประกอบด้วย สีแสด สีเขียวมรกต และสีม่วง
แม่สีศิลปะ หมายถึง แม่สีศิลปะหรือบางครั้งเรียกว่า แม่สีวัตถุธาตุ หมายถึงสีที่ใช้ในการวาดภาพ หรือ
สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะทั่วๆ ไปซึ่งเมื่อนามาผสมกันในปริมาณต่างๆที่ต่างอัตราส่วนกันจะเกิดสีต่างๆ
มากมายให้เราได้เลือกหรือนามาใช้ในการสร้างสรรค์ ผลงานที่สวยงามได้ แม่สีในกลุ่มนี้ประกอบด้วย สีแดง สี
เหลือง และสีน้าเงิน
2.4.2 วงจรสี
แม่สีศิลปะประกอบด้วย สี แดง สีเหลือง และสีน้าเงิน ซึ่งเมื่อนาแม่สีทั้งสามมาผสมกันในอัตราส่วน
ต่างๆก็จะเกิดสีขึ้นมามากมาย ซึ่งประโยชน์ จากการที่เรานาสีมาผสมกันทาให้เรา สามารถเลือกสีต่างๆมาใช้ได้
ตามความพอใจ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่งดงามตามความพอใจขอผู้สร้าง สีที่เกิดจากการนาเอาแม่สีมา ผสม
กัน เกิดสีใหม่เมื่อนามาจัดเรียงอย่างเป็นระบบรวมเรียกว่าวงจรสี
ภาพที่ 2.1 แสดงวงจรของสีที่เกิดจากการนาแม่สีมาผสมกัน
การเกิดสีดังภาพ เกิดจากการนาเอาแม่สีมาผสมกัน ในอัตราส่วนต่างๆกันซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
สีขั้นที่1 (สีขั้นต้นหรือแม่สี) (Primary Color) ประกอบด้วย สี แดง สีเหลือง และสีน้าเงิน
สีขั้นที่ 2 (Binary Color) เกิดจากการนาเอาสีขั้นที่ 1 (แม่สี) มาผสมในอัตราส่วนเท่าๆกัน
ประกอบด้วยสี เขียว สีส้ม และสีม่วง
สีเขียว เกิดจากการนาเอา สีเหลือง กับ สีน้าเงิน มาผสมกันในอัตราส่วนเท่าๆกัน
ส้ม เกิดจากการนาเอา สีเหลือง กับ สีแดง มาผสมกันในอัตราส่วนที่เท่าๆกัน
สีม่วง เกิดจากการนาเอา สีน้าเงิน กับ สีแดง มาผสมกันในอัตราส่วนที่เท่าๆกัน
สีขั้นที่ 3 (Intermediate Color) เกิดจากการนาเอาสีขั้นที่ 2 ผสมกับสีขั้นต้นที่อยู่ใกล้เคียงกันได้สี
แตกต่างออกไป ได้แก่ สีเหลืองแกมเขียว สีน้าเงินแกมม่วง สีแดงแกมม่วง สีแดงแกมส้ม สีเหลืองแกมส้ม และสี
น้าเงินแกมเขียว
สีเหลืองแกมเขียว เกิดจาก การผสมกันระหว่างสีเหลืองกับสีเขียวอย่างละเท่าๆกัน
10
สีน้าเงินแกมม่วง เกิดจากการผสมกันระหว่างสีน้าเงินกับสีม่วงอย่างละเท่าๆกัน
สีแดงแกมม่วง เกิดจากการผสมกันระหว่างสีแดงกับสีม่วงอย่างละเท่าๆกัน
สีแดงแกมส้ม เกิดจากการผสมกันระหว่างสีแดงกับสีส้มอย่างละเท่าๆกัน
สีเหลืองแกมส้ม เกิดจากการผสมกันระหว่างสีเหลืองกับสีส้มอย่างละเท่าๆกัน
สีน้าเงินแกมเขียวเกิดจากการผสมกันระหว่างสีน้าเงินกับสีเขียวอย่างละเท่าๆกัน
2.4.3 วรรณะของสี
จากการที่นักเรียนได้ศึกษาเรื่อง แม่สี ในกลุ่มต่างๆ และเรื่องวงจรสีมาแล้ว รวมทั้งได้ทากิจกรรมต่างๆ
คงพอทาให้มีพื้นฐานทางการใช้สีในงานศิลปะแต่ทราบหรือไม่ว่าสีที่นักเรียนผสมออกมาทั้ง 12 สีนั้น สามารถ
แยกออกเป็นสองกลุ่มตามค่าความเข้มของสี หรือที่เรียกว่าวรรณะของสี(Tone of color) วรรณะของสีก็คือ
ค่าความแตกต่างของสีแต่ละด้านของวงจรสีที่แสดงถึงความรู้สึกที่แตกต่างกัน ซึ่งถ้าเปรียบเทียบกับเสียงเพลง
หรือเสียงดนตรีก็คือเสียงสูง เสียงต่า ที่แสดงออกทางอารมณ์ ที่มีการเคลื่อนไหว มีชีวิตชีวา หรือเศร้าโศกหรือ
รันทดใจ
สีที่อยู่ในวรรณะร้อน(Warm tone color) ได้แก่ สีเหลืองส้ม สีส้ม สีแดง และสีม่วง
แดง
สีที่อยู่ในวรรณะเย็น(Cool tone color) ได้แก่ สีเขียว สีฟ้า สีม่วงคราม
ภาพที่ 2.2 ภาพกลุ่มสีวรรณะร้อนและวรรณะเย็น
สีทั้งสองวรรณะอาจจะไม่ใช่สีที่สดดั่งเช่นในวงจรสี เพราะความจริงแล้วในธรรมชาติยังมีสีที่แตกต่างไป
จากในวงจรสีอีกมากมาย ให้อนุมานว่าสีใดที่ค่อนไปทางสีแดง หรือสีส้มให้ถือว่าเป็นสีวรรณะร้อน ส่วนสีที่ค่อน
ไปทางน้าเงิน เขียวให้อนุมาว่าเป็นวรรณะเย็น ในการสร้างสรรค์งานศิลปะที่ต้องให้สีหลายสีในภาพอย่างอิสระ
และผู้เขียนสามารถใช้สีให้เกิดความกลมกลืนเป็นอย่างดีจนชานาญ จะเห็นว่าเรื่องของวรรณะของสีนั้นเข้ามามี
บทบาทในภาพเขียนเสมอ กล่าวคือโทนสีของภาพจะแสดงงออกไปทางใดทางหนึ่งของวรรณะสีเสมอ นั่นคือ
องค์ประกอบหนึ่งที่จะนับได้ว่าเป็นภาพเขียนที่ดี คือเมื่อเขียนภาพโทนเย็นก็มักจะเอาสีในวรรณะ
เย็นมาใช้เป็นส่วนมาก ส่วนภาพที่เป็นโทนร้อน ก็จะนาสีในวรรณะร้อนมาใช้มากเช่นกัน ในวรรณะของสีแต่ละ
ฝ่ายยังสามารถแยกออกเป็นอีก 2 ระยะคือ ร้อนอย่างรุนแรง หรือเข้มข้น คือแสดงออกถึงความรุนแรงของโทน
สีในภาพที่มีผลต่ออารมณ์ของผู้ชมอย่างแรง และ ร้อนอย่างเบาบาง คือให้ความรู้สึกที่ไม่ร้อนแรงมากอย่าง
11
ประเภทแรก ใช้โทนสีที่ร้อนแต่ไม่รุนแรงภาพเขียนที่ใช้โทนสีหรือวรรณะของสีเข้ามาเกี่ยวข้องมักแสดง
ความรู้สึกและอารมณ์ในภาพ เช่นวรรณะเย็นให้ความรู้สึก เศร้า สงบ ราบเรียบ ส่วนวรรณะร้อนให้ความรู้สึก
รื่นเริง เจิดจ้า และความขัดแย้งขึ้นอยู่กับอารมณ์ของศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงาน จิตรกรผู้สร้างมีอารมณ์ใดใน
ขณะนั้นก็มักแสดงออกมาถึงโทนสีและความรู้สึกในภาพเขียนเช่น ปิคัสโซ่ (จิตรกรชาวสเปญ เกิดที่เมือง
Malage เมื่อปี ค.ศ.1881) ซึ่งเมื่อขณะที่เขาเป็นหนุ่มมีความรักมักสร้างผลงานในวรรณะร้อนค่อนไปทางชมพู
ส่วนในช่วงที่เขาทุกระทม ภาพเขียนเขาจะใช้สีในวรรณะเย็นค่อนไปทางน้าเงิน รวมทั้งศิลปินต่างๆในประเทศ
ไทยเราก็สร้างสรรค์ผลงานออกมาโดยใช้ความรู้เรื่องวรรณะของสีไปใช้ในการสร้างสรรค์เช่นเดียวกัน
ตัวอย่างภาพจิตรกรรมที่ใช้สี วรรณะเย็น ตัวอย่างภาพจิตกรรมที่ใช้สี วรรณะร้อน
ภาพที่ 2.3 ภาพระหว่างกลุ้มสีโทนเย็นภาพกลุ่มสีโทนร้อน
หลักในการใช้ความรู้เรื่องวรรณะของสีในการสร้างสรรค์งานศิลปะ ในการสร้างสรรค์งานศิลปะ
โดยมากเรามักจะเน้นโทนสีของภาพ ออกไปในทางวรรณะใดวรรณะหนึ่งเป็นหลักอยู่แล้ว แต่บางครั้งเรา
สามารถนาเอาสีทั้งสองวรรณะมาไว้ในภาพเดียวกันได้ เพียงแต่รู้หลักในการนามาใช้ กล่าวคือหากจะนาสีทั้ง
สองวรรณะมาไว้ในภาพเดียวกัน ถ้าเราใช้สีวรรณะร้อนที่มีเปอร์เซ็นต์มากกว่า ตั้งแต่ 70 ถึง 80 เปอร์เซ็นต์ของ
ภาพแล้วใช้สีวรรณะเย็นเพียงเพียง 30 หรือ 20เปอร์เซ็นต์ ผลของภาพนั้นก็ยังเป็นภาพวรรณะร้อน (warm
tone) ดังนั้นการจะสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในวรรณะเย็นหรือร้อนไม่จาเป็นต้องใช้สีในวรรณะร้อนหรือเย็น
เพียงอย่างเดียว เราสามารถเอาสีต่างวรรณะ มาผสมผสานกันได้แต่คุมปริมาณให้อยู่ในวรรณะใดวรรณะหนึ่ง
ในปริมาณที่ยกตัวอย่างไปข้างต้น
2.4.4 ประเภทของสี
นอกจากการศึกษาเกี่ยวกับแม่สี วงจรสีและวรรณะของสีแล้ว นักเรียนควรได้รู้จักประเภทต่างๆของสี
ในงานศิลปะด้วย ทั้งนี้เพราะว่าถ้านักเรียนได้เรียนรู้ในเรื่องของสียิ่งมากขึ้นก็จะสามารถนาความรู้ที่ได้ไป
สร้างสรรค์งานศิลปะได้อย่างถูกต้องตาม โอกาส และความต้องการซึ่งผู้เรียนเองต้องอาศัยการฝึกฝนพอสมควร
ในการที่จะสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้ความรู้เรื่องสีประเภทต่างๆไปใช้ เพราะถ้าหากขาดการฝึกฝนที่ดีแล้ว
ผลงานก็จะออกมาไม่น่ามอง ดังนั้นการศึกษาถึงประเภทต่างๆของสีจึงมีความจาเป็น ซึ่งจะกล่าวถึงในส่วนที่
เป็นพื้นฐานความรู้เบื้องต้นเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาดังนี้
1. ค่าความเข้มหรือน้าหนักของสี
สีต่างๆ ที่เกิดขึ้นในวงจรสี หากเรานามาเรียงน้าหนักความอ่อนแก่ของสี หลายสีเช่น ม่วง น้าเงิน เขียว
แกมน้าเงิน เขียว และเหลืองแกมเขียว หรือ ม่วง แดง แดงส้ม ส้ม ส้มแกมเหลือง และเหลือง หรือเรียกว่าค่า
12
ในน้าหนักของสีหลายสี (Value of different color)สาหรับค่าความเข้มอีกประเภทหนึ่งเกิดจากการนาสีใดสี
หนึ่งเพียงสีเดียวแล้วนามาไล่น้าหนักอ่อนแก่ในตัวเอง เราเรียกว่าค่าน้าหนักสีเดียว (Value of single color)
ซึ่งถ้าผู้เรียนฝึกฝนได้เป็นอย่างดีแล้ว สามารถนาความรู้จากการไล่ค่าน้าหนักนี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้มากใน
การสร้างงานจิตรกรรมนักเรียนหรือผู้ที่ศึกษาทางศิลปะบางคนชอบที่จะให้สีหลายๆสี โดยเข้าใจว่าจะทา
ให้ภาพสวยแต่ที่จริงแล้วเป็นความคิดที่ผิด กลับทาให้ภาพเขียนที่ออกมาดูไม่สวยงาม เพราะการที่
จะให้สีหลายสีให้ดูกลมกลืนกันนั้นเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก หากเราได้มีโอกาสได้สังเกตภาพเขียนที่สวยๆของ
ศิลปินหลายๆท่านจะพบว่า ผู้สร้างสรรค์ไม่ได้ใช้สีที่มากมายเลย ใช้อย่างมากสองถึงสี่สีเท่านั้นแต่เราดู
เหมือนว่าภาพนั้นมีหลากหลายสีทั้งนี้ก็เพราะว่าเขารู้จักใช้ค่าน้าหนักสีๆเดียวโดยการนาเอาสีอื่นเข้ามา
ผสมผสานบ้างเท่านั้น
2. สีตัดกัน หรือสีตรงข้าม
สีตัดกันหรือสีตรงข้ามก็คือสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงจรสีนั่นเอง การที่เราจะทราบว่าสีคู่ใดเป็นสีตรง
ข้ามกันอย่างแท้จริงหรือไม่ ให้นาเอาสีคู่นั้นมาผสมกันดู ถ้าผลการผสมกันออกมาเป็นสีกลางนั้นหมายถึงว่าสีคู่
นั้นเป็นคู่สีตัดกันอย่างแท้จริง
วิธีการใช้สีตรงข้ามหรือสีตัดกันมีหลักการดังนี้
1.ปริมาณของสีที่ตัดกันกับวรรณะของสีทั้งหมดในภาพต้องอย่าเกิน 10%ของเนื้อที่ในภาพเขียน
2.ในลักษณะการนาไปใช้ในทางประยุกต์ศิลป์ควรใช้ตามหลักเกณฑ์ดังนี้
2.1 การใช้สีตรงข้ามหรือสีตัดกัน ต้องใช้สีใดสีหนึ่งจานวน 80% อีกฝ่ายหนึ่งต้องเป็น 20%
จึงจะมีคุณค่าทางศิลปะ
2.2 หากจาเป็นต้องใช้สีคู่ใดคู่หนึ่งปริมาณเท่าๆกัน ควรต้องลดค่าของคู่สีลง
2.3 หากภาพเป็นลายเล็กๆ เช่น ภาพที่เต็มไปด้วยต้นไม้ใบไม้เล็ก การใช้สีตัดกันอย่างสดๆ
สลับกัน ผลคือจะผสมผสานกันเอง
2.4 หากจาเป็นต้องใช้สีตัดกันในภาพใหญ่ๆหรือพื้นที่ภาพมากๆและสีคู่นั้นติดกัน ควรใช้เส้นดามาคั่น
หรือตัดเส้นด้วยสีดา เพื่อลดความรุนแรงของภาพและคู่สีได้
3. สีเอกรงค์ คือสี สีเดียวหรือสีที่แสดงออกมาเด่นเพียงสีเดียว ซึ่งเหมือนว่าจะคล้ายคลึงกับสีสวนรวม
หรือสีครอบงา แต่ที่จริงแล้วสีทั้งสองชนิดมีวิธีการที่แตกต่างกันออกไป สีส่วนรวมนั้นสีที่ใช้อาจเป็นสีสด หรือสี
ที่ลดค่าลงไปแล้ว แต่สีเอกรงค์ต้องใช้สีใดสีหนึ่งเป็นสีสดยืนพื้นเพียงสีเดียวแล้วลดค่า น้าหนักอ่อนแก่ ในระยะ
ต่างๆ เป็นต้น หลักเกณฑ์คือ เมื่อเอาสีที่สดใสเป็นจุดเด่นของภาพแล้ว สีที่เป็นส่วนประกอบรอบๆต้องลดค่า
ความสดลงแล้วนาเอาสีที่จุดเด่นนั้นไปผสมด้วยบ้างทุกๆแห่งในภาพ ข้อสาคัญคือ สีที่จะนามาประกอบนั้นจะ
ใช้กี่สีก็ตาม แต่โดยมากนิยมใช้ไม่เกิน 5 สี โดยนาเอามาจากวงจรสีด้านหรือวรรณะใดวรรณะหนึ่ง ไม่นิยม
นามาจากสองวรรณะ รวมทั้งสีที่ต้องการใช้เป็นสียืนพื้น(เอกรงค์)ด้วย เพราะสีที่อยู่ในด้านหรือวรรณะเดียวกัน
จะผสานกลมกลืนกันง่ายกว่า ตัวอย่างเช่น ถ้าเลือกสีมา 6 สีจากวงจรสีคือ เหลือง ส้ม แสด แดงชาด แดงเลือด
นก และม่วงแดง เมื่อนักเรียนจะทาเอกรงค์ของสีเหลือง ก็ใช้สีเหลืองเป็นหลักหรือสีเด่น วางจุดใดจุดหนึ่งของ
13
ภาพแล้วนาสีอื่นๆข้างต้นมาลดค่าหรือความสดใสลง(neutralized) โดยการนาเอาสีตรงข้างของแต่ละคู่มาผสม
ลงไปพอสมควร เมื่อจะระบายก็นาเอาสีเหลืองที่เป็นสียืนพื้นเข้ามาผสมด้วยเล็กน้อยก็จะได้สีเอกรงค์ของสี
เหลืองตามที่เราต้องการการสร้างสรรค์งานศิลปะด้วยสีเอกรงค์นี้จะได้ผลงานที่งดงาม เพราะโครงสร้างสีจะดู
ไม่รุนแรง เพราะว่าจะมีมีเรื่องสีตัดกันเข้าไปผสม และสีแต่ละวรรณะก็ไม่เข้าไปปะปนซึ่งกันและกัน นับว่าเป็น
งานศิลปะที่มีโครงสร้างประณีต ผลงานชิ้นเด่นๆของโลกก็ใช้วิธีการนี้เช่นกันข้อดีอีกอย่างหนึ่งของสีเอกรงค์คือ
โครงสีจะละเมียดละไม ไม่เบื่อง่ายเหมือนกับการใช้สีหลายสีมา
ผสมผสานกัน
4. สีส่วนรวม หรือสีครอบงาหมายถึงสีใดสีหนึ่งที่มีจานวนมากกว่าสีอื่นในพื้นที่หรือภาพนั้นๆ เช่น
ภาพต้นไม่ที่เรามองเห็นเป็นสีเขียว แต่ความจริงแล้วในสีเขียวของต้นไม้นั้นอาจมีสีอื่นประกอบอยู่ด้วยเชน่ สี
เขียวอ่อน สีเหลือง สีน้าตาล เป็นต้น งานจิตรกรรมทั้งแนวปัจจุบันและสมัยใหม่ล้วนแล้วแต่ต้องใช้อิทธิพลของ
สีส่วนรวมเข้าไปเกี่ยวข้องทั้งสิ้น แม้ว่าสีอื่นจะเด่นชัดในบางส่วนของภาพก็ตาม สีส่วนรวมหรือสีครอบงานี้ จะ
ช่วยทาให้ภาพมีเอกภาพ และสมบูรณ์ขึ้น ตัวอย่างเช่น ภาพเขียนของศิลปินชาวอิตาเลี่ยนสมัยโบราณ มักจะใช้
สีเหลืองหรือสีน้าตาลเป็นสีครอบงาทั้งหมดภายในภาพแทบทุกชิ้น ทั้งนี้ไม่จากัดเฉพาะสองสีที่ยกตัวอย่างมา
เท่านั้นอาจเป็นสีกลุ่มอื่นๆได้ ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้สร้างสรรค์
สีครอบงาหรือสีส่วนรวม อาจจาแนกได้สองประการคือ
ประการแรก ครอบงาโดยมีสีใดสีหนึ่งแผ่กระจายเต็มภาพ เช่นภาพทุ่งหญ้า ซึ่งแม้จะมีสีอื่นๆของพวก
ดอกไม้ ลาต้น ก็ตามแต่สีส่วนรวมก็ยังเป็นสีเขียวของทุ่งหญ้าอยู่นั่นเอง เราเรียกสีครอบงาหรือสีส่วนรวมของ
ภาพคือสีเขียวนั่นเอง ยกตัวอย่างง่ายๆอีกประการเช่นเวลาเราดูฟุตบอลที่แข่งกันในสนาม จากมุมสูงๆเราจะ
เห็นสีส่วนรวมเป็นสีเขียวครอบงาอยู่ถึงแม้จะมีสีอื่นๆของนักกีฬาอยู่ก็ตาม ก็ถูกอิทธิพลของสีเขียวข่มลงจน
หมด
ภาพ 2.5 สีส่วนรวมที่มีสีใดสีหนึ่งแผ่กระจายเต็มภาพ
ประการที่สอง การครอบงาของสีที่เกิดขึ้นระหว่างสี เช่น ถ้าเรานาเอาสีแดงและสีเหลืองมาระบาย
เป็นจุดๆบนกระดาษสลับกันเต็มไปหมด เมื่อดูกระดาษนั้นในระยะห่างพอสมควรเราจะเห็นสองสีนั้นผสมกัน
กลายเป็นสีส้ม หรือเช่นเดียวกับการที่เราเขียนภาพด้วยสีหลายๆสีแล้วเมื่อดูรวมๆแล้วกลายเป็นสีที่ผสมออกมา
เด่นชัด เช่นต้นไม้ ประกอบด้วยสีเหลือง น้าตาล ดา เขียวแก่เขียวอ่อน แต่เมื่อดูห่างๆก็กลับกลายเป็นสีเขียว
14
5. ระยะของสี เมื่อกล่าวถึงระยะของสี นั้นก็หมายรวมถึงระยะใกล้ของแสงเงาที่เกิดแก่วัตถุนั้นๆด้วย
ซึ่งหลักการของน้าหนักใกล้ไกลของวัตถุคือ วัตถุที่ใกล้ตา แสงเงาจะสว่างจัดชัดเจน และเมื่อระยะไกลออกไป
ทั้งแสงและเงาก็จะจางลงไปด้วย ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะระยะไกลนั้นจะมีเรื่องของบรรยากาศเข้ามากรองทั้งแสง
และเงาให้จางลง ระยะยิ่งไกลออกไปแสงเงายิ่งจางไปจางไป จนกลายเป็นภาพแบนราบ ตัวอย่างเช่นภาพเขียน
ทิวทัศน์ที่มีฉากหลังเป็นทิวเขา เราจะเห็นว่าทิวเขานั้นจะเป็นสีจางๆแบนๆไม่มีแสงเงาเพราะถูกบรรยากาศเข้า
มาเกี่ยวข้องระยะใกล้ไกลของสี (Perspective of Color) มีหลักเกณฑ์ที่พอสรุปได้ดังนี้
1. วัตถุที่มีสียิ่งไกลออกไป สีของวัตถุก็ยิ่งใกล้เป็นสีกลางเข้าไปทุกที
2. น้าหนักของวัตถุที่มีสี เมื่อไกลออกไป ก็ยิ่งจางลงกลายเป็นสีกลางและ น้าหนักก็อ่อนลงด้วย ถ้ามี
ส่วนที่เป็นแสงสว่าง ก็จะมืดมัวลง เงาก็จะจางลง และค่อยๆปรับลงจนไม่มีน้าหนัก
3. วัตถุที่มีสีตามระยะใกล้ไกล แสงเงาแสงเงาจะมีลักษณะดังตัวอย่าง เช่น พุ่มไม้ที่มีสีเหลืองเขียวที่มี
พืชปกคลุมเมื่อถูกแสงจัดๆ เงาจะออกไปทางสีม่วงแดง เมื่อระยะไกลออกไปเงาจะเป็นสีที่ค่อนไปทางน้าเงิน
และเมื่อไกลจนเห็นระยะลิบๆ เงาจะกลายเป็นสีเขียว
6.การนาความรู้เรื่องสีไปใช้ หลังจากที่นักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีสีมาแล้วในส่วนของเนื้อหา
ต่างๆ ในส่วนนี้ขอนาเสนอเกี่ยวกับการนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปใช้โดยสรุปและการนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
1. การใช้สีในสถานที่มืดและสว่าง การจะเลือกใช้สีสาหรับตกแต่งภายในบ้านหรือสถานที่ต่างๆนั้น
ประการแรกต้องคานึงถึงก่อนว่าห้องนั้นได้รับอิทธิพลของแสงสว่างจากภายนอกเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยหรือเปล่า
เพราะว่าถ้าห้องนั้นๆมีแสงสว่างส่องถึงมากๆก็ควรใช้สีที่ลดความสดใสลงหรือสีกลางๆ(neutralized tints)
เพื่อจะได้ดูสบายตา นุ่มละมุน หากเราใช้สีที่สว่าง จะดูไม่เหมาะสม ขณะเดียวกันหากห้องนั้น ได้รับแสงจาก
ภายนอกน้อยเราต้องใช้สีที่สดใส กระจ่ายช่วยในการตกแต่งเพราะห้องจะได้ไม่ดู ทึม มืดทึบ ทาให้รู้สึกหดหู่
หลักการนี้ได้เกิดขึ้นมานานแล้วยกตัวอย่างเช่นภาพเขียนบนผนังของชาวอียิปต์ ซึ่งก็ทราบกันดีอยู่แล้วว่าผนัง
ภายในสิ่งก่อสร้าง ของชาวอียิปต์นั้นแสงสว่างผ่านเข้าไปได้ น้อยมากดังนั้นชาวอียิปต์นิยมใช้สีที่สดใสสว่างใน
การสร้างสรรค์ภาพ การเขียนภาพด้วยสีทีสดใสในที่สว่างน้อยนั้น จะทาให้ภาพเขียนสว่างพอดีตามต้องการ
เพราะความมืดของบรรยากาศรอบๆอันเป็นสีกลางเข้ามามีบทบาททาให้สีที่สดใสลดความสดใสลงไปเอง แต่ถ้า
ต้องการวางโครงสีให้สว่างมาก ควรวางโครงสีให้มีความผสานกลมกลืนในจุดพอดี เพราะแสงสว่างไม่ทาให้ดุลย
ภาพของสีเสียไปแต่อย่างใด
2. การใช้โครงสีสาหรับกลางแจ้ง การนาหลักการด้านโครงสร้างสีไปใช้ ในสถานที่กลางแจ้ง นั้นมี
หลักการที่ตรงกันข้ามกับประเภทแรก งานสถาปัตยกรรมแถบประเทศทางตะวันออกเช่นสถาปัตยกรรมไทยมัก
มุงหลังคาบ้านด้วยสีสดใสเช่น แดง เขียว เหลือง น้าเงินท่ามกลางสภาพอากาศที่แดดจัดจ้าน ร้อนแรง ซึ่งก็ดู
สดใสงดงาม เข้ากับสภาพแวดล้อม แต่หากเป็นบ้านเรือนในแถบยุโรป ซึ่งบรรยากาศของเขา ทึมๆ ไม่กระจ่าง
อย่างแถบบ้านเรา หากใช้สีที่สดใสจะดูไม่น่ามอง บาดตา โดดออกมาจากสภาพแวดล้อม ดังนั้นควรเลือกใช้สีที่
ลดความสดใส ลงจะทาให้น่าดูและกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website
Website

More Related Content

What's hot

การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
น.หนู ว.แหวน
 
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
BlogAseanTraveler
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ Nการเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
feirockjock
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kittichai Pinlert
 
ระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุมระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุม
Noppakhun Suebloei
 
โครงงาน ฮาร์ดดิสก์
โครงงาน ฮาร์ดดิสก์โครงงาน ฮาร์ดดิสก์
โครงงาน ฮาร์ดดิสก์
teerarat55
 

What's hot (15)

22222222222
2222222222222222222222
22222222222
 
กนกพร5 1
กนกพร5 1กนกพร5 1
กนกพร5 1
 
บทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัยบทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัย
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
She's mammai
She's mammaiShe's mammai
She's mammai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
 
บทที่ 5 ทวีชัย
บทที่ 5 ทวีชัยบทที่ 5 ทวีชัย
บทที่ 5 ทวีชัย
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ Nการเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
 
ส่วนนำ
ส่วนนำส่วนนำ
ส่วนนำ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุมระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุม
 
โครงงาน ฮาร์ดดิสก์
โครงงาน ฮาร์ดดิสก์โครงงาน ฮาร์ดดิสก์
โครงงาน ฮาร์ดดิสก์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

Viewers also liked

Theory development and design website
Theory development and design websiteTheory development and design website
Theory development and design website
Som Prapasri Camthum
 
Isotopes and Radioactive Decat
Isotopes and Radioactive DecatIsotopes and Radioactive Decat
Isotopes and Radioactive Decat
Sidra Butt
 
Aida cande sara carlos
Aida cande sara carlosAida cande sara carlos
Aida cande sara carlos
portafolioaida
 
Escola Estadual 26 de Março, Paraná rn
Escola Estadual 26 de Março, Paraná rnEscola Estadual 26 de Março, Paraná rn
Escola Estadual 26 de Março, Paraná rn
aldicelandra
 
Daniel dialeto apr
Daniel dialeto aprDaniel dialeto apr
Daniel dialeto apr
Daniel Kip
 
Prácticas Complementarias - Prof. Dipl. Lencioni, Gustavo Omar.
Prácticas Complementarias - Prof. Dipl. Lencioni, Gustavo Omar.Prácticas Complementarias - Prof. Dipl. Lencioni, Gustavo Omar.
Prácticas Complementarias - Prof. Dipl. Lencioni, Gustavo Omar.
Gustavo Lencioni Cacciola
 

Viewers also liked (20)

Book 21
Book 21Book 21
Book 21
 
Theory development and design website
Theory development and design websiteTheory development and design website
Theory development and design website
 
Plasma11
Plasma11Plasma11
Plasma11
 
Ted Talk - Social Mobile Local Real-time Convergence
Ted Talk - Social Mobile Local Real-time Convergence Ted Talk - Social Mobile Local Real-time Convergence
Ted Talk - Social Mobile Local Real-time Convergence
 
Solid Waste
Solid WasteSolid Waste
Solid Waste
 
Isotopes and Radioactive Decat
Isotopes and Radioactive DecatIsotopes and Radioactive Decat
Isotopes and Radioactive Decat
 
Participatory approach for management of Mountain ecosystem
Participatory approach for  management of Mountain ecosystemParticipatory approach for  management of Mountain ecosystem
Participatory approach for management of Mountain ecosystem
 
Judiciary
JudiciaryJudiciary
Judiciary
 
01 skull
01 skull01 skull
01 skull
 
Globalization , Health and Media
Globalization , Health and MediaGlobalization , Health and Media
Globalization , Health and Media
 
Revue Fantasmagorie
Revue Fantasmagorie Revue Fantasmagorie
Revue Fantasmagorie
 
Aida cande sara carlos
Aida cande sara carlosAida cande sara carlos
Aida cande sara carlos
 
Evelyn's Resume
Evelyn's ResumeEvelyn's Resume
Evelyn's Resume
 
La guía abc de granada
La guía abc de granadaLa guía abc de granada
La guía abc de granada
 
Escola Estadual 26 de Março, Paraná rn
Escola Estadual 26 de Março, Paraná rnEscola Estadual 26 de Março, Paraná rn
Escola Estadual 26 de Março, Paraná rn
 
Intel
IntelIntel
Intel
 
запуск1
запуск1запуск1
запуск1
 
Daniel dialeto apr
Daniel dialeto aprDaniel dialeto apr
Daniel dialeto apr
 
Texto 3 d luces y cámara
Texto 3 d luces y cámaraTexto 3 d luces y cámara
Texto 3 d luces y cámara
 
Prácticas Complementarias - Prof. Dipl. Lencioni, Gustavo Omar.
Prácticas Complementarias - Prof. Dipl. Lencioni, Gustavo Omar.Prácticas Complementarias - Prof. Dipl. Lencioni, Gustavo Omar.
Prácticas Complementarias - Prof. Dipl. Lencioni, Gustavo Omar.
 

Similar to Website

อร ส่วนนำ
อร ส่วนนำอร ส่วนนำ
อร ส่วนนำ
Ployko Stawbery
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
Montra Songsee
 
งาน กนกวรรณ
งาน กนกวรรณงาน กนกวรรณ
งาน กนกวรรณ
Dexloei Prawza
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
Pop Cholthicha
 

Similar to Website (20)

03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
 
งาน คอม
งาน คอมงาน คอม
งาน คอม
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
อร ส่วนนำ
อร ส่วนนำอร ส่วนนำ
อร ส่วนนำ
 
งาน คอม
งาน คอมงาน คอม
งาน คอม
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
333
333333
333
 
1พ
1พ1พ
1พ
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
งาน กนกวรรณ
งาน กนกวรรณงาน กนกวรรณ
งาน กนกวรรณ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 

Website

  • 1. ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ การค้นคว้าแบบอิสระเรื่องการพัฒนาสื่อเชิงโต้ตอบวิชาทฤษฏีสี สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้น ปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน การสอนวิชาทฤษฏีสี สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีปีที่ 1 โดยมีทฤษฎีแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่ง ได้นามาใช้ประกอบการศึกษา โดยมีหัวข้อดังนี้ 2.1 การประชาสัมพันธ์ 2.2 ความหมายของเว็บไซต์ 2.3 ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ 2.4 ทฤษฏีการออกแบบเชิงปฏิสัมพันธ์ 2.5 ทฤษฏีสี 2.6 หลักการออกแบบเว็บไซต์ 2.7ขั้นตอนการพัฒนา 2.8ส่วนประกอบของเว็บไซต์ 2.9แนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์ 2.10ความรู้เกี่ยวกับบทเรียนผ่านเว็บ 2.11 หลักการออกแบบบทเรียนผ่านเว็บ 2.12 การประเมินเว็บไซต์ 2.13 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 การประชาสัมพันธ์ ความหมายของการประชาสัมพันธ์คาว่า “การประชาสัมพันธ์” มาจากคาว่า “ประชา” กับ“สัมพันธ์” ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า “public relations” หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า “PR” ตามคาศัพท์นี้หมายถึงการมี ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับประชาชน ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง การติดต่อสื่อสาร เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันถูกต้องต่อกัน และถ้าจะขยายความหมายให้เป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น จะ หมายถึง “ความพยายามที่มีการวางแผนและเป็นการกระทาที่ต่อเนื่อง ในอันที่จะมีอิทธิพลเหนือความคิดจิตใจ ของประชาชน กลุ่มเป้าหมายโดยการกระทาสิ่งที่ดีมีคุณค่าให้กับสังคม เพื่อให้ประชาชนเหล่านี้เกิดทัศนคติทีดี ต่อหน่วยงานกิจกรรม และบริการ หรือสินค้าของหน่วยงานนี้ และเพื่อที่จะได้รับการสนับสนุนและร่วมมือที่ดี จากประชาชนเหล่านี้ในระยะยาว” อย่างไรก็ดี ได้มีผู้ให้ความหมายของการประชาสัมพันธ์ไว้ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ด.ร.เสรี วงษ์มณฑา, 2540 ให้ความหมายว่า “การประชาสัมพันธ์เป็นความพยายามที่มีการวางแผน ในการที่จะมีอิทธิพลเหนือความคิดจิตใจของสาธารณชนที่เกี่ยวข้อง โดยกระทาสิ่งที่ดีที่มีคุณค่ากับสังคมเพื่อให้ สาธารณชนเหล่านั้นมีทัศนคติที่ดีต่อหน่วยงาน องค์กร บริษัท ห้างร้าน หรือสมาคม ตลอดจนมีภาพพจน์ที่ดี
  • 2. 2 เกี่ยวกับหน่วยงานต่าง ๆ เหล่านั้น เพื่อให้หน่วยงานได้รับการสนับสนุนและความร่วมมือที่ดีจากสาธารณชนที่ เกี่ยวข้องในระยะยาวต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ” สุพิณ ปัญญามาก, 2535 อธิบายไว้ว่า “ความพยายามที่มีแผนที่จะมีอิทธิพลต่อความคิดและทัศนคติ ของประชาชน เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประชาชนกับหน่วยงาน” สะอาด ตัณศุภผล,2536 อาจารย์ผู้ซึ่งมีความสาคัญมากผู้หนึ่งในการวางรากฐานการเรียนการสอน วิชาการประชาสัมพันธ์ของไทยในปัจจุบันได้กล่าว่า “การประชาสัมพันธ์ คือ วิธีการของสถาบันอันมีแผนการ และกระทาต่อเนื่องกันไป ในอันที่จะสร้างหรือยังให้เกิดความสัมพันธ์อันดีกับกลุ่มประชาชน เพื่อให้สถาบัน และกลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจ และให้การสนับสนุนร่วมมือกันและกัน อันจะเป็นประโยชน์ ให้สถาบันนั้นดาเนินงานไปได้ผลดีสมความมุ่งหมาย โดยมีประชามติเป็นแนวบรรทัดฐานอันสาคัญด้วย” นางสาว ชลิตา ไวรักษ์.การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อประชาสัมพันธ์องค์กร :กรณีศึกษาสโมสรทาร์ซาน ฮัท เพนท์ บอล เชียงใหม่ 2.2 ความหมายของเว็บไซต์(Web site) โฮมเพ็จ (Home page) และเว็บเพจ (Web page) เอเบอร์โซล (Ebersole. 2000 : Online) กล่าวว่า เว็บไซต์ หมายถึง สื่อประสมการเชื่อมต่อและ นาเสนอข้อมูลข่าวสาร และแหล่งความบันเทิงต่างๆ ไปยังกลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดย ปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เว็บไซต์เติบโตอย่างรวดเร็ว ก็คือ ความง่ายในการใช้งานและการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่งคน ที่ดูแลเนื้อหาของเว็บเองก็คอยจะนาเสนอบริการใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นด้วย ในความเป็นจริงแล้วองค์ประกอบที่ สลับซับซ้อนของเว็บไซต์อยู่ที่ความเป็นพลวัต และความสามารถในการรวมตัวกับคุณสมบัติของสื่ออื่น หรือ เปลี่ยนแปลงไปเป็นสิ่งอื่น ๆได้โดยในแต่ละเดือนที่ผ่านไปได้นามาซึ่งเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อการพัฒนาและ ขยายขอบข่ายของเว็บไซต์ และประสบการณ์ที่ผู้รับสารจะได้รับผ่านเว็บไซต์ และในปัจจุบันได้มีการนาเว็บไซต์ มาใช้เพื่อการศึกษาของโรงเรียนต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้นอีกที กิดานันท์ มลิทอง (2542 : 7) ได้ให้ความหมายคาว่า “เว็บไซต์” ไว้ว่าคือแหล่งที่รวบรวมหน้าเว็บ จานวนมากมายหลายหน้าในเรื่องเดียวกันมารวมอยู่ด้วยกัน แต่สิ่งหนึ่งในการเสนอเรื่องราวที่อยู่บนเว็บไซต์ที่ แตกต่างไปจากโปรแกรมโทรทัศน์ เนื้อหานิตยสาร หรือหนังสือพิมพ์คือ การทางานบนเว็บไม่มีสิ้นสุดลง โดยทั่วไปแล้วเว็บไซต์จะประกอบด้วยเว็บเพจ (Web page) หรือหน้าเว็บที่เปรียบเสมือนหน้าหนังสือที่ ประกอบด้วยข้อความและภาพจานวนหลายหน้า และจะมีหน้าโฮมเพจ (Homepage) หรือหน้านาเข้า หรือ เรียกอีกอย่างว่า “หน้าต้อนรับ” ซึ่งจะมีปรากฏเป็นหน้าแรกเมื่อเปิดเว็บไซต์ขึ้นมา หน้าโฮมเพจจึง เปรียบเสมือนเป็นหน้าสารบัญเพื่อบอกกล่าวหัวข้อเรื่องราวเกี่ยวกับ เว็บไซต์นั้นปัจจุบันมีเว็บไซต์เกิดขึ้นมากมายนับล้านเว็บ ซึ่งหมายถึง มีข้อมูลสารสนเทศที่มากมาย มหาศาลอยู่บนเว็บ ข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้จะมีที่ยู่แตกต่างกัน การจะไปยังเว็บเพจใดจะต้องทราบที่อยู่ (Address) ของเว็บเพจนั้น ที่อยู่ของเว็บเพจได้มีการกาหนดขึ้นเป็นสากลเพื่อบ่งบอกว่าเว็บเพจนั้นอยู่ที่ใด เรียกกันโดยย่อว่า URL (Universal Recourse Locator) ซึ่งประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วนคือ ส่วนที่หนึ่ง คือ โปรโตคอล ส่วนที่สองคือชื่อเครื่องที่ให้บริการ และส่วนที่สาม คือ เส้นทางที่บ่งบอกที่อยู่ของเอกสารใน
  • 3. 3 เครื่องให้บริการนั้นตัวอย่างเช่น เว็บเพจที่มี URL เป็น http://www.ku.ac.th/index.html มีโปรโตคอล คือ http ชื่อเครื่องให้บริการคือ www.ac.th ส่วนเส้นทางเดินของเอกสารจะมีระดับเดียว คือ แต่หากมีเส้นทาง ในอีกระดับก็จะสังเกตได้ว่าจะมีเส้นขีดทับตามด้วยชื่อแฟ้ม เช่น http://www.infoplease.com/A0193167.html พันจันทร์ ธนาวัฒเสถียร,ประชา พฤกษ์ประเสริฐ์ และปิยะ นากบังก์ (2542 : 5) กล่าวว่า เว็บไซต์ (Web site) เป็นที่เก็บเว็บเพจ เมื่อใดที่เราต้องการเปิดดูเว็บเพจ เราต้องใช้บราวเซอร์ดึง ข้อมูล โดยบราวเซอร์ จะทาการติดต่อกับเว็บไซต์นั้นเพื่อให้มีการโอนย้ายข้อมูลมาแสดงที่เครื่องของเรา ดังตัวอย่างการโอนย้ายเว็บ เพจจากเว็บไซต์ ABCNEWS มาแสดงที่เครื่องของเรา (เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเผยแพร่เว็บไซต์ เรียกว่า เว็บเซิฟเวอร์ : Web server) วันชัย แซ่เตีย และสิทธิชัย ประสานวงศ์ (2542 : 5) กล่าวว่า เว็บไซต์ เป็นเครื่องที่ใช้ในการจัดเก็บ เว็บเพจแต่ละองค์กรที่จะนาเสนอข้อมูลของตนในรูปของเว็บมักจะมีเว็บไซต์เป็นของตนเอง และมักใช้ชื่อ องค์กรเป็นชื่อเว็บไซต์เพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถจดจาได้ง่าย สรุปได้ว่าเว็บไซต์ คือ แหล่งรวมโฮมเพจ เว็บเพจทั้งหมดขององค์กร และนาเสนอผ่านอินเทอร์เน็ต ผ่าน httpโดยผู้ใช้สามารถเปิดดูด้วย Browser เช่น IE หรือ Netscape เป็นต้น ข้อมูลในเว็บไซต์สามารถ เป็นได้ทั้งตัวอักษร ภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหวได้ นามาจาก : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2.3 ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2551: ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความ ของเว็บไซต์ (Web site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่าน คอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จาเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสีย ค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อมูลสื่อ ต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์ ชัยมงคล เทพวงษ์(2550)โดยองค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์ มีดังนี้คือ 1) ความเรียบง่าย ได้แก่ มีรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้งานได้สะดวก ไม่มีกราฟิกหรือ ตัวอักษรที่เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ชนิดและสีของตัวอักษรไม่มากจนเกินไปทาให้วุ่นวาย 2) ความสม่าเสมอ ได้แก่ ใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ เช่น รูปแบบของหน้า สไตล์ของกราฟิก ระบบเนวิเกชันและโทนสี ควรมีความคล้ายคลึงกันตลอดทั้งเว็บไซต์ 3) ความเป็นเอกลักษณ์การออกแบบเว็บไซต์ควรคานึงถึงอัตลักษณ์และลักษณะขอองค์กรเพราะ รูปแบบของเว็บไซต์จะสะท้อนถึงเอกลักษณ์และลักษณะขององค์กรนั้นๆเช่นถ้าเป็นเว็บไซต์ของทางราชการ จะต้องดูน่าเชื่อถือไม่เหมือนสวนสนุก ฯลฯ
  • 4. 4 4) เนื้อหาที่มีประโยชน์ เนื้อหาเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในเว็บไซต์ ดังนั้นควรจัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูลที่ ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้อง และสมบูรณ์ มีการปรับปรุงและเพิ่มเติมให้ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื้อหาไม่ควรซ้ากับ เว็บไซต์อื่นจึงจะดึงดูดความสนใจ 5) ระบบเนวิเกชันที่ใช้งานง่าย ต้องออกแบบให้ผู้ใช้เข้าใจง่ายและใช้งานสะดวก ใช้กราฟิกที่สื่อ ความหมายร่วมกับคาอธิบายที่ชัดเจน มีรูปแบบและลาดับของรายการที่สม่าเสมอ เช่น วางไว้ตาแหน่งเดียวกัน ของทุกหน้า 6) ลักษณะที่น่าสนใจหน้าตาของเว็บไซต์ต้องมีความสัมพันธ์กับคุณภาพขององค์ประกอบประกอบ ต่างๆ เช่น คุณภาพของกราฟิกที่จะต้องสมบูรณ์ การใช้สี การใช้ตัวอักษรที่อ่านง่าย สบายตา การใช้โทนสีที่เข้า กัน ลักษณะหน้าตาที่น่าสนใจนั้นขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละบุคคล 7) การใช้งานอย่างไม่จากัดผู้ใช้ส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงได้มากที่สุดเลือกใช้บราวเซอร์ชนิดใดก็ได้ใน การเข้าถึงเนื้อหาสามารถแสดงผลได้ทุกระบบปฏิบัติการและความละเอียดหน้าต่างๆ กันอย่างไม่มีปัญหาเป็น ลักษณะสาคัฐสาหรับผู้ใช้ที่มีจานวนมาก 8) คุณภาพในการออกแบบ การออกแบบ และ การเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบสามารถสร้าง ความรู้สึกว่าเว็บไซต์มีคุณภาพถูกต้องและเชื่อถือได้ 9) ระบบการใช้งานที่ถูกต้องการใช้แบบฟอร์มสาหรับกรอกข้อมูลต้องสามารถกรอกได้จริงใช้งานได้ จริงลิงค์ต่างๆจะต้องเชื่อมโยงไปหน้าที่มีอยู่จริงและถูกต้องระบบการทางานต่างๆในเว็บไซต์จะต้องมีความ แน่นอนและทาหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง Jess james Garrett (2003) ได้กาหนดกรอบของกระบวนการทางาน(Framework)ที่แสดงให้เห็นถึง ขั้นตอนของการพัฒนาเว็บตั้งแต่เริ่มต้นกระบวนการจนกระทั้งสิ้นสุดกระบวนการ เพื่อให้พัฒนาเว็บเป็นไป อย่างมีแบบแผน แบบจาลองกระบวนการพัฒนา แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอนได้แก่ 1) การสร้างกลยุทธ์ในการออกแบบ(Strategy Plane) เป็นขั้นตอนการวิเคราะห์ปัจจัย 3ประการคือ ผู้ใช้ องค์กร และองค์กรที่มีลักษณะงานประเภทเดียวกันเพื่อทราบเป้าหมายหรือแนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์ โดยปัจจัยทั้ง3ประการมีรายละเอียดดังนี้ - ผู้ใช้ เป็นการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ โดยศึกษาหรือทาการสารวจจากผู้ใช้ที่เป็กลุ่มเป้าหมาย เพื่อตอบคาถามว่า เมื่อผู้ใช้เข้ามายังหน้าเว็บแล้วต้องการได้รับข้อมูลใดกลับไปบ้าง มีฟังก์ชั่นหรือการใช้งาน รูปแบบใดบนเว็บไซต์ที่ผู้ใช้ต้องการ และปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดจากการใช้งานเว็บที่ได้พบ - องค์กร เป็นการวิเคราะห์เป้าหมายทางธุรกิจทั้งในส่วนเงินทุนบุคลากรและความเป็นไปได้ที่จะ พัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่อใช้งานรวมทั้งการเก็บรวบรวมข้อมูลขององค์กรที่จาเป็นต่อการออกแบบหน้าเว็บ เช่น แบบเนอร์ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้จดจาเว็บไซต์ได้ง่ายขึ้น - องค์กรที่มีลักษณะงานประเภทเดียวกันเป็นการประเมินขอบเขตข้อมูลรูปแบบนาเสนอ และ เป้าหมายขององค์กรเพื่อพิจารณาจุดอ่อนจุดแข็งของการออกแบบเว็บแล้วนามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเว็บ ขององค์กรต่อไป
  • 5. 5 2) การกาหนดขอบเขตของข้อมูล (Scope Plane) เป็นการสรุปขอบเขตของข้อมูลที่ควรมีบนหน้าเว็บ ให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นเนื่องจากผู้ออกแบบบางคนมีเทคนิคนาเสนอขอ้มูลที่ชื่นชอบ หรือมีแนวทางพัฒนาเว็บ หลายวิธีจนทาให้เกิดความสับสน ขั้นตอนนี้จึงเป็นการสรุปแนวทางพัฒนาเว็บโดยพิจารณาขอบเขตข้อมูลให้ สอดคล้องกับเป้าหมายที่ได้จากการวิเคราะห์ปัจจัย 3 ประการ ขั้นตอนแรก สามารถจาแนกข้อมูลบนเว็บไซต์ออกเป็น 2 ประเภทดังนี้ - เนื้อหา (Content Requirements) เป็นข้อมูลทั่วไปที่นาเสนอให้กับผู้ใช้งาน เช่นข้อความบรรยาย รูปภาพ เป็นต้น - การใช้งาน (Functional Specifications) เป็นระบบการทางานหรือการใช้งานบนหน้าเว็บ ซึ่ง มักจะเป็นงานที่ต้องมีการปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกับผู้ใช้ เช่น การรับส่ง E-mailการประมวลค่าข้อมูลของฟอร์ม โปรแกรมสนทนาและผู้ใช้เป็นต้น 3) การจัดทาโครงสร้างข้อมูล (Structure Plane) ภายหลังจากที่ได้กาหนดขอบเขตข้อมูลแล้ว ก็จะ เริ่มต้นกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาและหน้าที่งานบนเว็บไซต์ โดยในขั้นตอนนี้ประกอบด้วยงาน 2 ลักษณะดังนี้ - การออกแบบส่วนปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ (Interaction Design) เป็นการออกแบบหน้าเว็บสาหรับงานที่ มีลักษณะโต้ตอบกับผู้ใช้งาน เช่นการ กรอกแบบฟอร์ม และการับส่ง อีเมล์เป็นต้น ผู้ออกแบบต้องเริ่มต้นศึกษา พฤติกรรมหรือขั้นตอนการปฏิบัติงานตามเป็นจริง แลัวนามาประยุกต์ใช้กับการออกแบบเว็บ โดยกาหนดลาดับ ขั้นตอนการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้งานบนหน้าเว็บให้เหมือนกับขั้นตอนดังกล่าว ธวัชชัย ศรีสุเทพ(2545)ได้กล่าวถึง ส่วนต่อประสารกับผู้ใช้ซึ่งจะประกอบด้วย (1) เนวิเกชั่นบาร์ (Navigation Bar) เป็นระบบพื้นฐานที่ใช้ได้หลายรูปแบบโดยทั่วไปเนวิเกชั่นบาร์จะ ประกอบด้วยกลุ่มของลิงค์ต่าง ๆ ที่อยู่รวมกันในบริเวณหนึ่งของหน้าเว็บโดยอาจจะเป็นตัวหนังสือหรือกราฟิก ก็ได้และถือเป็นรูปแบบของเนวิกาชั่นที่ได้รับความนิยมที่สุด (2) เนวิเกชั่นระบบเฟรม (Frame-Based) การสร้างเนวิเกชั่นระบบเฟรมเป็นอีกวิธีทาให้ผู้ใช้เข้าถึงเนวิ เกชั่นบาร์ได้ง่ายและสม่าเสมอ โดยที่แต่ละหน้ายังเป็นอิสระต่อกัน การลิงค์จากเฟรมที่เป็นเนวิเกชั่นบาร์ สามารถควบคุมการแสดงผลของข้อมูลในอีกเฟรมหนึ่งได้ ดังนั้นส่วนที่เป็นเนวิเกชั่นบาร์จะปรากฏคงที่เสมอ ในขณะที่ผู้ใช้เลื่อนดูข้อมูลใด ๆ ก็ตามในอีกเฟรมหนึ่งการแยกแยะระบบเนวิเกชั่นบาร์ออกจากหน้าข้อมูลใน ลักษณะนี้จะทาให้ผู้ใช้เข้าถึงระบบเนวิเกชั่นได้ตลอดเวลาและยังคงความสม่าเสมอทั่วทั้งเว็บไซต์ (3) Pull-Down Menuเป็นส่วนประกอบของแบบฟอร์ม ที่มีลักษณะเด่นคือ มีรายการให้เลือก มากมายแต่ใช้พื้นที่น้อยมากเมื่อเทียบกับองค์ประกอบชนิดอื่น ๆ การนา Pull-Down Menu มาใช้เป็น ระบบเนวิเกชั่นจะช่วยให้ผุ้ใช้เลือกรายการย่อยเข้าไปสู่เป้าหมายได้อย่างสะดวก เมนูรูปแบบนี้เหมาะสาหรับ ข้อมูลประเภทเดียวกันที่มีจานวนมาก เช่น รายชื่อประเทศ จังหวัด หรือ ภาษา แต่ไม่เหมาะกับข้อมูลจานวน น้อยหรือข้อมูลต่างประเภทกัน และควรระวังไม่ใช้ Pull- Down Menu มากจนเกินไป การใช้เมนูแบบนี้เป็น
  • 6. 6 ระบบเนวิเกชั่นหลาย ๆ แห่งในหนึ่งหน้าอย่างไม่เหมาะสม จะสร้างความสับสนให้ผู้ใช้เพราะไม่มีการแสดง ความสัมพันธ์ของข้อมูลภายในเว็บไซต์ และ ผู้ใช้หน้าใหม่อาจไม่รู้ว่ามีรายการให้เลือกภายใต้เมนูนั้นก็เป็นได้ (4) Pop-up Menuเป็นเมนูอีกรูปแบบหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายPull-DownMenu แต่รายการย่อยของ เมนูจะปรากฏขึ้นเองเมื่อผู้ใช้นาเมาส์ไปวางเหนือตาแหน่งของรายการในเมนูหลัก จากนั้นผู้ใช้ก็สามารถเลื่อน เมาส์ไปเลือกรายการต่าง ๆ ที่ปรากฏขึ้นได้ ซึ่งสามารถพัฒนาเมนูแบบนี้ได้ โดยใช้ภาษาจาวาสคริปต์ (JavaScript)วิธีนี้ช่วยให้หน้าเพจดูไม่รกเกินไปด้วยลิงค์จานวนมาก และยังช่วยประหยัดพื้นที่แสดงรายการ ย่อยของเมนูได้ (5) Image Map การใช้รูปกราฟิกเป็นลิงค์ในรูปแบบ Image map ได้รับความนิยมนามาใช้กับ ระบบเนวิเกชั่นมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยบางบริเวณของกราฟิกนั้น จะถูกกาหนดให้เป็นลิงค์ไปยังส่วนต่าง ๆ ตาม ต้องการ ควรใส่คาอธิบายของ ALT (Alternative text) ให้ครบถ้วนเพื่อผู้ใช้ จะได้รู้ว่าบริเวณนั้นถูกลิงค์ไปยังที่ ใด และไม่ควรที่จะใช้แต่ Image maps เป็นระบบเนวิเกชั่นเพียงอย่างเดียวในเว็บเพจ เพราะอาจมีผู้ใช้บางคน ไม่รู้ว่ากราฟิกนั้นสามารถคลิกเพื่อไปยังข้อมูลอื่น ๆได้ (6) Search Box การจัดเตรียมระบบสือค้นข้อมูล (Search) ภายในเว็บไซต์เป็นระบบเนวิเกชั่นแบบ หนึ่งที่มีประโยชน์สาหรับเว็บที่มีข้อมูลปริมาณมาก ทาให้คนใช้ค้นหาสิ่งที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วโดยระบุคีย์ เวิร์ดที่น่าสนใจ เนื่องจากข้อมูลในเว็บไซต์นั้นอาจไม่ได้จัดระบบไว้ตรงกับความสนใจของผู้อ่าน (7) แผนที่เว็บไซต์(Site Map) แผนที่เว็บไซต์เป็นการแสดงโครงสร้างข้อมูลในเว็บไซต์แบบกราฟิก เพื่อเพิ่มความสวยงามและการสื่อความหมายของเนื้อหาที่มากกว่าแบบตัวอักษรแต่ก็จัดทาค่อนข้างยากเพราะ ต้องอาศัยความเข้าใจถึงโครงสร้างของเว็บไซต์และ มีความชานาญทางกราฟิก เราจึงเห็นแผนที่เว็บไซต์จริง ๆ ที่เป็นแบบกราฟิกกันไม่มากนัก เพราะเว็บไซต์ส่วนใหญ่ มักทาในแบบตัวอักษรแทน (8) อีเมล์ (E-mail) จัดเป็นช่องทางติดต่อที่สาคัญอีกช่องทางหนึ่งระหว่างผู้ชมเว็บไซต์กับผู้พัฒนา เว็บไซต์เพราะเป็นช่องทางการสื่อสารที่ง่าย ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมใช้กันมากและพบในเว็บไซต์แทบทุกประเภท (9) เว็บบอร์ด (Webboard) กระดานสนทนาที่มีไว้เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้ใช้กับผู้ใช้ หรือระหว่างผู้ใช้กับผู้พัฒนาเหมาะสาหรับการแสดงความคิดเห็นที่ต้องการกลุ่มสนทนามากที่สุด (10) สมุดเยี่ยม(Guest Book)สมุดเยี่ยมเป็นเพียงการแสดงความคิดเห็น หรือแสดงความยินดี หรือ เพียงเยี่ยมชมต่อผู้พัฒนาเว็บไซต์เท่านั้น จึงไม่เป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย (11) Contact Us เป็นการแสดงช่องทางติดต่อสื่อสารในด้านอื่นเพิ่มเติม อาจมีการระบุเบอร์โทรศัพท์ ติดต่อ โทรสาร ที่อยู่ หรือข้อความที่จะให้ผู้ใช้สามารถติดต่อกับผู้ออกแบบเว็บไซต์ในภายหลังได้การออกแบบ ร่างหน้าตาเว็บเพจ (Interface Design) แตกต่างจาก การออกแบบส่วนกราฟิก (Visual Design) ที่การ ออกแบบร่างหน้าตาเว็บเพจ (Interface Design) เป็นการออกแบบร่างองค์ประกอบส่วนต่างๆ ของเว็บเพจ แต่สาหรับการออกแบบส่วนกราฟิก นั้นมีการลงรายละเอียด เรื่องความงาม องค์ประกอบสี ตัวอักษร การ ออกแบบร่างหน้าตาเว็บเพจจึงเป็นแบบร่างทางความคิดของผู้ออกแบบเพื่อนาไปสู่การออกแบบจริง แบบร่าง ความคิดนี้จะช่วยในการสมมุติกิจกรรมภายในเว็บที่อาจเกิดขึ้นได้ การวางองค์ประกอบต่างๆ ให้สอดคล้องกับ
  • 7. 7 ผู้ใช้งานและเป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้งเว็บไซต์ ซึ่งผู้ออกแบบสามารถออกแบบโดยวิธีการออกแบบจาลอง โครงร่าง (WireFrames) หรือการออกแบบร่างภาพต้นแบบ (Paper Prototyping) เป็นการร่างภาพด้วยการ วาดลงบนกระดาษคร่าวๆ (อรนงค์ ศรีพธูราษฎร์, 2549: 21 อ้างถึงใน ธวัชชัย ศรีสุเทพ, 2544: 143-151) สถาปัตยกรรมข้อมูล (Information Architecture) เป็นการกาหนดโครงสร้างของเนื้อหาทั้งหมดที่จะนาเสนอ บนเว็บไซต์ โดยเชื่อมโยงเว็บเพจแต่ละส่วนไว้ด้วยกันตามความสัมพันธ์ของระบบงาน เพื่อให้ข้อมูลเคลื่อนที่ อย่างเป็นระบบ จนผู้ใช้งานไม่รู้สึกสะดุดหรือข้ามขั้นตอนเมื่อเรียกใช้หน้าเว็บนั้น มีการศึกษา โดยได้นาเอา ทฤษฎี สถาปัตยกรรมข้อมูลเป็นแนวทางในการศึกษา โดยอรนงค์ ศรีพธูราษฎร์(2549) ทาการศึกษาการออกแบบสถาปัตยกรรมสารสนเทศของแบบจาลอง พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประเภทธุรกิจผู้บริโภคที่มีความเหมาะสม กับสินค้าครื่องปั้นดินเผาร้านชวนหลงเซรามิค โดยได้นาแนวคิดการออกแบบสถาปัตยกรรมสารสนเทศและการออกแบบเว็บไซต์เป็นแนวทางในการศึกษาผล การศึกษาพบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในระดับสูงต่อแบบจาลองพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โดยสามารถ เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายเว็บไซต์มีรูปแบบที่เรียบง่ายเหมาะกับเว็บไซต์เชิงพาณิชย์ อีกทั้งสื่อถึงเอกลักษณ์ของร้าน และมีความเป็นสากล การจัดองค์ประกอบส่วนต่าง ๆในหน้าเว็บเพจเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 4) การออกแบบโครงร่างเว็บเพจ (Skeleton Plane) เป็นการจัดแบ่งพื้นที่บนหน้าเว็บ เพื่อใช้วาง องค์ประกอบส่วนต่าง ๆ และเริ่มต้นออกแบบส่วนอินเตอร์เฟสกับผู้ใช้ โดยสร้างระบบนาทาง(Navigation System)เพื่อเชื่อมโยงการทางานทุกส่วนเข้าไว้ด้วยกันโดยในขั้นตอนนี้จะประกอบด้วยกิจกรรมย่อย 3 กิจกรรมคือ - การออกแบบร่างหน้าตาเว็บเพจ (Interface Design) เป็นขั้นตอนของการออกแบบร่างหน้าราเว็บ เพจ ซึ่งเป็นการวางองค์ประกอบสารสนเทศส่วนต่าง ๆ ของเว็บเพจ ว่าสิ่งใดควรจะอยู่ตรงไหนของหน้าเว็บเพจ นั้น ๆ เป็นการเริ่มออกแบบและสเก็ตรูปแบบของเว็บเพจลงบนกระดาษก่อนที่จะลงมือทาเว็บไซต์ โดยกาหนด ตาแหน่งเมนู ข้อความ รูปภาพ พื้นหลังของหน้าและใช้วิธีการจัดโครงสร้างทุกๆ หน้า ให้มีความเหมือนกัน เช่น จัดเมนูไว้บริเวณคอลัมน์ด้านซ้ายของหน้า วิธีการกาหนดที่แน่นอนให้กับองค์ประกอบต่างๆ ในเว็บเพจ ซึ่งจะ ช่วยให้มองเห็นภาพรวมที่ชัดเจนก่อนที่จะลงมือสร้างเว็บเพจ และการออกแบบส่วนติดต่อระหว่างผู้ใช้กับ เว็บไซต์ เพื่อการนาเสนอ รับชม และใช้งานข้อมูลบนเว็บนั้นด้วยการโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ การออกแบบ อินเตอร์เฟสบนเว็บไซต์ที่ดี มุ่งเน้นประสิทธิภาพหรือความสามารถในการใช้เว็บเป็นสาคัญ โดยจะต้องสามารถ ใช้งานได้ง่าย ใช้งานได้จริง และให้ผลเป็นที่พอใจของผู้ใช้งาน - การออกแบบระบบนาทาง (Navigation Design) เป็นการออกแบบเส้นทางการเชื่อมโยงบนเว็บไซต์ เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถท่องเที่ยวไปในไซต์ได้อย่างสมบูรณ์แบบและไม่หลงทาง โดยใช้เครื่องมือนาทางรูปแบบ ต่าง ๆ เช่นรายการ เมนูเชื่อมโยง(Navigation bar) ส่วนค้นหา(Search) หรือ Drop-Down Menu เป็นต้น - การออกแบบส่วนข้อมูล (Information Design) เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเลือกใช้วิธี นาเสนอข้อมูลอย่างไร จึงจะะเหมาะสมกับชนิดข้อมูลนั้น และทาให้ผู้ใช้เข้าใจง่ายที่สุด ยกตัวอย่างเช่น ตัวเลข ทางสถิติควรเลือกนาเสนอด้วยรูปแบบตาราง กราฟ หรือแผนภูมิภาพสินค้าเคลื่อนไหว ควรเลือกนาเสนอด้วย
  • 8. 8 รูปถ่าย วิดีโอ เป็นต้น นอกจากนี้การออกแบบส่วนข้อมูลยังรวมถึงการจัดข้อมูลให้เป็นระเบียบ หมวดหมู่ ทา ให้ผู้ใช้ อ่านง่าย และสบายตาด้วย 5) การออกแบบรูปลักษณ์ของเว็บเพจ (Surface Plane) หรือเรียกการออกแบบในขั้นตอนนี้ได้อีก อย่างหนึ่งว่า “Visual Design” เนื่องจากการออกแบบส่วนอินเตอร์เฟสในขั้นตอนที่ 4 จะมุ่งเน้นประสิทธิภาพ ด้านความสามารถในการใช้งานและการจัดวางองค์ประกอบบนหน้าเว็บเพื่ออานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ มากกว่ามากการตกแต่งหน้าเว็บให้มีความสวยงาม ดังนั้นงานในขั้นตอนสุดท้ายนี้ จึงเป็นการเพิ่มความสวยงาม และความน่าสนใจให้กับหน้าเว็บ โดยเป็นการตกแต่งหน้าเว็บให้มีรูปลักษณ์ที่พร้อมที่จะนาเสนอต่อผู้ใช้งาน ซึ่ง รูปลักษณ์ของหน้าเว็บที่สวยงามพิจารณาด้านต่าง ๆ ได้แก่ การเลือกใช้โทนสี รูปแบบตัวอักษร พื้นหลัง และ อื่น ๆ 2.4 ทฤษฏีสี (Theory of Colors) 2.4.1 แม่สีและความเป็นมาของแม่สี สีในงานศิลปะที่เราใช้กันนั้น โดยมากมักเป็นสีประเภทสาเร็จรูป กล่าวคือเมื่อเปิดขวดขึ้นมาก็สามารถ นามาใช้ได้ทันที จนทาให้เราขาดทักษะความรู้ด้านการผสมสีให้ได้มาซึ่งสีในรูปแบบต่างๆ นับแต่อดีตกาล มนุษย์เรารู้จักการใช้สีในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆรอบๆตัว เช่นว่า การนาเอาสีของยางไม้ไปเขียนตามผนังถ้าทั้ง แบบตั้งใจและไม่ตั้งใจศิลปินสมัยก่อนๆเห็นว่าเรื่องของสีเป็นเรื่องยุ่งยาก ทาให้การสร้างสรรค์งานศิลปะในยุค ก่อนไม่ค่อยคานึงถึงกฎเกณฑ์หรือหลักการเท่าไรนักในยุคโบราณสีที่ใช้เป็นอุปกรณ์ในการเขียนภาพ ไม่ได้ได้มา จากกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แต่ได้จากการนาเอาวัตถุดิบที่มีอยู่ ธรรมชาติมาทาให้เกิดสีเช่น สีแดง ได้ จากยางไม้ดินแดง หรือหินสีมาบดหรือแม้บางครั้งก็นามาจากเลือดของสัตว์ สีขาวได้จากดินขาว สีดาได้จาก การนาเอาเขม่าจากก้นภาชนะมาละลายน้า สีครามได้จากดอกไม้บางชนิด สีเหลืองได้จากดินเหลืองหรือยางรง ซึ่งในยุคนั้นไม่ ค่อยนิยมนามาใช้ในการเขียนภาพแต่มักจานาสีที่ได้มาใช้ในการย้อมผ้าแต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ เชื่อ วิถีทางวัฒนธรรมของแต่ละชนชาติว่า นิยมหรือมี วิธีในการสร้างสรรค์อย่างไรเช่นชาวจีนไม่ค่อยนิยมที่จะ เขียนภาพด้วยสีเท่าไรนัก แต่กลับนิยมเขียนภาพด้วยหมึกดาส่วนชนชาติไทยเรานิยมใช้หลายสี แต่ไม่มากนัก เพราะสีที่หาได้จะมีจานวนจากัดเท่าที่หาได้จากธรรมชาติ ได้แก่สีดา สีขาว สีแดง และเหลือง ภาพเขียนเก่าแก่ ของไทยจากกรุปรางค์ทิศวัดมหาธาตุอยุธยา กรุปรางค์ใหญ่วัดมหาธาตุ ราชบุรี(น. ณ ปากน้า:1) ต่อมาในยุค หลังๆที่มี การพัฒนาด้านเทคโนโลยีมีการคิดค้นและผลิตสีต่างๆออกมามากมาย หลายชนิด ทาให้การใช้สีนั้น กลายเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยุ่งยากเพราะว่าคู่สีบางคู่มีความสดและเข้มพอๆกัน ทาให้เข้ากันไม่ได้เกิดความขัดแย้ง และไม่เหมาะสม ขาดความนุ่มนวล ดังนั้นผู้เรียนจึงควรรู้จักหลักเกณฑ์ในการ รู้กฎเกณฑ์ในการใช้สีพอสมควร จึงจะทาให้การสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะดูสวยงามและมีคุณค่าแม่สีในยุคปัจจุบัน อาจจาแนกออกได้เป็น 3 ประเภทคือ แม่สีจิตวิทยา หมายถึง เป็นสีในกลุ่มที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึก และมีผลต่อจิตใจของมนุษย์ กล่าวคือสี ที่เราพบเห็นจะสามารถโน้มน้าวชวนให้รู้สึกตื่นเต้น โศกเศร้า โดยมากมักใช้ในการรักษาคนไข้ได้ เช่นโรค ประสาท หรือโรคทางจิต แม่สีจิตวิทยาสี 4 สีประกอบด้วย สีแดง สีเหลือง สีเขียว และสีน้าเงิน
  • 9. 9 แม่สีวิทยาศาสตร์ หมายถึง แม่สีวิทยาศาสตร์เป็นสีที่เกิดจากการสร้างหรือประดิษฐ์ขึ้นจาก กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่น สีของหลอดไฟ สีที่ผ่านแท่งแก้วปริซึม ที่เกิดจากการสะท้อนและการหักเห ของแสง แม่สีในกลุ่มนี้ประกอบด้วย สีแสด สีเขียวมรกต และสีม่วง แม่สีศิลปะ หมายถึง แม่สีศิลปะหรือบางครั้งเรียกว่า แม่สีวัตถุธาตุ หมายถึงสีที่ใช้ในการวาดภาพ หรือ สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะทั่วๆ ไปซึ่งเมื่อนามาผสมกันในปริมาณต่างๆที่ต่างอัตราส่วนกันจะเกิดสีต่างๆ มากมายให้เราได้เลือกหรือนามาใช้ในการสร้างสรรค์ ผลงานที่สวยงามได้ แม่สีในกลุ่มนี้ประกอบด้วย สีแดง สี เหลือง และสีน้าเงิน 2.4.2 วงจรสี แม่สีศิลปะประกอบด้วย สี แดง สีเหลือง และสีน้าเงิน ซึ่งเมื่อนาแม่สีทั้งสามมาผสมกันในอัตราส่วน ต่างๆก็จะเกิดสีขึ้นมามากมาย ซึ่งประโยชน์ จากการที่เรานาสีมาผสมกันทาให้เรา สามารถเลือกสีต่างๆมาใช้ได้ ตามความพอใจ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่งดงามตามความพอใจขอผู้สร้าง สีที่เกิดจากการนาเอาแม่สีมา ผสม กัน เกิดสีใหม่เมื่อนามาจัดเรียงอย่างเป็นระบบรวมเรียกว่าวงจรสี ภาพที่ 2.1 แสดงวงจรของสีที่เกิดจากการนาแม่สีมาผสมกัน การเกิดสีดังภาพ เกิดจากการนาเอาแม่สีมาผสมกัน ในอัตราส่วนต่างๆกันซึ่งพอสรุปได้ดังนี้ สีขั้นที่1 (สีขั้นต้นหรือแม่สี) (Primary Color) ประกอบด้วย สี แดง สีเหลือง และสีน้าเงิน สีขั้นที่ 2 (Binary Color) เกิดจากการนาเอาสีขั้นที่ 1 (แม่สี) มาผสมในอัตราส่วนเท่าๆกัน ประกอบด้วยสี เขียว สีส้ม และสีม่วง สีเขียว เกิดจากการนาเอา สีเหลือง กับ สีน้าเงิน มาผสมกันในอัตราส่วนเท่าๆกัน ส้ม เกิดจากการนาเอา สีเหลือง กับ สีแดง มาผสมกันในอัตราส่วนที่เท่าๆกัน สีม่วง เกิดจากการนาเอา สีน้าเงิน กับ สีแดง มาผสมกันในอัตราส่วนที่เท่าๆกัน สีขั้นที่ 3 (Intermediate Color) เกิดจากการนาเอาสีขั้นที่ 2 ผสมกับสีขั้นต้นที่อยู่ใกล้เคียงกันได้สี แตกต่างออกไป ได้แก่ สีเหลืองแกมเขียว สีน้าเงินแกมม่วง สีแดงแกมม่วง สีแดงแกมส้ม สีเหลืองแกมส้ม และสี น้าเงินแกมเขียว สีเหลืองแกมเขียว เกิดจาก การผสมกันระหว่างสีเหลืองกับสีเขียวอย่างละเท่าๆกัน
  • 10. 10 สีน้าเงินแกมม่วง เกิดจากการผสมกันระหว่างสีน้าเงินกับสีม่วงอย่างละเท่าๆกัน สีแดงแกมม่วง เกิดจากการผสมกันระหว่างสีแดงกับสีม่วงอย่างละเท่าๆกัน สีแดงแกมส้ม เกิดจากการผสมกันระหว่างสีแดงกับสีส้มอย่างละเท่าๆกัน สีเหลืองแกมส้ม เกิดจากการผสมกันระหว่างสีเหลืองกับสีส้มอย่างละเท่าๆกัน สีน้าเงินแกมเขียวเกิดจากการผสมกันระหว่างสีน้าเงินกับสีเขียวอย่างละเท่าๆกัน 2.4.3 วรรณะของสี จากการที่นักเรียนได้ศึกษาเรื่อง แม่สี ในกลุ่มต่างๆ และเรื่องวงจรสีมาแล้ว รวมทั้งได้ทากิจกรรมต่างๆ คงพอทาให้มีพื้นฐานทางการใช้สีในงานศิลปะแต่ทราบหรือไม่ว่าสีที่นักเรียนผสมออกมาทั้ง 12 สีนั้น สามารถ แยกออกเป็นสองกลุ่มตามค่าความเข้มของสี หรือที่เรียกว่าวรรณะของสี(Tone of color) วรรณะของสีก็คือ ค่าความแตกต่างของสีแต่ละด้านของวงจรสีที่แสดงถึงความรู้สึกที่แตกต่างกัน ซึ่งถ้าเปรียบเทียบกับเสียงเพลง หรือเสียงดนตรีก็คือเสียงสูง เสียงต่า ที่แสดงออกทางอารมณ์ ที่มีการเคลื่อนไหว มีชีวิตชีวา หรือเศร้าโศกหรือ รันทดใจ สีที่อยู่ในวรรณะร้อน(Warm tone color) ได้แก่ สีเหลืองส้ม สีส้ม สีแดง และสีม่วง แดง สีที่อยู่ในวรรณะเย็น(Cool tone color) ได้แก่ สีเขียว สีฟ้า สีม่วงคราม ภาพที่ 2.2 ภาพกลุ่มสีวรรณะร้อนและวรรณะเย็น สีทั้งสองวรรณะอาจจะไม่ใช่สีที่สดดั่งเช่นในวงจรสี เพราะความจริงแล้วในธรรมชาติยังมีสีที่แตกต่างไป จากในวงจรสีอีกมากมาย ให้อนุมานว่าสีใดที่ค่อนไปทางสีแดง หรือสีส้มให้ถือว่าเป็นสีวรรณะร้อน ส่วนสีที่ค่อน ไปทางน้าเงิน เขียวให้อนุมาว่าเป็นวรรณะเย็น ในการสร้างสรรค์งานศิลปะที่ต้องให้สีหลายสีในภาพอย่างอิสระ และผู้เขียนสามารถใช้สีให้เกิดความกลมกลืนเป็นอย่างดีจนชานาญ จะเห็นว่าเรื่องของวรรณะของสีนั้นเข้ามามี บทบาทในภาพเขียนเสมอ กล่าวคือโทนสีของภาพจะแสดงงออกไปทางใดทางหนึ่งของวรรณะสีเสมอ นั่นคือ องค์ประกอบหนึ่งที่จะนับได้ว่าเป็นภาพเขียนที่ดี คือเมื่อเขียนภาพโทนเย็นก็มักจะเอาสีในวรรณะ เย็นมาใช้เป็นส่วนมาก ส่วนภาพที่เป็นโทนร้อน ก็จะนาสีในวรรณะร้อนมาใช้มากเช่นกัน ในวรรณะของสีแต่ละ ฝ่ายยังสามารถแยกออกเป็นอีก 2 ระยะคือ ร้อนอย่างรุนแรง หรือเข้มข้น คือแสดงออกถึงความรุนแรงของโทน สีในภาพที่มีผลต่ออารมณ์ของผู้ชมอย่างแรง และ ร้อนอย่างเบาบาง คือให้ความรู้สึกที่ไม่ร้อนแรงมากอย่าง
  • 11. 11 ประเภทแรก ใช้โทนสีที่ร้อนแต่ไม่รุนแรงภาพเขียนที่ใช้โทนสีหรือวรรณะของสีเข้ามาเกี่ยวข้องมักแสดง ความรู้สึกและอารมณ์ในภาพ เช่นวรรณะเย็นให้ความรู้สึก เศร้า สงบ ราบเรียบ ส่วนวรรณะร้อนให้ความรู้สึก รื่นเริง เจิดจ้า และความขัดแย้งขึ้นอยู่กับอารมณ์ของศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงาน จิตรกรผู้สร้างมีอารมณ์ใดใน ขณะนั้นก็มักแสดงออกมาถึงโทนสีและความรู้สึกในภาพเขียนเช่น ปิคัสโซ่ (จิตรกรชาวสเปญ เกิดที่เมือง Malage เมื่อปี ค.ศ.1881) ซึ่งเมื่อขณะที่เขาเป็นหนุ่มมีความรักมักสร้างผลงานในวรรณะร้อนค่อนไปทางชมพู ส่วนในช่วงที่เขาทุกระทม ภาพเขียนเขาจะใช้สีในวรรณะเย็นค่อนไปทางน้าเงิน รวมทั้งศิลปินต่างๆในประเทศ ไทยเราก็สร้างสรรค์ผลงานออกมาโดยใช้ความรู้เรื่องวรรณะของสีไปใช้ในการสร้างสรรค์เช่นเดียวกัน ตัวอย่างภาพจิตรกรรมที่ใช้สี วรรณะเย็น ตัวอย่างภาพจิตกรรมที่ใช้สี วรรณะร้อน ภาพที่ 2.3 ภาพระหว่างกลุ้มสีโทนเย็นภาพกลุ่มสีโทนร้อน หลักในการใช้ความรู้เรื่องวรรณะของสีในการสร้างสรรค์งานศิลปะ ในการสร้างสรรค์งานศิลปะ โดยมากเรามักจะเน้นโทนสีของภาพ ออกไปในทางวรรณะใดวรรณะหนึ่งเป็นหลักอยู่แล้ว แต่บางครั้งเรา สามารถนาเอาสีทั้งสองวรรณะมาไว้ในภาพเดียวกันได้ เพียงแต่รู้หลักในการนามาใช้ กล่าวคือหากจะนาสีทั้ง สองวรรณะมาไว้ในภาพเดียวกัน ถ้าเราใช้สีวรรณะร้อนที่มีเปอร์เซ็นต์มากกว่า ตั้งแต่ 70 ถึง 80 เปอร์เซ็นต์ของ ภาพแล้วใช้สีวรรณะเย็นเพียงเพียง 30 หรือ 20เปอร์เซ็นต์ ผลของภาพนั้นก็ยังเป็นภาพวรรณะร้อน (warm tone) ดังนั้นการจะสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในวรรณะเย็นหรือร้อนไม่จาเป็นต้องใช้สีในวรรณะร้อนหรือเย็น เพียงอย่างเดียว เราสามารถเอาสีต่างวรรณะ มาผสมผสานกันได้แต่คุมปริมาณให้อยู่ในวรรณะใดวรรณะหนึ่ง ในปริมาณที่ยกตัวอย่างไปข้างต้น 2.4.4 ประเภทของสี นอกจากการศึกษาเกี่ยวกับแม่สี วงจรสีและวรรณะของสีแล้ว นักเรียนควรได้รู้จักประเภทต่างๆของสี ในงานศิลปะด้วย ทั้งนี้เพราะว่าถ้านักเรียนได้เรียนรู้ในเรื่องของสียิ่งมากขึ้นก็จะสามารถนาความรู้ที่ได้ไป สร้างสรรค์งานศิลปะได้อย่างถูกต้องตาม โอกาส และความต้องการซึ่งผู้เรียนเองต้องอาศัยการฝึกฝนพอสมควร ในการที่จะสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้ความรู้เรื่องสีประเภทต่างๆไปใช้ เพราะถ้าหากขาดการฝึกฝนที่ดีแล้ว ผลงานก็จะออกมาไม่น่ามอง ดังนั้นการศึกษาถึงประเภทต่างๆของสีจึงมีความจาเป็น ซึ่งจะกล่าวถึงในส่วนที่ เป็นพื้นฐานความรู้เบื้องต้นเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาดังนี้ 1. ค่าความเข้มหรือน้าหนักของสี สีต่างๆ ที่เกิดขึ้นในวงจรสี หากเรานามาเรียงน้าหนักความอ่อนแก่ของสี หลายสีเช่น ม่วง น้าเงิน เขียว แกมน้าเงิน เขียว และเหลืองแกมเขียว หรือ ม่วง แดง แดงส้ม ส้ม ส้มแกมเหลือง และเหลือง หรือเรียกว่าค่า
  • 12. 12 ในน้าหนักของสีหลายสี (Value of different color)สาหรับค่าความเข้มอีกประเภทหนึ่งเกิดจากการนาสีใดสี หนึ่งเพียงสีเดียวแล้วนามาไล่น้าหนักอ่อนแก่ในตัวเอง เราเรียกว่าค่าน้าหนักสีเดียว (Value of single color) ซึ่งถ้าผู้เรียนฝึกฝนได้เป็นอย่างดีแล้ว สามารถนาความรู้จากการไล่ค่าน้าหนักนี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้มากใน การสร้างงานจิตรกรรมนักเรียนหรือผู้ที่ศึกษาทางศิลปะบางคนชอบที่จะให้สีหลายๆสี โดยเข้าใจว่าจะทา ให้ภาพสวยแต่ที่จริงแล้วเป็นความคิดที่ผิด กลับทาให้ภาพเขียนที่ออกมาดูไม่สวยงาม เพราะการที่ จะให้สีหลายสีให้ดูกลมกลืนกันนั้นเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก หากเราได้มีโอกาสได้สังเกตภาพเขียนที่สวยๆของ ศิลปินหลายๆท่านจะพบว่า ผู้สร้างสรรค์ไม่ได้ใช้สีที่มากมายเลย ใช้อย่างมากสองถึงสี่สีเท่านั้นแต่เราดู เหมือนว่าภาพนั้นมีหลากหลายสีทั้งนี้ก็เพราะว่าเขารู้จักใช้ค่าน้าหนักสีๆเดียวโดยการนาเอาสีอื่นเข้ามา ผสมผสานบ้างเท่านั้น 2. สีตัดกัน หรือสีตรงข้าม สีตัดกันหรือสีตรงข้ามก็คือสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงจรสีนั่นเอง การที่เราจะทราบว่าสีคู่ใดเป็นสีตรง ข้ามกันอย่างแท้จริงหรือไม่ ให้นาเอาสีคู่นั้นมาผสมกันดู ถ้าผลการผสมกันออกมาเป็นสีกลางนั้นหมายถึงว่าสีคู่ นั้นเป็นคู่สีตัดกันอย่างแท้จริง วิธีการใช้สีตรงข้ามหรือสีตัดกันมีหลักการดังนี้ 1.ปริมาณของสีที่ตัดกันกับวรรณะของสีทั้งหมดในภาพต้องอย่าเกิน 10%ของเนื้อที่ในภาพเขียน 2.ในลักษณะการนาไปใช้ในทางประยุกต์ศิลป์ควรใช้ตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 2.1 การใช้สีตรงข้ามหรือสีตัดกัน ต้องใช้สีใดสีหนึ่งจานวน 80% อีกฝ่ายหนึ่งต้องเป็น 20% จึงจะมีคุณค่าทางศิลปะ 2.2 หากจาเป็นต้องใช้สีคู่ใดคู่หนึ่งปริมาณเท่าๆกัน ควรต้องลดค่าของคู่สีลง 2.3 หากภาพเป็นลายเล็กๆ เช่น ภาพที่เต็มไปด้วยต้นไม้ใบไม้เล็ก การใช้สีตัดกันอย่างสดๆ สลับกัน ผลคือจะผสมผสานกันเอง 2.4 หากจาเป็นต้องใช้สีตัดกันในภาพใหญ่ๆหรือพื้นที่ภาพมากๆและสีคู่นั้นติดกัน ควรใช้เส้นดามาคั่น หรือตัดเส้นด้วยสีดา เพื่อลดความรุนแรงของภาพและคู่สีได้ 3. สีเอกรงค์ คือสี สีเดียวหรือสีที่แสดงออกมาเด่นเพียงสีเดียว ซึ่งเหมือนว่าจะคล้ายคลึงกับสีสวนรวม หรือสีครอบงา แต่ที่จริงแล้วสีทั้งสองชนิดมีวิธีการที่แตกต่างกันออกไป สีส่วนรวมนั้นสีที่ใช้อาจเป็นสีสด หรือสี ที่ลดค่าลงไปแล้ว แต่สีเอกรงค์ต้องใช้สีใดสีหนึ่งเป็นสีสดยืนพื้นเพียงสีเดียวแล้วลดค่า น้าหนักอ่อนแก่ ในระยะ ต่างๆ เป็นต้น หลักเกณฑ์คือ เมื่อเอาสีที่สดใสเป็นจุดเด่นของภาพแล้ว สีที่เป็นส่วนประกอบรอบๆต้องลดค่า ความสดลงแล้วนาเอาสีที่จุดเด่นนั้นไปผสมด้วยบ้างทุกๆแห่งในภาพ ข้อสาคัญคือ สีที่จะนามาประกอบนั้นจะ ใช้กี่สีก็ตาม แต่โดยมากนิยมใช้ไม่เกิน 5 สี โดยนาเอามาจากวงจรสีด้านหรือวรรณะใดวรรณะหนึ่ง ไม่นิยม นามาจากสองวรรณะ รวมทั้งสีที่ต้องการใช้เป็นสียืนพื้น(เอกรงค์)ด้วย เพราะสีที่อยู่ในด้านหรือวรรณะเดียวกัน จะผสานกลมกลืนกันง่ายกว่า ตัวอย่างเช่น ถ้าเลือกสีมา 6 สีจากวงจรสีคือ เหลือง ส้ม แสด แดงชาด แดงเลือด นก และม่วงแดง เมื่อนักเรียนจะทาเอกรงค์ของสีเหลือง ก็ใช้สีเหลืองเป็นหลักหรือสีเด่น วางจุดใดจุดหนึ่งของ
  • 13. 13 ภาพแล้วนาสีอื่นๆข้างต้นมาลดค่าหรือความสดใสลง(neutralized) โดยการนาเอาสีตรงข้างของแต่ละคู่มาผสม ลงไปพอสมควร เมื่อจะระบายก็นาเอาสีเหลืองที่เป็นสียืนพื้นเข้ามาผสมด้วยเล็กน้อยก็จะได้สีเอกรงค์ของสี เหลืองตามที่เราต้องการการสร้างสรรค์งานศิลปะด้วยสีเอกรงค์นี้จะได้ผลงานที่งดงาม เพราะโครงสร้างสีจะดู ไม่รุนแรง เพราะว่าจะมีมีเรื่องสีตัดกันเข้าไปผสม และสีแต่ละวรรณะก็ไม่เข้าไปปะปนซึ่งกันและกัน นับว่าเป็น งานศิลปะที่มีโครงสร้างประณีต ผลงานชิ้นเด่นๆของโลกก็ใช้วิธีการนี้เช่นกันข้อดีอีกอย่างหนึ่งของสีเอกรงค์คือ โครงสีจะละเมียดละไม ไม่เบื่อง่ายเหมือนกับการใช้สีหลายสีมา ผสมผสานกัน 4. สีส่วนรวม หรือสีครอบงาหมายถึงสีใดสีหนึ่งที่มีจานวนมากกว่าสีอื่นในพื้นที่หรือภาพนั้นๆ เช่น ภาพต้นไม่ที่เรามองเห็นเป็นสีเขียว แต่ความจริงแล้วในสีเขียวของต้นไม้นั้นอาจมีสีอื่นประกอบอยู่ด้วยเชน่ สี เขียวอ่อน สีเหลือง สีน้าตาล เป็นต้น งานจิตรกรรมทั้งแนวปัจจุบันและสมัยใหม่ล้วนแล้วแต่ต้องใช้อิทธิพลของ สีส่วนรวมเข้าไปเกี่ยวข้องทั้งสิ้น แม้ว่าสีอื่นจะเด่นชัดในบางส่วนของภาพก็ตาม สีส่วนรวมหรือสีครอบงานี้ จะ ช่วยทาให้ภาพมีเอกภาพ และสมบูรณ์ขึ้น ตัวอย่างเช่น ภาพเขียนของศิลปินชาวอิตาเลี่ยนสมัยโบราณ มักจะใช้ สีเหลืองหรือสีน้าตาลเป็นสีครอบงาทั้งหมดภายในภาพแทบทุกชิ้น ทั้งนี้ไม่จากัดเฉพาะสองสีที่ยกตัวอย่างมา เท่านั้นอาจเป็นสีกลุ่มอื่นๆได้ ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้สร้างสรรค์ สีครอบงาหรือสีส่วนรวม อาจจาแนกได้สองประการคือ ประการแรก ครอบงาโดยมีสีใดสีหนึ่งแผ่กระจายเต็มภาพ เช่นภาพทุ่งหญ้า ซึ่งแม้จะมีสีอื่นๆของพวก ดอกไม้ ลาต้น ก็ตามแต่สีส่วนรวมก็ยังเป็นสีเขียวของทุ่งหญ้าอยู่นั่นเอง เราเรียกสีครอบงาหรือสีส่วนรวมของ ภาพคือสีเขียวนั่นเอง ยกตัวอย่างง่ายๆอีกประการเช่นเวลาเราดูฟุตบอลที่แข่งกันในสนาม จากมุมสูงๆเราจะ เห็นสีส่วนรวมเป็นสีเขียวครอบงาอยู่ถึงแม้จะมีสีอื่นๆของนักกีฬาอยู่ก็ตาม ก็ถูกอิทธิพลของสีเขียวข่มลงจน หมด ภาพ 2.5 สีส่วนรวมที่มีสีใดสีหนึ่งแผ่กระจายเต็มภาพ ประการที่สอง การครอบงาของสีที่เกิดขึ้นระหว่างสี เช่น ถ้าเรานาเอาสีแดงและสีเหลืองมาระบาย เป็นจุดๆบนกระดาษสลับกันเต็มไปหมด เมื่อดูกระดาษนั้นในระยะห่างพอสมควรเราจะเห็นสองสีนั้นผสมกัน กลายเป็นสีส้ม หรือเช่นเดียวกับการที่เราเขียนภาพด้วยสีหลายๆสีแล้วเมื่อดูรวมๆแล้วกลายเป็นสีที่ผสมออกมา เด่นชัด เช่นต้นไม้ ประกอบด้วยสีเหลือง น้าตาล ดา เขียวแก่เขียวอ่อน แต่เมื่อดูห่างๆก็กลับกลายเป็นสีเขียว
  • 14. 14 5. ระยะของสี เมื่อกล่าวถึงระยะของสี นั้นก็หมายรวมถึงระยะใกล้ของแสงเงาที่เกิดแก่วัตถุนั้นๆด้วย ซึ่งหลักการของน้าหนักใกล้ไกลของวัตถุคือ วัตถุที่ใกล้ตา แสงเงาจะสว่างจัดชัดเจน และเมื่อระยะไกลออกไป ทั้งแสงและเงาก็จะจางลงไปด้วย ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะระยะไกลนั้นจะมีเรื่องของบรรยากาศเข้ามากรองทั้งแสง และเงาให้จางลง ระยะยิ่งไกลออกไปแสงเงายิ่งจางไปจางไป จนกลายเป็นภาพแบนราบ ตัวอย่างเช่นภาพเขียน ทิวทัศน์ที่มีฉากหลังเป็นทิวเขา เราจะเห็นว่าทิวเขานั้นจะเป็นสีจางๆแบนๆไม่มีแสงเงาเพราะถูกบรรยากาศเข้า มาเกี่ยวข้องระยะใกล้ไกลของสี (Perspective of Color) มีหลักเกณฑ์ที่พอสรุปได้ดังนี้ 1. วัตถุที่มีสียิ่งไกลออกไป สีของวัตถุก็ยิ่งใกล้เป็นสีกลางเข้าไปทุกที 2. น้าหนักของวัตถุที่มีสี เมื่อไกลออกไป ก็ยิ่งจางลงกลายเป็นสีกลางและ น้าหนักก็อ่อนลงด้วย ถ้ามี ส่วนที่เป็นแสงสว่าง ก็จะมืดมัวลง เงาก็จะจางลง และค่อยๆปรับลงจนไม่มีน้าหนัก 3. วัตถุที่มีสีตามระยะใกล้ไกล แสงเงาแสงเงาจะมีลักษณะดังตัวอย่าง เช่น พุ่มไม้ที่มีสีเหลืองเขียวที่มี พืชปกคลุมเมื่อถูกแสงจัดๆ เงาจะออกไปทางสีม่วงแดง เมื่อระยะไกลออกไปเงาจะเป็นสีที่ค่อนไปทางน้าเงิน และเมื่อไกลจนเห็นระยะลิบๆ เงาจะกลายเป็นสีเขียว 6.การนาความรู้เรื่องสีไปใช้ หลังจากที่นักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีสีมาแล้วในส่วนของเนื้อหา ต่างๆ ในส่วนนี้ขอนาเสนอเกี่ยวกับการนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปใช้โดยสรุปและการนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน 1. การใช้สีในสถานที่มืดและสว่าง การจะเลือกใช้สีสาหรับตกแต่งภายในบ้านหรือสถานที่ต่างๆนั้น ประการแรกต้องคานึงถึงก่อนว่าห้องนั้นได้รับอิทธิพลของแสงสว่างจากภายนอกเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยหรือเปล่า เพราะว่าถ้าห้องนั้นๆมีแสงสว่างส่องถึงมากๆก็ควรใช้สีที่ลดความสดใสลงหรือสีกลางๆ(neutralized tints) เพื่อจะได้ดูสบายตา นุ่มละมุน หากเราใช้สีที่สว่าง จะดูไม่เหมาะสม ขณะเดียวกันหากห้องนั้น ได้รับแสงจาก ภายนอกน้อยเราต้องใช้สีที่สดใส กระจ่ายช่วยในการตกแต่งเพราะห้องจะได้ไม่ดู ทึม มืดทึบ ทาให้รู้สึกหดหู่ หลักการนี้ได้เกิดขึ้นมานานแล้วยกตัวอย่างเช่นภาพเขียนบนผนังของชาวอียิปต์ ซึ่งก็ทราบกันดีอยู่แล้วว่าผนัง ภายในสิ่งก่อสร้าง ของชาวอียิปต์นั้นแสงสว่างผ่านเข้าไปได้ น้อยมากดังนั้นชาวอียิปต์นิยมใช้สีที่สดใสสว่างใน การสร้างสรรค์ภาพ การเขียนภาพด้วยสีทีสดใสในที่สว่างน้อยนั้น จะทาให้ภาพเขียนสว่างพอดีตามต้องการ เพราะความมืดของบรรยากาศรอบๆอันเป็นสีกลางเข้ามามีบทบาททาให้สีที่สดใสลดความสดใสลงไปเอง แต่ถ้า ต้องการวางโครงสีให้สว่างมาก ควรวางโครงสีให้มีความผสานกลมกลืนในจุดพอดี เพราะแสงสว่างไม่ทาให้ดุลย ภาพของสีเสียไปแต่อย่างใด 2. การใช้โครงสีสาหรับกลางแจ้ง การนาหลักการด้านโครงสร้างสีไปใช้ ในสถานที่กลางแจ้ง นั้นมี หลักการที่ตรงกันข้ามกับประเภทแรก งานสถาปัตยกรรมแถบประเทศทางตะวันออกเช่นสถาปัตยกรรมไทยมัก มุงหลังคาบ้านด้วยสีสดใสเช่น แดง เขียว เหลือง น้าเงินท่ามกลางสภาพอากาศที่แดดจัดจ้าน ร้อนแรง ซึ่งก็ดู สดใสงดงาม เข้ากับสภาพแวดล้อม แต่หากเป็นบ้านเรือนในแถบยุโรป ซึ่งบรรยากาศของเขา ทึมๆ ไม่กระจ่าง อย่างแถบบ้านเรา หากใช้สีที่สดใสจะดูไม่น่ามอง บาดตา โดดออกมาจากสภาพแวดล้อม ดังนั้นควรเลือกใช้สีที่ ลดความสดใส ลงจะทาให้น่าดูและกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม