SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
รักประชาชนรักหมออนามัย
วารสารหมออนามัย ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๓ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๖ ISBN ๐๘๕๘-๒๙๑๒

E-Book
---->>>

	

Editor’Talk

	

ครับ...ปีใหม่ก็มาเยือนอีกครั้งหนึ่งแล้ว สำ�หรับปีม้า
2557 ที่จะถึงนี้ ซึ่งหลายต่อหลายคน ก็คงรอคอยและคาด
หวังว่าจะมีสงใหม่ๆเกิดขึน โดยเฉพาะกับประเทศชาติของเรา
ิ่
้
ซึ่งคุกรุ่นอยู่ด้วยความขัดแย้งที่สั่งสมกันมา มีคำ�พูดที่น่าสนใจ
ของนักปราชญ์ท่านหนึ่งกล่าวว่า “ถ้าท่านไม่ได้เป็นส่วนหนึ่ง
ของการแก้ปญหา ก็เท่ากับว่าท่านเป็นส่วนหนึงของตัวปัญหา
ั
่
ด้วย” พวกเราก็คงจะต้องอดทนและอดทน เพือรอคอยให้การ
่
เปลี่ยนแปลงใหม่ๆมาถึง......
	
ฉบับนีมเี รืองการตรวจสอบของสำ�นักงานการตรวจเงิน
้ ่
แผ่นดิน ที่ทำ�บันทึกถึงกระทรวงสาธารณสุขในเรื่องการตรวจ
สอบการดำ�เนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล
(รพสต.) ซึงมีเรืองประเด็นน่าสนใจติดตามหลายเรือง แถมด้วย
่ ่
่
เรื่องความก้าวหน้าของสภาวิชาชีพสาธารณสุขที่ต่อเนื่องจาก
ฉบับที่แล้ว ส่วนเรื่องอื่นๆก็เข้มข้นเหมือนเดิมนะครับ
	
ในวาระดิถีขึ้นปีใหม่ 2557 นี้ ขอให้ชาว รพสต.-หมอ
อนามัย ของเราทุกท่านจงประสบแต่ความสุขความเจริญ หวัง
สิ่งใดก็ขอให้ได้ประสบสมใจปรารถนาทุกอย่างด้วยเทอญ

Contents
3. อนาคตของการสาธารณสุขไทยสำ� หรับ
ศตวรรษที่ ๒๑
6.เงินแผ่นดินนั้นคือเงินของประชาชน
ทั้งชาติ

7. เทคนิคการจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบาย
11. การตรากฎหมายวิชาชีพสำ�เร็จ :
ผลกระทบในช่วงเริ่มต้นของวิชาชีพการ
สาธารณสุขชุมชน

			นพ.วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ

	

---->>>

หมออนามัย 2
อ น า ค ต ข อ ง ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ไ ท ย สำ � ห รั บ ศ ต ว ร ร ษ ที่

๒๑

นายแพทย์ ชูชัย ศรชำ�นิ

สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

	
การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ ๒๑ ที่เทคโนโลยี
พัฒนาก้าวกระโดด เชื่อมโยงประเทศและระบบต่างเข้าหากัน
ไม่ว่าจะเป็นระบบเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ระบบการค้าโลก
การเดินทางท่องเที่ยวติดต่อกันของพลเมือง การคมนาคมและโล
จิสติคส์ ฯลฯ ทำ�ให้ประเทศต่างๆ และการออกแบบระบบการ
สาธารณสุขของประเทศเหล่านั้น จำ�เป็นต้องมีการปรับตัวเพื่อรับ
กับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
	
สำ�หรับประเทศไทยในช่วง ๑๐ ปี ที่ผ่านมา ถือเป็นช่วง
เวลาที่มีการเปลี่ยนผ่านภายในประเทศอย่างมากเช่นกัน ไม่ว่าจะ
เป็นในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม การปฏิรประบบราชการ
ู
ที่มุ่งสู่ ความมี ประสิทธิภาพ และพัฒนาประเทศเพื่อให้สามารถ
แข่งขันในภูมิภาคและประชาคมโลก การปฏิรูประบบสุขภาพโดย
การจัดตั้งกลไกใหม่ๆ มีรูปธรรมของการปฏิรูประบบสุขภาพโดย
การจัดตั้งกลไกใหม่ๆ ไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งสำ�นักงานกองทุน
สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำ�นักงานหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำ�นักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่ง
ชาติ (สช.) เป็นต้น
	
ปั ญ หาความท้ า ทาย และการออกแบบระบบเพื่ อ ให้
ประชากรมีสุขภาวะดีในศตวรรษที่ ๒๑ สภาพปัญหาสุขภาพและ
ปัจจัยต่างๆ ที่กระทบกับสุขภาพเป็นไปอย่างซับซ้อนกว่าในอดีต
มาก ทั้ง ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม ภาวะโลกร้อน การใช้สารเคมี
มากขึ้น ภัยธรรมชาติท่ีรุนแรงและบ่อยขึ้น (Extreme weather
events) ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม(Social determinant
of health) การมีสัดส่วนของชนชั้นกลางมากขึ้น คนใช้ชีวิต
ในเมืองหรือแบบกึ่งเมืองมากขึ้นทำ�ให้แบบแผนการใช้ชีวิต (Life
style and pattern) เปลี่ยนแปลงไป พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรค เช่น
การบริโภคบุหรี่ พฤติกรรมบริโภคนิยม พฤติกรรมทางเพศ (Unsafe sex) ช่องว่างทางสังคมที่มากขึ้น (Social disparity) ระบาด
วิทยาการเกิดโรค เช่น โรคอุบตใหม่ (Emerging and re-emerging
ัิ
diseases) แนวโน้มของโรคไม่ติดต่อที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น อีก

ทั้งจำ�นวนประชากรที่เพิ่มขึ้น การเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ
(Aging society) การเคลื่อนย้ายประชากรทำ�ให้โรคระบาดแพร่
ได้อย่างรวดเร็ว การขยายตัวของธุรกิจบริการสุขภาพ เช่น ธุรกิจ
การท่องเที่ยว หรือธุรกิจยาอุปกรณ์ตรวจวินิจฉัย ส่งเสริมสุขภาพ
เครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ข้ามชาติ และการดำ�เนินธุรกิจ
เชิงรุกด้วยกลยุทธ์หลากหลายทางการตลาด ตลอดจนยุคของการ
สื่อสารและคมนาคมที่รวดเร็ว ทำ�ให้การคุ้มครองผู้บริโภคด้าน
สุขภาพให้แก่ประชาชน มีความซับซ้อนในการที่จะต้องทำ�ให้ต้อง
มีกลยุทธ์ให้ประชากรเข้าถึงบริการหรือผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพใน
ราคาที่เป็นธรรมและมีความรับผิดชอบ
	
หากพิจารณาจากตัวชี้วัดด้านสถิติชีพมาตรฐานทั่วไป
ประเทศไทยประสบความสำ � เร็ จ ในการพั ฒ นาระบบการ
สาธารณสุขมาอย่างต่อเนื่องได้ดี เช่น คุณภาพชีวิตการเป็นอยู่
ของประชากรดีขึ้น มีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกคลอด (Life expectancy at birth) ยืนยาวขึน อัตราตายคลอดลดลง การได้รบวัคซีน
้
ั
ครอบคลุม สภาพแวดล้อมสุขาภิบาลในบ้านดีขนมีสวมครบถ้วน ที่
ึ้ ้
ทำ�งานมีการจัดการสุขาภิบาลที่อยู่ในระดับที่ดี มีมาตรการความ
ปลอดภัยในการใช้ยานยนต์ ความเข้มแข็งและการกระจายของ
หน่วยงานสาธารณสุข หมออนามัยและอาสาสมัครสาธารณสุข
ประจำ�หมู่บ้านที่กระจายอยู่ทั่วประเทศเกือบ ๑ ล้านคนซึ่งช่วย
สนับสนุนการพัฒนาสุขภาพหลายประเด็นในอดีตที่ผ่านมา ฯลฯ
อย่างไรก็ดีระบบการสาธารณสุขของประเทศไทย ก็ต้องเผชิญกับ
เรื่องราวใหม่ เช่นการจัดการกับการบาดเจ็บจากสาเหตุการบาด
เจ็บที่หลากหลาย การเจ็บป่วยเรื้อรังที่ต้องการการดูแลตั้งแต่เริ่ม
เกิดอาการจนถึงบั้นปลายของชีวิต (Chronic care model and
end of life care) การจัดการกับปัญหาความไม่เท่าเทียมกันหรือ
ความเหลื่อมล้ำ�ของการเข้าถึงบริการคุณภาพของประชากรกลุ่ม
ต่างๆ การจัดการป้องกันโรคส่งเสริมสุขภาพสำ�หรับแรงงานหรือ
ผู้ย้ายถิ่นฐาน การจัดสภาพแวดล้อมสำ�หรับที่ทำ�งานที่มีลักษณะ
ของงานที่แตกต่างออกไป
หมออนามัย 3
เห็นได้ว่าในการพัฒนาที่ผ่านมา การที่จะทำ�ให้ประชากร
มีสขภาพดีมชวตยืนยาว ได้มการทุมเททรัพยากรและการออกแบบ
ุ
ีีิ
ี ่
ต่างๆ ไปที่การรักษา การพัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์ ใน
ขณะที่อีกด้านหนึ่งคือการลงทุนเพื่อพัฒนา “การสาธารณสุข”
ยังมีสัดส่วนที่น้อยและต้องการการผลักดันออกแบบให้รองรับกับ
สถานการณ์ของศตวรรษที่ ๒๑ ของประเทศไทย
ผู้ มี บ ทบาทใหม่ ๆ ในการพั ฒ นา “ระบบการสาธารณสุ ข ”
สำ�หรับศตวรรษที่ ๒๑
	
ประสบการณ์ความสำ�เร็จที่ผ่านมา ของการพัฒนาระบบ
การสาธารณสุขโดยหน่วยงานภาครัฐ โดยการผลักดันจากภาค
สถานบริการ เป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้ว่า กระทรวงสาธารณสุขโดย
การบริหารแบบราชการส่วนกลางเป็นผูมบทบาทสำ�คัญในการผลัก
้ี
ดัน
	
อย่างไรก็ตาม ด้วยพลวัตรของการเปลี่ยนแปลง ทำ�ให้
เกิดแนวคิดว่า การปกป้องสุขภาพประชาชนและการส่งเสริมให้
ประชาชนอยู่ดีมีสุข (Protect and promote health and wellbeing) จะต้องมี “ผู้เล่นหลากหลายที่แข็งขัน” เข้ามาร่วมกันด้วย
คือมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของการสาธารณสุข (Public
health infrastructure)
	
ด้วยเทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ของระบบการเฝ้าระวังภาวะ
คุกคามและความเสียงด้านสุขภาพของประชาชนทีเ่ ป็นไปตามเวลา
่
จริง (Real time surveillance and epidemiological systems)
โดยเฉพาะทีผานช่องทางใหม่ๆ ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
่่
สื่อสาร เครือข่ายทางสังคม
	
ด้วยการจัดการศึกษา ระบบการฝึกอบรม การสร้างงาน
วิจัย และการสร้างหมออนามัย (Public health workforce
training and reinforcements) สายพันธุ์ใหม่ มีสถาบันทาง
วิชาการด้านสาธารณสุขที่ผลิตนักศึกษา นักวิจัย งานวิจัยด้านการ
สาธารณสุขที่ครอบคลุม เข้มแข็ง
	
ด้วยการจัดการเกี่ยวกับห้องปฏิบัติการ รวมทั้งโลจิสติค
ของการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง (Laboratory capacity) ทีเชือมโยงและเป็นพันธมิตรกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ
่ ่
กับเอกชน (Public Private Partnership) เพื่อการทำ�การตรวจ
ชันสูตรที่ครอบคลุมมากขึ้น เพื่อความรวดเร็วในการลงทุนภาครัฐ
และเพื่อการควบคุมคุณภาพของระบบห้องปฏิบัติการเพื่อการ
สาธารณสุข

	
ด้วยการสร้างเครือข่ายทางสังคมและการสื่อสารสังคม
(Communicate network) ทั้งเครือข่ายทางสังคมที่พบหน้ากัน
เป็นกลุ่ม (Group social network) และเครือข่ายสังคมออนไลน์
(Mobile devices health)
	
ด้วยสร้างความเข้มแข็งของระบบเตรียมพร้อมรับและตอบ
สนองต่อภาวะฉุกเฉินและภัย (Preparedness and emergency
response capabilities) และ
	
ด้วยการสร้างกลไกให้ชมชนสามารถเข้าถึงบริการด้านการ
ุ
สาธารณสุขทีส�คัญและจำ�เป็นต่อชุมชนอย่างนยังยืน (Communi่ำ
่
ties access to essential public health services)
	
สถาบันสุขภาพแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา ได้เสนอ 6 ผู้
เล่นในระบบการสาธารณสุขสำ�หรับศตรวรรษที่ ๒๑ โดยมีหน่วย
งานของรัฐเป็นแกนกลางประสานการพัฒนาให้เป็นเอกภาพระดับ
ชาติ ซึงสามารถดัดแปลงประยุกต์ได้ส�หรับระบบการสาธารณสุข
่
ำ
ไทยได้ดังแผนภาพที่ ๑
แผนภาพที่ ๑ ระบบการสาธารณสุข : รัฐและหุ้นส่วนที่มี
ศักยภาพ
รัฐ
และหน่วย
ภาครัฐ

หน่่วย
งานด้านวิชา
การสาธารณสุข

ชุมชน
อาสาสมัคร
จิตอาสา

ร่วม
สร้างเงื่อนไข
ความมั่นใจแก่
“สุขภาวะประชาชน”
ในศตวรรษที่
21

สื่อ
องค์กรและ
เครือข่าย
สังคม

ภาค
บริการสุขภาพ

และการส่งมอบบริการ
สาธารณสุข

เจ้า
ของกิจการ
และธุรกิจ

ทีมา ดัดแปลงจาก The Future of the Public’s Health (IOM, 2002)
่

ข้อคิดเห็นสำ�หรับอนาคตระบบการสาธารณสุข
เมื่อได้ทบทวนรายงานและเอกสารที่เกี่ยวข้องแล้ว การพัฒนา
ระบบการสาธารณสุขเพื่อรองรับกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
และอนาคตของศตวรรษที่ ๒๑ (และเพือทีจะให้กาวขึนมาทัดเทียม
่ ่
้ ้
กับระบบบริการทางการแพทย์) น่าจะมีดังนี้
หมออนามัย 4
1.พัฒนาและใช้ประโยชน์ ควรจะต้องมีคณะทำ�งาน หรือ
งานวิจัย หรือวิจัยและพัฒนา อย่างจริงจัง เพื่อ
การทบทวนพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และ
การใช้ประโยชน์จากพระราชบัญญัติการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ.
๒๕๕๖
	
2.ยกระดับ สมรรถนะ ความรู้ ทักษะ และความสามารถใน
การจัดการด้านการสาธารณสุขของบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับ
ทั้งภาครัฐ และที่ปฏิบัติงานอยู่ในสถานประกอบการภาคเอกชน
และมีการยกเครื่องหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์บัณฑิต มาตรฐาน
การฝึกอบรม การศึกษาต่อเนืองด้านวิชาการระบบการสาธารณสุข
่
และการบริหารระบบสาธารณสุข
	
3.ลงทุน ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน องค์กรชุมชน
่
เครือข่ายภาคประชาชน กิจการเพื่อสังคม (Social enterprise)
กิจกรรมเพื่อสังคม (Corporate social enterprise) เพื่อให้มี
โครงสร้างพื้นฐาน และ เทคโนโลยีด้านการสาธารณสุขที่ทันสมัย
เข้มแข็ง ถ้วนหน้าทุกท้องถิ่น
	
4.ส่งเสริมและผลักดัน ให้ชุมชนและเครือข่ายมีบทบาท
มีกจกรรมเชิงรุกและเสนอโครงการเพือจัดการสุขภาพและจัดการ
ิ
่
การสาธารณสุขในพื้นที่ของตนเองอย่างกว้างขวาง จริงจัง (Community-led health initiative, engagement, and leadership)
	
5.เชื่อมโยง ระบบการสาธารณสุขเข้ากับระบบบริการ
สุขภาพ โดยเฉพาะหน่วยบริการ และสถานบริการสุขภาพปฐมภูมิ
ในประเด็น
	
- การดูแลผู้สูงอายุ (Active living aging society) ผู้
พิการ (Community based rehabilitation) ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้
ที่เจ็บป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต (Comprehensive end of life
care)
	
- การดูแลผู้ได้รับผลกระทบจากปัจจัยบ่งชี้สุขภาพอัน
เนื่องมาจากสังคม (Social determinant of health) การจัดการ
ปัญหายาเสพติด การจัดการกับปัญหาสารพิษสารปนเปื้อนจาก
อาหารและยาจากการเกษตรจนก่อโรคแก่ประชาชน การดูแล
สุขภาพและส่งเสริมพัฒนาการแก่เด็กเล็ก เด็กและเยาวชน การ
ดูแลต่อเนื่องสำ�หรับผู้ที่อยู่ในวัยทำ�งานวัยเจริญพันธุ์
	
- การเตรียมพร้อม (Preparedness) และการดูแลในระยะ
เฉียบพลัน และในระยะฟืนฟูตอเนือง สำ�หรับผูได้รบผลกระทบจาก
้ ่ ่
้ ั
ภัยทางธรรมชาติ ภัยอันเนื่องจากมนุษย์ ภัยในสถานประกอบการ

ภัยในอาคารสูงหรือชุมชนแออัด
	
- การจัดการทางการเงิน ทีเ่ ชือมโยงบริการด้านการแพทย์
่
เข้ากับการจัดการโรคอย่างต่อเนื่องที่บ้าน และที่ในชุมชน
	
6.เป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ กับองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น อสม. ในพื้นที่ และหน่วยงานสถานประกอบการในพื้นที่
ในการสร้างความเข้มแข็งกำ�หนดแผนทีทางเดินยุทธศาสตร์สขภาพ
่
ุ
ระดับท้องถิ่น เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ป้องกันและ
รับมือกับการบาดเจ็บ ทังแบบดังเดิมและรูปแบบโรคและการบาด
้
้
เจ็บแบบใหม่ๆ
	
7.สื่ อ ใหม่ แ ละเครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ การ
สาธารณสุ ข การพั ฒ นาอย่ า งก้ า วกระโดดของเทคโนโลยี
สารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสารและมีการใช้ส่ือดิจิตอลด้วย
อุปกรณ์สื่อสารพกพาติดตัว อย่างกว้างขวางของประชาชน ก่อ
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของประชาชนทั้งในแง่ การ
บริโภคสินค้าและบริการทุกประเภทรวมทั้งด้านสุขภาพ, การใช้
ชีวตประจำ�วันทังทีเสียงต่อสุขภาพและไม่เสียง, การสือสารกันเอง
ิ
้ ่ ่
่
่
ทังทีถกต้องและไม่ถกต้องอันเป็นการไม่คมครองผูบริโภคด้านการ
้ ู่
ู
ุ้
้
สาธารณสุข ดังนันนักการสาธารณสุขยุคใหม่ ต้องสร้างให้เกิดความ
้
รู้สึกผูกพัน (Engagement) ให้ได้ กับ เครือข่ายสื่อทางการ สื่อ
ทางเลือก ผู้ผลิตรายการ บรรณาธิการผู้เขียนข่าว นักข่าวพลเมือง
และเครือข่ายสือสังคมออนไลน์ ทังนีเพือให้ได้ประโยชน์ทงในการ
่
้ ้ ่
ั้
ให้ความรูดานการสาธารณสุขและสุขภาพ (Health knowledge)
้้
การชี้นำ�เพื่อปรับเปลี่ยนสุขภาพ (Healthy behavior) การส่ง
เสริมสุขภาพ (Health promotion) และ การผลักดันนโยบาย
สาธารณะเพื่อสุขภาพ (Healthy public policy) ได้ในวงกว้าง
อย่างรวดเร็ว
เอกสารที่ใช้ประกอบการอ้างอิง

ACTIVE AGEING: TOWARDS AGE-FRIENDLY PRIMARY HEALTH CARE. World
Health Organization 2004.
The Future Of The Public’s Health in the 21st Century. ดาวน์โหลดจาก NAP
home page at www.nap.edu. เมื่อ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๖.
Primary Health Care – Now More Than Ever. The World Health Report 2008.
บทสังเคราะห์ขอเสนอบทบาทกระทรวงสาธารณสุขในศตวรรษที่ ๒๑. นพ.พงษ์พสทธิ์ จง
้
ิุ
อุดมสุข, ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ และ สายศิริ ด่านวัฒนะ บรรณาธิการ. สถาบันวิจย
ั
ระบบสาธารณสุข (สวรส.) กันยายน ๒๕๕๔.

หมออนามัย 5
เงินแผ่นดินนั้น คือ เงินของประชาชนทั้งชาติ
นพ.วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ
	
หัวข้อที่จั่วไว้ข้างบนนั้น คือ คำ�ขวัญที่สำ�นักงานตรวจเงิน
แผ่นดิน (สตง.) ใช้เป็นปรัชญาหลักของหน่วยงานในการดำ�เนิน
กิจการของสตง. เอกสารทุกหน้าที่สำ�นักงานตรวจเงินแผ่นดินใช้
ในราชการ จะมีคำ�ขวัญดังกล่าว ซึ่งเป็นพระบรมราโชวาทของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พิมพ์อ้างอิงไว้
	
แปลเป็นภาษาชาวบ้านง่ายๆว่าเงินของหลวงนัน มาจาก
้
เงินภาษีอากรของชาวบ้าน จงใช้จ่ายอย่างประหยัด คุ้มค่า และ
อย่าให้รั่วไหล
	
ในปี 2556 สตง.ได้ดำ�เนินการตรวจสอบการดำ�เนินการ
ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล (รพ.สต.) พบปัญหาทีอยาก
่
ฝากให้พี่น้องชาวรพ.สต.รับทราบ และพึงสำ�เหนียกไว้ให้มีความ
ระมัดระวังและใส่ใจในการปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
	
1. ข้อมูล OP visit 2 แหล่งไม่ตรงกัน (ผลสรุปของสสจ.
กับส่วนที่บริการจริง ที่หน่วยบริการไม่ตรงกัน)
	
2. ข้อมูลจำ�นวนผูได้รบการคัดกรองเบาหวาน / ความดัน
้ ั
มีจำ�นวนสูงกว่าแบบคัดกรองของพื้นที่
	
3. ครุภณฑ์การแพทย์ และครุภณฑ์ส�นักงานบางรายการ
ั
ั ำ
ไม่มีการใช้ประโยชน์ การบันทึกทะเบียนคุมครุภัณฑ์ไม่ครบถ้วน
ติดหมายเลขครุภัณฑ์ไม่ครบถ้วน
	
4.ปัญหาการใช้งานและการบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรม
พื้นฐาน
	
5. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อปรึกษาบริการทางการ
แพทย์และสาธารณสุข (เฉพาะที่ซึ่งมีติดตั้ง) ไม่ได้ใช้ประโยชน์
	
6. การบริหารจัดการคลังเวชภัณฑ์ไม่ถูกต้อง ครบถ้วน
	
	
ผมคิดว่าข้อที่ชาวรพ.สต.น่าจะให้ความสำ�คัญมากเป็น
พิเศษ คือ ข้อ 1 และ 2 เพราะข้อมูลที่คลาดเคลื่อนทั้ง 2 ประเด็น
นั้น มีผลต่อการเบิกจ่ายเงิน ซี่งถ้ามีเรื่องเงินเป็นประเด็นเมื่อไหร่
เรื่องนั้นจะ “เข้าทาง” สตง.ทันที

	
ข้อมูลจากผูใกล้ชดวงใน รายงานมาว่า การเข้าตรวจสอบ
้ ิ
โดยเจ้าหน้าที่ของสตง.ที่ระดับ รพ.สต.นั้น มีน้อยมากๆ (เรียกว่า
เฮงจริงๆถึงจะโดนตรวจ) เพราะทางสตง.มีบุคคลากรไม่เพียงพอ
ทราบมาว่าแม้กระทังสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดบางแห่งในรอบ
่
10 ปี ไม่เคยโดนสตง.เข้าตรวจเลย....เข้าข่ายว่างเว้นมานาน....
	
แต่อย่างไรก็ดี ผมทราบมาว่า ทางสตง.ได้จัดโครงสร้าง
การบริหารราชการส่วนภูมิภาคใหม่ ทำ�ให้มีการแบ่งองค์กรเป็น
ระดับเขตที่ซอยย่อยขึ้น จากเดิมสำ�นักงานตรวจเงินแผ่นดินภาค
อุดรดูแล 7 จังหวัด ของใหม่จะดูแลแค่ 3-4 จังหวัด พูดง่ายๆคือ
สตง.เพิ่มกำ�ลังและบุคลากร
	
การเข้าตรวจของสตง.ที่ รพ.สต.นั้น อาจเป็นไปได้ใน
3 ลักษณะ คือ
	
1. สุมตรวจซอยย่อยลงไปจากระดับจังหวัดสูอ�เภอ จาก
่
่ำ
อำ�เภอสู่ตำ�บล
	
2. ตรวจการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้อง
ถิน และย่อยไปทีหน่วยงานย่อยต่างๆทีรบงบจากท้องถินอีกที (อัน
่
่
่ั
่
นี้เริ่มเข้าไปเกี่ยวกับเงินทองกองทุนสร้างเสริมสุขภาพระดับตำ�บล
แล้วนะครับ)
	
3. มุ่งตรงไปที่ รพ.สต.เลย ข้อนี้มีคนบอกว่าเกิดได้หลาย
ปัจจัย เช่น ตรวจตามแผนงานโครงการเฉพาะ (เช่น โครงการไทย
เข้มแข็งของรัฐบาล เป็นต้น) อีกเหตุหนึงคือ มีการร้องเรียน พร้อม
่
ด้วยเอกสารหลักฐานที่ดูแล้วมีมูล
	
ผมอยากฝากให้พี่น้องชาวหมออนามัยทุกท่าน ได้โปรด
ใส่ใจกับประเด็นทั้ง 6 ที่สตง.ตั้งข้อสังเกตุในรอบนี้ จากเอกสารชี้
แจงผการตรวจสอบ ฉบับที่ ตผ 0017/5600 ลงวันที่ 18 ตุลาคม
2556 ที่ผ่านมานี้ ทางสตง.มีข้อเสนอให้กระทรวงสาธารณสุข
กำ � หนดมาตรการให้ ก ระทรวงและสสจ.ดำ � เนิ น การแก้ ไขข้ อ
บกพร่องดังกล่าวที่เกี่ยวโยงกับรพ.สต. ถึง 13 ข้อด้วยกัน ซึ่งพวก
เราพึงสำ�เหนียกและใส่ใจระแวดระวังไว้ก็จะเป็นประโยชน์ยิ่ง
หมออนามัย 6
ปริญญา ระลึก

เทคนิคการจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบาย
: บทความเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน

เกริ่น
นำ�

หลังจากทบทวนถึงการใช้ชีวิตและกิน
เงินเดือนจากภาษีประชาชนก็เกิน 25
ปีไปแล้ว คิดว่าถึงเวลาต้องเขียนเรือง
่
เพื่ อ ย่ อ ประสบการณ์ ก ารทำ � งาน
ของหมออนามัยคนหนึ่งตั้งแต่เคย
ทำ�งานที่สถานีอนามัย โรงพยาบาลชุมชน สำ�นักงานสาธารณสุข
จังหวัด สำ�นักตรวจราชการกระทรวง และสำ�นักงานหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ มาแลกเปลี่ยนมุมมองซึ่งกันและกัน เรื่องราวที่
ว่านี้เป็นเพียง“เทคนิคส่วนตัว” ที่เป็นวิชาที่เรียนรู้จากชีวิตจริง
เท่านั้น..
เรื่องราวเมื่อปี 2545 ที่สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่ง
เป็นองค์กรตั้งใหม่กับงานที่รับผิดชอบทั้งงานประจำ�กับงานอื่นๆ
ที่ได้รับมอบหมาย ทำ�ให้ผู้เขียนได้มีโอกาสทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบาย
หลายเรื่องอยู่เรื่อยๆ เช่น
	
- ข้อเสนอเชิงนโยบาย เรื่องการจัดการวัณโรคในระบบ
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (ปี 2549)
	
- ข้อเสนอเชิงบริหาร เรื่อง การจัดตั้งศูนย์บริหารระบบ
ทะเบียนของ สปสช. (ปี 2549)
	
- ข้อเสนอเชิงนโยบายให้ยกเลิกการจำ�กัดการคุมครองเจ็บ
้
ป่วยฉุกเฉินไม่เกิน 2 ครั้งต่อปี ต่างหน่วยบริการ (ปี 2549-2550)
	
- ข้อเสนอเชิงนโยบาย การขยายขอบเขตสิทธิประโยชน์
กรณีการให้สารทดแทนยาเสพติดชนิดฉีดหรือ Methadone
Maintenance Therapy (ปี 2549-2550)
	
- ข้อเสนอเชิงนโยบายการยกเลิกการจำ�กัดความคุมครอง
้
การคลอดไม่เกิน 2 คน กรณีบุตรมีชีวิตอยู่ (ปี 2551)
	
ข้อเสนอเชิงนโยบายการให้หลักประกันสุขภาพสำ�หรับ
บุคคลที่รอพิสูจน์สถานะ (ปี 2552)

	
ข้อเสนอเชิงนโยบายหรือข้อเสนอเชิงการบริหารแต่ละ
เรื่องมีเงื่อนไข บรรยากาศแตกต่างกันไปมีทั้งสนุก ทั้งเหนื่อย แต่
คิดในเชิงบวกเสมือนหนึงเป็นวัยรุนเดินท่องยุทธภพไปเจอจอมยุทธ์
่
่
ฝีมือเลิศด้านเพลงกระบี่บ้าง เพลงทวน เพลงมีดสั้นบ้าง ได้เรียนรู้
และแอบขโมยวิชาบ้างตอนทีเผลอ มีโอกาสสังเกตท่าทีของจอม
ยุทธ์แต่ละแบบ แล้วมาฝึกปรือให้เป็นมวยขึ้นชกตามงานวัดก่อน
แล้วขยับเข้าเวทีในเมืองใหญ่ ยอมเจ็บตัวมากบ้าง น้อยบ้าง ชนะ
เสมอ แพ้คะแนน แพ้น็อคก็มี ชีวิตมันก็เป็นแบบนี้เอง ข้อเสนอ
บางเรื่องทำ�เสร็จแล้วมีคนซื้อทันที บางเรื่องมีคนนั่งรอตั้งแต่ยังไม่
เสร็จ บางเรื่องถูกลูกค้าต่อว่าและให้เอากลับมาหาข้อมูลอ้างอิง
เพื่อให้เป็นที่ประจักษ์ชัดแจ้ง หรือให้มันมี evidence base เพิ่ม
เติมก่อนมานำ�เสนอใหม่ บางเรืองให้คนอืนเขารับไปทำ�ต่อยอดให้
่
่
สมบูรณ์ขน บางเรืองให้ทบทวนสถานการณ์แล้วส่งให้ผเู้ กียวข้องรับ
ึ้
่
่
ไปจัดการต่อ
องค์ประกอบและแนวทาง
	
การพัฒนาหรือจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบายมีจุดเริ่มต้น
อย่างไร มาทำ�ความเข้าใจกับที่มา ความหมาย และคำ�ถามเบื้อง
ต้นก่อน ผู้เขียนจะยกตัวอย่างจากประสบการณ์จริง มีดังนี้
	
ข้อเสนอ	(ขอยกตัวอย่างตามความเข้าใจของผูเขียนครับ)
้
หมายถึง สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ (Product) ที่ผ่านกระบวนการ
ผลิตอย่างมีระบบ มีระเบียบวิธีน่าเชื่อถือทั้งด้านวิทยาศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ อาจสกัดมาจากรายงานการวิจย การประชุมปรึกษา
ั
หารือ การระดมสมอง การสัมภาษณ์ การเปิดรับฟังความเห็น การ
สำ�รวจความคิดเห็น เป็นต้น
	
ข้อเสนอเชิงนโยบายกับข้อเสนอเชิงการบริหารจัดการ
แตกต่างกันอย่างไร น่าจะแตกต่างที่ระดับความสำ�คัญกับขนาด
ของผลกระทบ ข้อเสนอเชิงนโยบายจะมีผลต่อสังคมและประชาชน
หมออนามัย 7
ในวงกว้างกว่า ส่วนข้อเสนอเชิงการบริหารหรือเชิงการจัดการ ผู้ที่มีอำ�นาจหรือองค์คณะ ที่ส่วนใหญ่จะมีเวลาอ่านไม่มาก ยิ่งสั้น
น่าจะมีขอบเขตผลกระทบภายในองค์กรหรือหน่วยงานใดหน่วย กระชับได้ยิ่งดี
งานหนึ่งเท่านั้น
	
ถัดมาคือการทบทวนผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง (review
literature & evidence base) ขั้นตอนนี้จะชักแม่น้ำ�ทั้ง 5 หรือ
	
เหตุผลสำ�คัญที่ทำ�ให้ต้องจัดทำ�ข้อเสนอ คำ�ถามนี้สำ�คัญ ทั้งสิบมาก็ได้ แต่ขอให้ตรงประเด็น เช่น เรื่องนี้มันเป็นปัญหาที่
เพราะประการแรกเนื่องจากมีความต้องการหรือมีปัญหาหรือมี เรื้อรังมานานแล้ว มีคนวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้แล้วที่พื้นที่นั้นๆ แล้ว
ความไม่ชดเจนหรือความไม่แน่นอนเกิดขึนในระบบ/สังคม/หน่วย แต่ยังไม่ครอบคลุมขอบเขตอื่น มีปัญหาของการเข้าไม่ถึงบริการ
ั
้
งาน/องค์กร จึงต้องมีข้อเสนอเพื่อให้มีทางออกหรือทางเลือกใน พื้นฐาน มีความไม่เสมอภาคและไม่เป็นธรรม มีการริดรอนสิทธิ
การตัดสินใจของผู้มีอำ�นาจ ช่วยให้การตัดสินใจของผู้มีอำ�นาจมี เสรีภาพ มีการขาดช่วงของข้อมูลข่าวสาร มีการกระทำ�ผิดต่อ
ความเป็นวิชาการรองรับจะได้ตัดสินใจแบบไม่มั่ว ประการถัด ระเบียบแบบแผนที่กำ�หนดไว้ซ้ำ�ซากและหรืออื่นๆ อีกมากมาย
มาอาจเนื่องจากความต้องการทำ�ให้ดีกว่าที่เป็นอยู่ ทำ�ให้ดีกว่า แล้วแต่จะสรรหามาได้ ปัจจุบันมีตัวช่วยที่สามารถจัดหาข้อมูลให้
เดิม ต่อยอดการพัฒนาให้ทิ้งห่างคู่แข่งสำ�คัญ ไม่ยอมจมนิ่งกับ ได้ตามที่ต้องการที่รวดเร็ว ทันใจพอสมควรเช่น Google เป็นต้น
ความสำ�เร็จของอดีตและปัจจุบัน เหตุผลนี้อาจมีความเกี่ยวข้อง การทบทวนข้อมูลส่วนนีในข้อเสนอเชิงนโยบายไม่ควรจะยาวมาก
้
กับองค์กรภาคธุรกิจที่มุ่งแสวงหากำ�ไร ในรายละเอียดคงขอข้าม เกินไปเช่นกัน หากมีรายละเอียดมากให้มีช่องให้ตามต่อทางเอก
ไปเพราะผู้เขียนไม่ได้เชี่ยวชาญในด้านนี้แต่อย่างใด และอาจมี สารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
ประการ เหตุปัจจัยอื่นๆ อีกมากมายที่ไม่สามารถนึกถึงได้..
	
ข้อเสนอมีทางเลือกอะไรบ้าง (options หรือ choice หรือ
	
กรอบ สาระสำ�คัญของข้อเสนอ ข้อนีจะเริมลงรายละเอียด alternative) ข้อนีจะเป็นหัวใจทีส�คัญทีสดของข้อเสนอ หลายคน
้ ่
้
่ำ
ุ่
เท่าที่สัมผัสมาส่วนใหญ่ไม่ได้มีการกำ�หนดเป็นพิมพ์เขียวบังคับว่า อาจจะเคยได้ยนคำ�ถามของผูบริหารทีแกล้งทำ�ไม่รไม่ชหลังจากรับ
ิ
้
่
ู้ ี้
ต้องมีองค์ประกอบอะไรบ้าง ตามประสบการณ์ของผู้เขียนที่เคย ฟังปัญหาของลูกน้องอยู่บ่อยๆว่า “ที่พูดมาทั้งหมดต้องการอะไร?
ทำ�วิจัยเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพและวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท มีทางออกอะไรบ้าง? ทางเลือกแต่ละข้อมีข้อดีข้อเสียจุดดีจุดด้อย
เห็นว่าควรจะมีองค์ประกอบซึ่งอาจจะแตกต่างกันไปบ้าง เช่น
อย่างไร? ใช้เงินเท่าไหร่? จากไหน? ผลประโยชน์ที่ประชาชนจะได้
ความเป็นมาและความสำ�คัญของปัญหาหรือปัญหางานวิจัย (re- คืออะไร? จะมอบหมายใครรับไปทำ�ต่อ? จะต้องไปขัดแข้งขัดขาใคร
search questions & questions of research) ข้อนีชดเจนตรงไป เหยียบตาปลาใครหรือเปล่า?” มาเป็นชุดๆ งานเข้าละครับทีนี้พี่
้ั
ตรงมา เพราะปัญหาหรือทุกข์คออะไร ต้องการจะบอกอะไร ปัญหา น้องเอ๋ย
ื
นั้นมีกระทบต่อชีวิต ทรัพย์สิน งบประมาณอย่างไร มีอุปสรรค 	
เป็นธรรมดาทุกคนต้องทำ�หน้าที่ใครหน้าที่มัน เช่น นัก
หรืออาการสำ�คัญที่บิดเบือน เบี่ยงเบนไปจากจากภาวะปกติวิสัย วิชาการก็ต้องทำ�หน้าที่จัดทำ�ทางเลือก ข้อเสนอให้ผู้บริหารได้
อย่างไร มีตวเลขข้อมูลมาแสดงจากไหน หากเป็นข้อมูลทีสามารถ ตัดสินใจและประเมินวัดผลการทำ�งานของผู้ปฏิบัติงานแล้วจัด
ั
่
เทียบเคียงกับระดับโลกหรือภูมิภาคหรือระดับประเทศก็จะเพิ่ม ลำ�ดับ (ranking) ให้ผู้บริหารได้ตัดสินใจจัดสรรทรัพยากร รางวัล
ความน่าสนใจมากขึ้น จากนั้น มาร้อยเรียงให้น่าอ่าน ประเด็นนี้ ความดีความชอบตามผลงาน ส่วนผู้ปฏิบัติงานจะมีหน้าที่ทำ�งาน
มีความสำ�คัญเพราะการเขียนที่ดีเป็นขั้นเป็นตอน เพราะเป็นการ ด้วยวิชาการรองรับและได้รบการดูแลเอาใจใส่ สนับสนุนทรัพยากร
ั
เริ่มต้นจูงใจให้คนอ่านมีความโน้มเอียงและสนใจอยากจะอ่านให้ ที่ เ พี ย งพอจากผู้ บ ริ ห าร สำ � หรั บ ผู้ บ ริ ห ารจะทำ � ตั ด สิ น ใจด้ ว ย
จบ ในงานวิจัยหรือวิทยานิพนธ์อาจจะร่ายยาวพอสมควร เป็น ข้อมูลที่เป็นวิชาการและสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานได้ทำ�งานเต็มที่
ภาคบังคับที่อาจารย์ต้องการให้คนเรียนขยันค้นคว้าหาข้อมูลให้ สอดคล้องสัมพันธ์กันทั้งผู้บริหาร นักวิชาการ ผู้ปฏิบัติงาน
มาก แต่ข้อเสนอเชิงนโยบายควรจะย่อลงมาให้สั้นไม่ควรเกินหนึ่ง 	
ดังนั้นเมื่อมีความถามเป็นชุดจากผู้บริหารย้อนกลับมา
หน้ากระดาษ A4 เนื่องจากข้อเสนอจัดทำ�ขึ้นเพื่อให้ผู้บริหารหรือ นักวิชาการเองก็ต้องมีท่าทีที่ smart พอ ต้องมีของดีพร้อมที่จะ
หมออนามัย 8
ล้วงออกมาจากกระเป๋าเหมือนแมวหุ่นยนต์โดราเอมอนให้เห็นว่า
ทำ�การบ้านมาเหมือนกัน ซึ่งความจริงในโลกนี้หนีไม่พ้นธรรมะที่
สมเด็จพระศาสดาศาสนาพุทธตรัสไว้เมื่อ 2500 กว่าปีมาแล้วคือ
“อริยสัจ 4 : ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค” ผ่านมาสู่ยุคโลกาภิวัตน์
มีหลักการของฝรั่งบอกว่าก็ 5 W กับ 1 H นั่นแหล่ะ “What Why
Where When Whom How” ตอนนีมาถึงขันนิโรธกับมรรคและ
้
้
How ว่าจะอย่างไรต่อ เพราะทุกข์หรือปัญหาก็ทราบแล้ว สาเหตุ
ของปัญหาก็ทบทวนแล้ว เกิดที่ไหน เมื่อไหร่ ก็ทราบหมดแล้ว
แล้วยังไงต่อ ??
	
เคยได้ยนคำ�ว่า “เปลียนปัญหาหรือวิกฤติให้เป็นโอกาส”
ิ
่
อยูบอยๆ ไหมครับ ผูเขียนขอใช้ค�ว่า “หนามยอก เอาหนามบ่ง”
่ ่
้
ำ
และขอยกตัวอย่างปัญหาแต่ละเรื่องให้ชัดๆ เช่น
	
ปั ญ หาไม่ มี โ ครงสร้ า ง ไม่ มี ร ะบบ ไม่ มี น โยบายหรื อ
ยุทธศาสตร์ไม่มีเจ้าภาพที่ชัดเจน ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่ หนามบ่งที่ว่า
นี้หมายถึงการเสนอหรือกำ�หนดให้มีขึ้น ไม่ว่าจะเป็นโครงสร้าง
ที่มีกฎหมายรองรับ หรือให้ทำ�หน้าที่ชั่วคราวภายใต้หน่วยงาน
หรือคณะกรรมการ จะใช้คนเท่าไหร่ ทำ�หน้าที่ภารกิจหลักอะไร
บ้าง หน้าที่ประสานกับหน่วยงานอื่นๆ อย่างไร หรือปัญหาจากมี
โครงสร้างแล้วหลายหน่วยด้วย แต่ขาดการสื่อสาร ประสานงาน
กันไม่ได้ เลยไม่มีเจ้าภาพรับผิด รับชอบ แบบนี้เสนอให้บูรณาการ
หรือยุบรวมหรือตั้งใหม่ได้เลย
	
ปัญหาไม่มีเงินมาขับเคลื่อนกลไก ภารกิจ ก็ต้องเสนอวิธี
ให้ได้มา อาจจะจากงบประมาณแบบปกติหรือไม่ปกติ จากการ
ระดมทุน ทอดผ้าป่าหรือขอบริจาค เป็นหน้าที่ของผู้บริหารครับ
นักวิชาการมีหน้าที่เสนอทางเลือกเท่านั้น เมื่อเสนอวิธีการเพื่อ
ให้ได้มาของงบประมาณหรืออาจจะมีเงินแล้ว แต่ปญหาคือจะจ่าย
ั
แบบไหน ผ่านใคร จ่ายเท่าไหร่ แบบเดิมดีอยู่แล้วหรือจะกระตุ้น
เพิ่ม เสริมตรงไหน ที่คาดว่าน่าจะเกิดประสิทธิภาพ คุ้มทุน ได้งาน
ประเด็นเหล่านีตองวิเคราะห์ให้ละเอียด อาจปรึกษาผูรหลายๆ คน
้้
้ ู้
ก็ได้ เพื่อจะได้เป็นหลังพิงให้ถูกด่าน้อยลง..
	
ปัญหาขาดคนทำ�งาน อาจเสนอให้ลงทุนสร้างแรงจูงใจ
พร้อมกับใส่ปจจัยเงือนไขอืนๆ (intervention & innovation) เติม
ั
่
่
ลงไป เช่น การจัดการให้คนได้มีความภาคภูมิใจในงาน ให้ได้รู้สึก
ว่ายังมีคุณค่าความเป็นคนที่ไม่ได้ด้อยกว่าคนอื่นๆ การได้มีโอกาส
พัฒนาต่อยอด การได้มีโอกาสเสนอความเห็น ได้เปิดหู เปิดตา

การจัดหาคนเพื่อให้เหมาะสมสอดรับกับงาน
	
ปัญหาไม่มบริการหรือบริการไม่ดกจดการให้มบริการ จะ
ี
ี็ั
ี
ทำ�ขึนเองหรือซือบริการผ่านคนอืนหรือสนับสนุน ร่วมมือกับคนอืน
้
้
่
่
มาร่วมลงทุนเพื่อจัดให้มีบริการ หรือมีปัญหาจากการที่มีบริการ
แล้วแต่ชาวบ้านยังเข้าไม่ถึงบริการเนื่องจากมีม่านกำ�แพงกั้น ก็
ทลายกำ�แพงกั้นซะแต่ต้องลงแรงพร้อมเครื่องไม้เครื่องมือ รื้อกฎ
ระเบียบที่ไม่สนับสนุนหรือเอื้อต่อการเข้าถึงบริการ โดยมองจุด
หมายปลายทางว่าประชาชนต้องได้รบประโยชน์
ั
คือ สะดวก พอใจ เข้าถึง อายุยืนยาว
มากขึ้น สุดท้ายคือ ทุกคนมีรอยยิ้ม
กันถ้วนหน้า แบบ win win win
	
ทางเลื อ กแต่ ล ะประเด็ น อาจ วิ เ คราะห์ ข้ อ ดี ข้ อ
ด้อยหรือ SWOT แล้วให้คะแนนไว้ดวยก็ได้ อาจขุดความรูเ้ ก่าทีเ่ คย
้
ใช้เป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนการจัดลำ�ดับความสำ�คัญของปัญหา
ตั้งแต่เรียนปริญญาตรี เช่น ความยากง่ายของการแก้ปัญหา ผลก
ระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ งบประมาณ การมีส่วนร่วมในการแก้
ปัญหา ระดับความรุนแรงที่มีต่อชีวิตมนุษย์ เป็นต้น
ต้นทุนเบื้องต้นที่ควรจะมี
	
ตอนสุดท้ายนีเ้ ป็นเรืองต้นทุนเฉพาะตัวเอามาแลกเปลียน
่
่
กัน เมื่อครั้งเป็นเด็กเคยเห็นสติกเกอร์ที่กระเป๋ารถเมล์ติดไว้ให้ผู้
โดยสารอ่านเพลินๆ เช่น “ชีวตคือการต่อสูศตรูคอยากำ�ลัง” “สตรี
ิ
้ั ื
คือศัตรู” “ประมาทคือฆาตกร” “กางเกงยีนส์ที่ลูกใส่คือเหงื่อไคร
ของพ่อแม่” (ซึ่งไม่ได้เกี่ยวกับข้อเสนอเชิงนโยบายนะครับ) พอ
โตเป็นหนุ่มไปเรียนหนังสือต่างถิ่น กับเพื่อนร่วมรุ่นเป็นร้อยเป็น
ชายล้วนๆ แต่ก็มีแอ๊บแมนประมาณซักสิบกว่าคนได้ ถัดมาในวัย
ทำ�งานช่วงย้ายเข้าเมืองหลวงตามคำ�เชิญชวนแกมบังคับของนาย
แพทย์สาธารณสุขจังหวัด หลังเลิกงานนั่งรถเมล์กลับที่พัก ผ่าน
ไปกีปายไม่วาป้ายไหนจะมีสดส่วนผูคนทีเ่ ป็นเพศหญิงมากกว่าชาย
่ ้
่
ั
้
ประมาณ 5 : 1 ชายที่เป็นเพียงหนึ่งนั้นก็กลายเป็นเกย์บ้าง ตุ๊ด
บ้าง เออ มันเกิดอะไรขึ้น???
	
ผู้ เขี ย นกำ � ลั ง แลกเปลี่ ย นเรื่ อ งการสั ง เกตและการตั้ ง
คำ�ถามหรือการมี research mind เป็นต้นทุนพื้นฐาน ผ่านหลาย
เหตุการณ์เข้าอาจจะจำ�ไม่ได้ ก็ควรมีไดอารี่ช่วยบันทึกความจำ�ว่า
วันนี้คุยกับใคร เรื่องอะไร โดนด่าไปกี่ดอก หรือว่าวันนี้เดินทาง
ไปไหน พักโรงแรมอะไร ห้องเบอร์ไหน ใช่ห้องที่เขาลือกันว่ามีผี
หมออนามัย 9
ดุๆ รึเปล่า? วันนี้วิ่งไปกี่กิโลเมตร รวมสะสมทั้งเดือนเป็นเท่าไหร่?
เขียนไว้ไม่เสียหลาย บางวันหยิบไดอารี่เก่ามานั่งอ่านย้อนหลังไป
เมื่อยี่สิบห้าปีที่แล้ว มีบันทึกการนับถอยหลังอีก 6 เดือนจะถึงวัน
สอบเอ็นทรานซ์หรือเคยแอบประทับใจคนบางคนแต่ไม่กล้าแม้จะ
เอ่ยคำ�จนพ้นจากรั้วโรงเรียนแห่งนั้นมา ฯลฯ
	
เมือตังคำ�ถามได้กคงอยากจะหาคำ�ตอบหรือสาเหตุมนเกิด
่ ้
็
ั
จากอะไรในแต่ละเหตุการณ์ ทำ�ไมถึงอยากรู้อยากเห็น ต้องคอย
ถามและเตือนสติตวเองเหมือนกัน แค่ท�วิทยานิพนธ์กว่าโครงร่าง
ั
ำ
จะลงตัวได้ตองตีเส้นกำ�หนดกรอบความต้องการให้ตวเอง เพราะ
้
ั
มันฟุ้งอยากรู้หลายเรื่องพร้อมกัน มหาวิทยาลัยเขาหวังดีบอกเรา
เป็นนัยว่าอย่าโลภมากเลยเอาให้จบก่อน หลังจากนันคุณอยากจะ
้
รู้อะไร อยากทำ�อะไรก็ไม่มีใครว่า เคยได้ยินมาว่าฝรั่งบางคนหาก
อยากจะรู้อะไรซักเรื่อง เขาจะตั้งใจทุ่มเททั้งชีวิตเพื่อศึกษาเรื่อง
นั้นๆ ส่วนผู้เขียนคงไม่มีมานะขนาดนั้น เอาเป็นว่าเมื่อมีวัตถุดิบ
แล้วจากการบันทึก การได้เห็น การได้ยินมา การมีความอยาก
ถัดมาคือการเขียน เพื่อสื่อความหมายออกไป การเขียนที่เกิดจาก
ความต้องการอยากให้คนอื่นได้อ่าน หรือถูกบังคับให้เขียน หรือ
ยินดีเต็มใจเพราะเป็นหน้าที่ แต่ละอย่างจะส่งผลต่อผลผลิตทีแตก
่
ต่างกันไป
	
ประเด็นแลกเปลียนถัดมาคือ การเขียนบทความหรือเขียน
่
นิยายมันเป็นพรสวรรค์เป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนพอสมควร กวีซีไรท์
แต่ละคนแต่ละปีแต่ละเรื่องกว่าจะมาถึงตรงนั้นได้ไม่รู้ผ่านอะไร
มาบ้าง หรือนิยายหนังหลังข่าวทั้งหลาย ผู้แต่งเรื่องเขาใช้เวลา
เขียนเท่าไหร่ เขียนที่ไหน กว่าจะมาเป็นหนังมีตัวละครตัวเป็นๆ
ทางจอทีวี ก็เคยตั้งคำ�ถามนี้เหมือนกัน กลับมาที่ผู้เขียนเคยเขียน
บทความเรื่องแรกเมื่อปี 2540 เรื่อง การกระจายอำ�นาจเพื่อการ
พัฒนาที่ยั่งยืนส่งไปถูกกองบรรณาธิการแก้เละตุ้มเปะ กว่าจะได้
ลงเล่มวารสารเวลาผ่านไปอีกสองปีถัดมา ได้ค่าขนมมานิดหน่อย
แต่กเ็ ป็นกำ�ลังใจให้ฮกเหิมได้พอสมควร ปัจจุบนหากถูกมอบหมาย
ึ
ั
ถัวงอกมาผูเขียนจะถามก่อนว่า “ต้องการเมือไหร่ครับ” เพือจะได้
่
้
่
่
วางแผนชีวิตงานประจำ�กับงานถั่วงอก กับชีวิตครอบครัว ส่วนตัว
ให้สมดุล จากนั้นมากำ�หนดขอบเขตหรือที่เค้าเรียกว่า out line
กรอบประเด็นสำ�คัญหรือ key word คืออะไร จดๆใส่กระดาษยัด

ใส่กระเป๋าเสื้อไว้ก่อนก็ได้ บางครั้งเวลาที่ไอเดียบรรเจิดอาจเป็น
ตอนนังในห้องน้�บ้าง หรือตอนวิงออกกำ�ลังตอนเช้าได้เห็นเด็กวัย
่
ำ
่
รุ่นชายหญิงที่มีอารมณ์ค้างจากเมื่อคืนยังนั่งร่ำ�ดื่มไม่เลิกราก็มี
	
ช่วงสำ�คัญถัดมาคือการหาช่วงเวลาที่มีอารมณ์ที่พร้อม
อยากจะเขียน ไม่ควรเครียดมาก ไม่ควรเป็นจังหวะงานประจำ�ยุ่ง
มาก ไม่ควรเป็นช่วงเจ็บป่วย ควรเขียนให้ตอเนืองไล่ตาม out line
่ ่
เสร็จแล้วส่งให้หัวหน้าหรือพรรคพวก เพื่อนฝูงช่วยอ่านก่อน เพื่อ
ตัดต่อ แก้ไข ดูความครบถ้วนของการนำ�เสนอ ว่ามีองค์ประกอบ
สำ�คัญครบหรือไม่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค หรือ 5 W 1 H ที่ว่า
หรือที่ศัพท์ฝรั่งเขาใช้ว่า systematic approach จากการมี systematic thinking จากการได้อ่าน ได้เห็น ได้ทบทวนวิเคราะห์
อย่างหลากหลายหรือ meta-analysis ก่อนเตรียมการนำ�เสนอ
ต่อผู้มีอำ�นาจไปดำ�เนินการต่อ
	
ผูเ้ ขียนจะมีขอความ การสังเกต การตังคำ�ถาม การบันทึก
้
้
เหตุการณ์ การกำ�หนดกรอบความต้องการ การกำ�หนดขอบเขต
เรื่อง การกำ�หนดข้อความสำ�คัญในเรื่อง การเขียน การตรวจสอบ
ทาน ซึงไม่นาจะเป็นอะไรทียากเกินกว่าจะเข้าใจ หรือแลกเปลียน
่ ่
่
่
ซึ่งกันและกันได้
	
แรงดลใจสำ�หรับงานเขียนครังนี้ คือต้องการคืนองค์ความ
้
รู้กลับคืนให้กับสังคม หน่วยงานที่ได้ให้โอกาส ให้เวลา ให้ความ
รู้สึกที่ดี ให้บรรยากาศที่ดี กับความต้องการส่วนตัวที่อยากเขียน
เรื่องราวนี้ไว้ก่อนจะลืมเลือนไปครับ.

หมออนามัย 10
การตรากฎหมายวิชาชีพสำ�เร็จ : ผลกระทบในช่วงเริ่มต้นของวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน
สงครามชัย ลีทองดี : songkramchai@gmail.com

	
กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน เริมต้นอย่าง
่
เป็นทางการโดยการประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๑๖
ธันวาคม ๒๕๕๖ ภายหลังจากที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างกฎหมายเมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน
๒๕๕๖ ทำ�ให้เราได้ พ.ร.บ. วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ.
๒๕๕๖ อย่างสมบูรณ์หลังการต่อสู้อย่างยาวนานกว่า ๒๐ ปี
	
มีเกร็ดทีควรบันทึกไว้เป็นประวัตศาสตร์คอวันทีพระบาท
่
ิ
ื
่
สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ ทรงลงพระปรมาภิ ไ ธยคื อ วั น ที่ ๒๗
พฤศจิกายน ๒๕๕๖ หากนับย้อนหลังไปเมื่อวันเดียวกันคือ ๒๗
พฤศจิกายน ๒๔๖๑ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งกรมสาธารณสุขขึ้นเป็นครั้งแรกและกรม
สาธารณสุขได้พัฒนามาเป็นกระทรวงสาธารณสุขในเวลาต่อมา
ทางราชการจึงกำ�หนดให้วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ของทุกปี เป็นวัน
สาธารณสุขแห่งชาติ เรืองนีเป็นความบังเอิญหรือจงใจก็สดจะคาด
่ ้
ุ
เดาแต่ก็เกิดขึ้นแล้ว
	
ประเด็นทีจะต้องทำ�ความเข้าใจคือการเริมต้นของวิชาชีพ
่
่
ด้านสุขภาพล่าสุดนี้จะเริ่มกันอย่างไร
สภาการสาธารณสุขชุมชนชุดเริ่มต้น
การเริ่มต้นของวิชาชีพตามกฎหมายเป็นอันดับแรกคือการจัดตั้ง
สภาวิชาชีพซึงในกฎหมายเรียกว่า “สภาการสาธารณสุขชุมชน”
่
องค์กรนีจะมีบทบาทสำ�คัญในการดำ�เนินงานตามกฎหมายวิชาชีพ
้
ฉบับนี้ องค์ประกอบทีส�คัญคือกรรมการสภาวิชาชีพในชุดเริมแรก
่ำ
่
กฎหมายกำ�หนดไว้ตามความในมาตรา ๕๐ ดังนี้
	
“มาตรา๕๐ ในระยะเริ่มแรกที่ยังไม่เลือกกรรมการ..ให้
กรรมการประกอบด้วย ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นนายกสภา
การสาธารณสุขชุมชน ให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุขแต่งตั้งนิติกร
เชี่ยวชาญด้านกฎหมายของสำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
หนึงคนเป็นกรรมการ ผูอ�นวยการสำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์
่
้ำ

สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผู้อำ�นวยการสำ�นักสถาน
พยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ผู้อำ�นวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคเอกชน กรมสนับสนุน
บริการสุขภาพ คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหิ ด ล ผู้ อำ � นวยการสถาบั น พระบรมราชชนก นายกสมาคม
วิชาชีพสาธารณสุข อุปนายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุข เลขาธิการ
สมาคมวิชาชีพสาธารณสุข เป็นกรรมการ ทีปรึกษาสมาคมวิชาชีพ
่
สาธารณสุขซึงนายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุขแต่งตังหนึงคน เป็น
่
้ ่
กรรมการ
	
ให้นายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุขทำ�หน้าที่เลขาธิการ
และเป็นเลขานุการคณะกรรมการ”
บุคคลดังกล่าวรวม ๑๑ คน ซึงได้แก่ ๑) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
่
๒) นิติกรของ สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ๓) ผู้อำ�นวย
การสำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ สปสธ ๔) ผู้อำ�นวยการสำ�นัก
สถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรม สบส ๕) ผูอ�นวย
้ำ
การกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรม สบส ๖) คณบดี
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๗) ผู้อำ�นวยการ
สถาบันพระบรมราชชนก ๘) นายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุข ๙)
อุปนายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุข ๑๐) เลขาธิการสมาคมวิชาชีพ
สาธารณสุข ๑๑) ทีปรึกษาสมาคมวิชาชีพสาธารณสุข จะทำ�หน้าที่
่
เป็นสภาการสาธารณสุขชุมชนในช่วงเริ่มต้น ซึ่งผมจะขอเรียกว่า
กรรมการสภาการสาธารณสุขชุมชนตามบทเฉพาะกาล เพื่อทำ�
หน้าที่สำ�คัญตามมาตรา ๕๑ กล่าวคือ
	
“มาตรา ๕๑ ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๕๐ มีอำ�นาจ
หน้าที่ดังต่อไปนี้
	
(๑) ออกระเบียบว่าด้วยการรับสมัครสมาชิกและค่าขึ้น
ทะเบียนสมาชิก และดำ�เนินการรับสมัครสมาชิกภายในเก้าสิบวัน
นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง
	
(๒) ออกระเบียบว่าด้วยการเลือก การเลือกตั้ง และการ
แต่งตั้งบุคคลตามมาตรา ๑๖
หมออนามัย 11
(๓) จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการตามมาตรา ๕๐
ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ครบกำ�หนดเก้าสิบวันตาม (๑) เพื่อ
อนุมัติระเบียบ ตาม (๒)
	
(๔) ดำ�เนินการให้ได้มาซึ่งกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๒) 	
(๕)​ ละ (๖) การแต่งตั้งกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๗) ภายในหก
แ
สิบวันนับแต่วันที่มีการประชุมอนุมัติระเบียบตาม (๓)
	
(๕) ปฏิบตการอืนเท่าทีจ�เป็นเพือให้เป็นไปตามพระราช
ัิ ่
่ำ
่
บัญญัติ นี้ ...”
	
เมื่ อ พิ จ ารณาโดยสรุ ป จะเห็ น ว่ า กรรมการดั ง กล่ า วจะ
ทำ�หน้าที่ ห้าประการ ตามบทบัญญัติมาตรา ๕๑ ซึ่งเป็นการ
รับสมัครสมาชิกและขึ้นทะเบียนสมาชิก ออกระเบียบเพื่อให้มี
การเลือกสมาชิกสภาการสาธารณสุขชุมชนเพื่อได้กรรมการสภา
การสาธารณสุขชุมชนทั้งหมดที่สมบูรณ์ตามกฎหมาย ซึ่งเมื่อนับ
เวลาขั้นสูงทั้งหมดกระบวนการเพื่อได้มาซึ่งกรรมการสภาการ
สาธารณสุขชุมชนทังหมดใช้เวลาหนึงร้อยแปดสิบวันหรือหกเดือน
้
่
โดยนับตังแต่วนทีปลัดกระทรวงสาธารณสุขแต่งตังคณะกรรมการ
้ ั ่
้
ตามบทเฉพาะกาลครบทุกคนเรียบร้อยแล้ว ตรงนี้เป็นประเด็น
ที่สำ�คัญมาก แต่ข้อมูลในวันที่เขียนต้นฉบับยังไม่ปรากฎว่าทาง
ปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้แต่งตั้งกรรมการตามบทเฉพาะกาล
แล้วแต่อย่างใด แต่จนกว่าท่านจะได้อ่านข้อเขียนนี้อาจจะมีการ
ประกาศแล้วก็ได้ แต่อย่างไรก็ดเี ทือนับตังแต่วนแต่งตังกรรมการชุด
่
้ ั
้
เริมต้นตามบทเฉพาะกาลนี้ ต้องใช้เวลาทั้งสิ้นไม่เกินหกเดือน จาก
่
การประมาณตามนีกคงประมาณกลางปีจงจะได้กรรมการสภาการ
้็
ึ
สาธารณสุขชุมชนชุดสมบูรณ์ หากไม่มีเหตุการณ์อื่นที่ทำ�ให้เงื่อน
เวลาต้องคลาดเคลื่อนออกไป
	
บทวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นจากการตรากฎหมายวิชาชีพ
การสาธารณสุขชุมชน
	
ตามรูปการนีมประเด็นทีตองวิเคราะห์เพือให้เห็นเส้นทาง
้ี
่้
่
เดินของกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน ประเด็นคือ
	
1. การขึ้ น ทะเบี ย นสมาชิ ก ที่ เ ป็ น บทบาทของคณะ
กรรมการชุดเริ่มแรกตามบทเฉพาะกาลนี้จะกำ�หนดคุณสมบัติผู้ที่

จะสามารถขึ้นทะเบียนสมาชิกอย่างไร
	
2. สถาบั น การศึ ก ษาจะต้ อ งเตรี ย มการอย่ า งไรกั บ
หลักสูตรที่ผลิตกำ�ลังคนสาขานี้
	
3. หน่วยงานที่เป็นผู้ใช้บัณฑิตจะต้องกำ�หนดเกณฑ์การ
รับเข้าทำ�งานสำ�หรับ
ประเด็นแรก การขึ้นทะเบียนสมาชิกในตอนเริ่มต้น
	
ประเด็นนี้มีหลักกฎหมายว่าผู้ขึ้นทะเบียนจะต้องมีความ
รู้ในวิชาชีพการสาธารณสุข โดยได้รับปริญญาหรือเทียบเท่า หรือ
อนุปริญญาในทางนี้ การตีความว่าปริญญาหรืออนุปริญญาใดบ้าง
เป็นความรูในวิชาชีพการสาธารณสุขเป็นโจทย์ใหญ่ทตองตัดสินใจ
้
ี่ ้
เป็นที่ทราบดีว่า ปริญญาหรืออนุปริญญาทางสาธารณสุขในบ้าน
เรามีหลากหลายมากนัก ทั้ง ประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์
สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต เป็นต้น ตรงนี้เป็น
เรื่องที่เกี่ยวข้องกับผู้คนเป็นจำ�นวนมาก ต้องชัดเจนในประเด็นนี้
อย่างมาก
ประเด็นที่สอง สถาบันการศึกษาด้านสาธารณสุข จะต้องปรับ
เปลี่ยนอย่างไร
	
ประเด็นนี้อาจจะยังพอมีเวลา แต่อย่างไรก็ดีไม่มากนัก
ด้วยเพราะเมือกฎหมายตราออกมาแล้ว สถาบันการศึกษาทังหลาย
่
้
ต้องกลับไปทบทวนว่า หลักสูตรของตนสามารถผลิตบุคลากรทีจะ
่
ปฏิบัติหน้าที่ได้ตามบทบาทที่กำ�หนดไว้ในกฎหมายวิชาชีพอย่าง
ครบถ้วนหรือไม่ ตรงนี้จะส่งผลให้เกิดการปรับปรุงหลักสูตรของ
สถาบันการศึกษาทั้งหมดในที่สุด
ประเด็นที่สาม หน่วยงานผู้ใช้บัณฑิต ต้องปรับเปลี่ยนการรับ
บุคคลเข้าทำ�งาน
	
ประเด็นนีกส�คัญๆพอกันว่าจะกำ�หนดหลักเกณฑ์การรับ
้็ำ
บุคคลเข้าทำ�งานนั้น จะต้องกำ�หนดว่าบุคคลนั้นๆได้ขึ้นทะเบียน
และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแล้ว ด้วยหรือไม่ มิเช่นนั้น
ก็จะเป็นประเด็นต้องด้วยข้อห้ามของกฎหมายที่เป็นการคุ้มครอง
วิชาชีพไว้มให้ผอนมาประกอบวิชาชีพนี้ หากไม่ได้ขนทะเบียนและ
ิ ู้ ื่
ึ้
ได้รับใบอนุญาต
หมออนามัย 12
สามประเด็ น ที่ ย กขึ้ น มากล่ า วในที่ นี้ นั้ น เป็ น ประเด็ น
สำ�คัญและเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องมีการปรับเปลี่ยน อย่างเร่ง
ด่วนที่สุดคือประเด็นแรกที่จะต้องตัดสินใจโดยกรรมการสภาการ
สาธารณสุขชุมชนชุดเริมแรก เป็นผลกระทบทีส�คัญทีจะเกียวข้อง
่
่ำ
่ ่
กับการออกแบบระบบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนที่เกิดขึ้นตาม
กฎหมายเป็นครั้งแรกของไทย เป็นเรื่องที่เกี่ยวเนื่องกับบุคคล
สถาบันทั้งผู้ผลิตและผู้ใช้ โดยมีเป้าหมายสำ�คัญที่จะยกระดับ
มาตรฐานวิชาชีพการสาธารณสุขขึ้นในครั้งนี้

บทสรุป

	
การเริ่มต้นการเป็นวิชาชีพโดยการผลักดันกฎหมายให้
มีกฎหมายวิชาชีพ แม้เราจะเห็นว่าเป็นเรื่องยากเย็นและใช้ความ
อดทนและเพียรพยายามอย่างมาก แต่การที่จะออกแบบระบบ
การจัดการวิชาชีพเป็นเรื่องที่สำ�คัญและยากไม่น้อยกว่ากันเลย
พวกเราชาวหมออนามัยส่วนใหญ่ยอมได้ผลไม่วาเป็นทางตรงหรือ
่
่
ทางอ้อมต่อการตรากฎหมายครังนี้ เป็นเรืองทีตองสนใจและเข้าใจ
้
่ ่้
ควรติดตามด้วยสติและมีข้อมูลที่ถูกต้องโดยไม่ตื่นตระหนก และ
ก้าวไปสูการเป็นผูประกอบวิชาชีพทีมคณภาพและมาตรฐาน ตาม
่
้
่ีุ
เจตนารมณ์ของการตรากฎหมายได้อย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์
ต่อประชาชน ต้องติดตามเรื่องนี้อย่างต่อเนื่องและใช้ปัญญาเพื่อ
เข้าใจเรื่องราวอย่างถูกต้องครับ

หมออนามัย 13
หมออนามัยVol 3 final

More Related Content

Viewers also liked

ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพChuchai Sornchumni
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Utai Sukviwatsirikul
 
หนังสือหมอครอบครัว
หนังสือหมอครอบครัวหนังสือหมอครอบครัว
หนังสือหมอครอบครัวChuchai Sornchumni
 
Clinical practice guideline for neuropathic pain
Clinical practice guideline for neuropathic painClinical practice guideline for neuropathic pain
Clinical practice guideline for neuropathic painUtai Sukviwatsirikul
 
ศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆ
ศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆ
ศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆItnog Kamix
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า Utai Sukviwatsirikul
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
คู่มือ59 เล่ม3 ไต
คู่มือ59 เล่ม3 ไตคู่มือ59 เล่ม3 ไต
คู่มือ59 เล่ม3 ไตChuchai Sornchumni
 
Childhood seizure and its management
Childhood seizure and its managementChildhood seizure and its management
Childhood seizure and its managementTauhid Iqbali
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014 Utai Sukviwatsirikul
 
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพวิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
ศัพท์ที่ใช้ในโรงพยาบาล
ศัพท์ที่ใช้ในโรงพยาบาลศัพท์ที่ใช้ในโรงพยาบาล
ศัพท์ที่ใช้ในโรงพยาบาลpreap
 
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2Watcharin Chongkonsatit
 

Viewers also liked (19)

Aerius drug monograph
Aerius drug monograph Aerius drug monograph
Aerius drug monograph
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพ
 
ไข้เลือดออก2556
ไข้เลือดออก2556ไข้เลือดออก2556
ไข้เลือดออก2556
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
Rx samatcha095 25511208
Rx samatcha095 25511208Rx samatcha095 25511208
Rx samatcha095 25511208
 
หนังสือหมอครอบครัว
หนังสือหมอครอบครัวหนังสือหมอครอบครัว
หนังสือหมอครอบครัว
 
Clinical practice guideline for neuropathic pain
Clinical practice guideline for neuropathic painClinical practice guideline for neuropathic pain
Clinical practice guideline for neuropathic pain
 
Cpg thalassemia 2014-content
Cpg thalassemia 2014-contentCpg thalassemia 2014-content
Cpg thalassemia 2014-content
 
ศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆ
ศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆ
ศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆ
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
คู่มือ59 เล่ม3 ไต
คู่มือ59 เล่ม3 ไตคู่มือ59 เล่ม3 ไต
คู่มือ59 เล่ม3 ไต
 
04 health
04 health04 health
04 health
 
Childhood seizure and its management
Childhood seizure and its managementChildhood seizure and its management
Childhood seizure and its management
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
 
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพวิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
 
ศัพท์ที่ใช้ในโรงพยาบาล
ศัพท์ที่ใช้ในโรงพยาบาลศัพท์ที่ใช้ในโรงพยาบาล
ศัพท์ที่ใช้ในโรงพยาบาล
 
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
 

More from Chuchai Sornchumni

Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Chuchai Sornchumni
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว Chuchai Sornchumni
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCChuchai Sornchumni
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทางChuchai Sornchumni
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChuchai Sornchumni
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Chuchai Sornchumni
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศChuchai Sornchumni
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527Chuchai Sornchumni
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกาChuchai Sornchumni
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017Chuchai Sornchumni
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นChuchai Sornchumni
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกChuchai Sornchumni
 
โอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchaiโอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchaiChuchai Sornchumni
 

More from Chuchai Sornchumni (20)

Precision medicine
Precision medicinePrecision medicine
Precision medicine
 
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
 
UHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn ThailandUHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn Thailand
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHC
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
Public finance
Public financePublic finance
Public finance
 
DiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSystDiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSyst
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllness
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
 
Welfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhcWelfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhc
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็น
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุก
 
โอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchaiโอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchai
 

หมออนามัยVol 3 final

  • 1. รักประชาชนรักหมออนามัย วารสารหมออนามัย ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๓ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๖ ISBN ๐๘๕๘-๒๙๑๒ E-Book
  • 2. ---->>> Editor’Talk ครับ...ปีใหม่ก็มาเยือนอีกครั้งหนึ่งแล้ว สำ�หรับปีม้า 2557 ที่จะถึงนี้ ซึ่งหลายต่อหลายคน ก็คงรอคอยและคาด หวังว่าจะมีสงใหม่ๆเกิดขึน โดยเฉพาะกับประเทศชาติของเรา ิ่ ้ ซึ่งคุกรุ่นอยู่ด้วยความขัดแย้งที่สั่งสมกันมา มีคำ�พูดที่น่าสนใจ ของนักปราชญ์ท่านหนึ่งกล่าวว่า “ถ้าท่านไม่ได้เป็นส่วนหนึ่ง ของการแก้ปญหา ก็เท่ากับว่าท่านเป็นส่วนหนึงของตัวปัญหา ั ่ ด้วย” พวกเราก็คงจะต้องอดทนและอดทน เพือรอคอยให้การ ่ เปลี่ยนแปลงใหม่ๆมาถึง...... ฉบับนีมเี รืองการตรวจสอบของสำ�นักงานการตรวจเงิน ้ ่ แผ่นดิน ที่ทำ�บันทึกถึงกระทรวงสาธารณสุขในเรื่องการตรวจ สอบการดำ�เนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล (รพสต.) ซึงมีเรืองประเด็นน่าสนใจติดตามหลายเรือง แถมด้วย ่ ่ ่ เรื่องความก้าวหน้าของสภาวิชาชีพสาธารณสุขที่ต่อเนื่องจาก ฉบับที่แล้ว ส่วนเรื่องอื่นๆก็เข้มข้นเหมือนเดิมนะครับ ในวาระดิถีขึ้นปีใหม่ 2557 นี้ ขอให้ชาว รพสต.-หมอ อนามัย ของเราทุกท่านจงประสบแต่ความสุขความเจริญ หวัง สิ่งใดก็ขอให้ได้ประสบสมใจปรารถนาทุกอย่างด้วยเทอญ Contents 3. อนาคตของการสาธารณสุขไทยสำ� หรับ ศตวรรษที่ ๒๑ 6.เงินแผ่นดินนั้นคือเงินของประชาชน ทั้งชาติ 7. เทคนิคการจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบาย 11. การตรากฎหมายวิชาชีพสำ�เร็จ : ผลกระทบในช่วงเริ่มต้นของวิชาชีพการ สาธารณสุขชุมชน นพ.วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ ---->>> หมออนามัย 2
  • 3. อ น า ค ต ข อ ง ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ไ ท ย สำ � ห รั บ ศ ต ว ร ร ษ ที่ ๒๑ นายแพทย์ ชูชัย ศรชำ�นิ สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ ๒๑ ที่เทคโนโลยี พัฒนาก้าวกระโดด เชื่อมโยงประเทศและระบบต่างเข้าหากัน ไม่ว่าจะเป็นระบบเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ระบบการค้าโลก การเดินทางท่องเที่ยวติดต่อกันของพลเมือง การคมนาคมและโล จิสติคส์ ฯลฯ ทำ�ให้ประเทศต่างๆ และการออกแบบระบบการ สาธารณสุขของประเทศเหล่านั้น จำ�เป็นต้องมีการปรับตัวเพื่อรับ กับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว สำ�หรับประเทศไทยในช่วง ๑๐ ปี ที่ผ่านมา ถือเป็นช่วง เวลาที่มีการเปลี่ยนผ่านภายในประเทศอย่างมากเช่นกัน ไม่ว่าจะ เป็นในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม การปฏิรประบบราชการ ู ที่มุ่งสู่ ความมี ประสิทธิภาพ และพัฒนาประเทศเพื่อให้สามารถ แข่งขันในภูมิภาคและประชาคมโลก การปฏิรูประบบสุขภาพโดย การจัดตั้งกลไกใหม่ๆ มีรูปธรรมของการปฏิรูประบบสุขภาพโดย การจัดตั้งกลไกใหม่ๆ ไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งสำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำ�นักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำ�นักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่ง ชาติ (สช.) เป็นต้น ปั ญ หาความท้ า ทาย และการออกแบบระบบเพื่ อ ให้ ประชากรมีสุขภาวะดีในศตวรรษที่ ๒๑ สภาพปัญหาสุขภาพและ ปัจจัยต่างๆ ที่กระทบกับสุขภาพเป็นไปอย่างซับซ้อนกว่าในอดีต มาก ทั้ง ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม ภาวะโลกร้อน การใช้สารเคมี มากขึ้น ภัยธรรมชาติท่ีรุนแรงและบ่อยขึ้น (Extreme weather events) ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม(Social determinant of health) การมีสัดส่วนของชนชั้นกลางมากขึ้น คนใช้ชีวิต ในเมืองหรือแบบกึ่งเมืองมากขึ้นทำ�ให้แบบแผนการใช้ชีวิต (Life style and pattern) เปลี่ยนแปลงไป พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรค เช่น การบริโภคบุหรี่ พฤติกรรมบริโภคนิยม พฤติกรรมทางเพศ (Unsafe sex) ช่องว่างทางสังคมที่มากขึ้น (Social disparity) ระบาด วิทยาการเกิดโรค เช่น โรคอุบตใหม่ (Emerging and re-emerging ัิ diseases) แนวโน้มของโรคไม่ติดต่อที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น อีก ทั้งจำ�นวนประชากรที่เพิ่มขึ้น การเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ (Aging society) การเคลื่อนย้ายประชากรทำ�ให้โรคระบาดแพร่ ได้อย่างรวดเร็ว การขยายตัวของธุรกิจบริการสุขภาพ เช่น ธุรกิจ การท่องเที่ยว หรือธุรกิจยาอุปกรณ์ตรวจวินิจฉัย ส่งเสริมสุขภาพ เครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ข้ามชาติ และการดำ�เนินธุรกิจ เชิงรุกด้วยกลยุทธ์หลากหลายทางการตลาด ตลอดจนยุคของการ สื่อสารและคมนาคมที่รวดเร็ว ทำ�ให้การคุ้มครองผู้บริโภคด้าน สุขภาพให้แก่ประชาชน มีความซับซ้อนในการที่จะต้องทำ�ให้ต้อง มีกลยุทธ์ให้ประชากรเข้าถึงบริการหรือผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพใน ราคาที่เป็นธรรมและมีความรับผิดชอบ หากพิจารณาจากตัวชี้วัดด้านสถิติชีพมาตรฐานทั่วไป ประเทศไทยประสบความสำ � เร็ จ ในการพั ฒ นาระบบการ สาธารณสุขมาอย่างต่อเนื่องได้ดี เช่น คุณภาพชีวิตการเป็นอยู่ ของประชากรดีขึ้น มีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกคลอด (Life expectancy at birth) ยืนยาวขึน อัตราตายคลอดลดลง การได้รบวัคซีน ้ ั ครอบคลุม สภาพแวดล้อมสุขาภิบาลในบ้านดีขนมีสวมครบถ้วน ที่ ึ้ ้ ทำ�งานมีการจัดการสุขาภิบาลที่อยู่ในระดับที่ดี มีมาตรการความ ปลอดภัยในการใช้ยานยนต์ ความเข้มแข็งและการกระจายของ หน่วยงานสาธารณสุข หมออนามัยและอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำ�หมู่บ้านที่กระจายอยู่ทั่วประเทศเกือบ ๑ ล้านคนซึ่งช่วย สนับสนุนการพัฒนาสุขภาพหลายประเด็นในอดีตที่ผ่านมา ฯลฯ อย่างไรก็ดีระบบการสาธารณสุขของประเทศไทย ก็ต้องเผชิญกับ เรื่องราวใหม่ เช่นการจัดการกับการบาดเจ็บจากสาเหตุการบาด เจ็บที่หลากหลาย การเจ็บป่วยเรื้อรังที่ต้องการการดูแลตั้งแต่เริ่ม เกิดอาการจนถึงบั้นปลายของชีวิต (Chronic care model and end of life care) การจัดการกับปัญหาความไม่เท่าเทียมกันหรือ ความเหลื่อมล้ำ�ของการเข้าถึงบริการคุณภาพของประชากรกลุ่ม ต่างๆ การจัดการป้องกันโรคส่งเสริมสุขภาพสำ�หรับแรงงานหรือ ผู้ย้ายถิ่นฐาน การจัดสภาพแวดล้อมสำ�หรับที่ทำ�งานที่มีลักษณะ ของงานที่แตกต่างออกไป หมออนามัย 3
  • 4. เห็นได้ว่าในการพัฒนาที่ผ่านมา การที่จะทำ�ให้ประชากร มีสขภาพดีมชวตยืนยาว ได้มการทุมเททรัพยากรและการออกแบบ ุ ีีิ ี ่ ต่างๆ ไปที่การรักษา การพัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์ ใน ขณะที่อีกด้านหนึ่งคือการลงทุนเพื่อพัฒนา “การสาธารณสุข” ยังมีสัดส่วนที่น้อยและต้องการการผลักดันออกแบบให้รองรับกับ สถานการณ์ของศตวรรษที่ ๒๑ ของประเทศไทย ผู้ มี บ ทบาทใหม่ ๆ ในการพั ฒ นา “ระบบการสาธารณสุ ข ” สำ�หรับศตวรรษที่ ๒๑ ประสบการณ์ความสำ�เร็จที่ผ่านมา ของการพัฒนาระบบ การสาธารณสุขโดยหน่วยงานภาครัฐ โดยการผลักดันจากภาค สถานบริการ เป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้ว่า กระทรวงสาธารณสุขโดย การบริหารแบบราชการส่วนกลางเป็นผูมบทบาทสำ�คัญในการผลัก ้ี ดัน อย่างไรก็ตาม ด้วยพลวัตรของการเปลี่ยนแปลง ทำ�ให้ เกิดแนวคิดว่า การปกป้องสุขภาพประชาชนและการส่งเสริมให้ ประชาชนอยู่ดีมีสุข (Protect and promote health and wellbeing) จะต้องมี “ผู้เล่นหลากหลายที่แข็งขัน” เข้ามาร่วมกันด้วย คือมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของการสาธารณสุข (Public health infrastructure) ด้วยเทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ของระบบการเฝ้าระวังภาวะ คุกคามและความเสียงด้านสุขภาพของประชาชนทีเ่ ป็นไปตามเวลา ่ จริง (Real time surveillance and epidemiological systems) โดยเฉพาะทีผานช่องทางใหม่ๆ ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ่่ สื่อสาร เครือข่ายทางสังคม ด้วยการจัดการศึกษา ระบบการฝึกอบรม การสร้างงาน วิจัย และการสร้างหมออนามัย (Public health workforce training and reinforcements) สายพันธุ์ใหม่ มีสถาบันทาง วิชาการด้านสาธารณสุขที่ผลิตนักศึกษา นักวิจัย งานวิจัยด้านการ สาธารณสุขที่ครอบคลุม เข้มแข็ง ด้วยการจัดการเกี่ยวกับห้องปฏิบัติการ รวมทั้งโลจิสติค ของการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง (Laboratory capacity) ทีเชือมโยงและเป็นพันธมิตรกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ่ ่ กับเอกชน (Public Private Partnership) เพื่อการทำ�การตรวจ ชันสูตรที่ครอบคลุมมากขึ้น เพื่อความรวดเร็วในการลงทุนภาครัฐ และเพื่อการควบคุมคุณภาพของระบบห้องปฏิบัติการเพื่อการ สาธารณสุข ด้วยการสร้างเครือข่ายทางสังคมและการสื่อสารสังคม (Communicate network) ทั้งเครือข่ายทางสังคมที่พบหน้ากัน เป็นกลุ่ม (Group social network) และเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Mobile devices health) ด้วยสร้างความเข้มแข็งของระบบเตรียมพร้อมรับและตอบ สนองต่อภาวะฉุกเฉินและภัย (Preparedness and emergency response capabilities) และ ด้วยการสร้างกลไกให้ชมชนสามารถเข้าถึงบริการด้านการ ุ สาธารณสุขทีส�คัญและจำ�เป็นต่อชุมชนอย่างนยังยืน (Communi่ำ ่ ties access to essential public health services) สถาบันสุขภาพแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา ได้เสนอ 6 ผู้ เล่นในระบบการสาธารณสุขสำ�หรับศตรวรรษที่ ๒๑ โดยมีหน่วย งานของรัฐเป็นแกนกลางประสานการพัฒนาให้เป็นเอกภาพระดับ ชาติ ซึงสามารถดัดแปลงประยุกต์ได้ส�หรับระบบการสาธารณสุข ่ ำ ไทยได้ดังแผนภาพที่ ๑ แผนภาพที่ ๑ ระบบการสาธารณสุข : รัฐและหุ้นส่วนที่มี ศักยภาพ รัฐ และหน่วย ภาครัฐ หน่่วย งานด้านวิชา การสาธารณสุข ชุมชน อาสาสมัคร จิตอาสา ร่วม สร้างเงื่อนไข ความมั่นใจแก่ “สุขภาวะประชาชน” ในศตวรรษที่ 21 สื่อ องค์กรและ เครือข่าย สังคม ภาค บริการสุขภาพ และการส่งมอบบริการ สาธารณสุข เจ้า ของกิจการ และธุรกิจ ทีมา ดัดแปลงจาก The Future of the Public’s Health (IOM, 2002) ่ ข้อคิดเห็นสำ�หรับอนาคตระบบการสาธารณสุข เมื่อได้ทบทวนรายงานและเอกสารที่เกี่ยวข้องแล้ว การพัฒนา ระบบการสาธารณสุขเพื่อรองรับกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน และอนาคตของศตวรรษที่ ๒๑ (และเพือทีจะให้กาวขึนมาทัดเทียม ่ ่ ้ ้ กับระบบบริการทางการแพทย์) น่าจะมีดังนี้ หมออนามัย 4
  • 5. 1.พัฒนาและใช้ประโยชน์ ควรจะต้องมีคณะทำ�งาน หรือ งานวิจัย หรือวิจัยและพัฒนา อย่างจริงจัง เพื่อ การทบทวนพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และ การใช้ประโยชน์จากพระราชบัญญัติการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๖ 2.ยกระดับ สมรรถนะ ความรู้ ทักษะ และความสามารถใน การจัดการด้านการสาธารณสุขของบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับ ทั้งภาครัฐ และที่ปฏิบัติงานอยู่ในสถานประกอบการภาคเอกชน และมีการยกเครื่องหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์บัณฑิต มาตรฐาน การฝึกอบรม การศึกษาต่อเนืองด้านวิชาการระบบการสาธารณสุข ่ และการบริหารระบบสาธารณสุข 3.ลงทุน ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน องค์กรชุมชน ่ เครือข่ายภาคประชาชน กิจการเพื่อสังคม (Social enterprise) กิจกรรมเพื่อสังคม (Corporate social enterprise) เพื่อให้มี โครงสร้างพื้นฐาน และ เทคโนโลยีด้านการสาธารณสุขที่ทันสมัย เข้มแข็ง ถ้วนหน้าทุกท้องถิ่น 4.ส่งเสริมและผลักดัน ให้ชุมชนและเครือข่ายมีบทบาท มีกจกรรมเชิงรุกและเสนอโครงการเพือจัดการสุขภาพและจัดการ ิ ่ การสาธารณสุขในพื้นที่ของตนเองอย่างกว้างขวาง จริงจัง (Community-led health initiative, engagement, and leadership) 5.เชื่อมโยง ระบบการสาธารณสุขเข้ากับระบบบริการ สุขภาพ โดยเฉพาะหน่วยบริการ และสถานบริการสุขภาพปฐมภูมิ ในประเด็น - การดูแลผู้สูงอายุ (Active living aging society) ผู้ พิการ (Community based rehabilitation) ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ ที่เจ็บป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต (Comprehensive end of life care) - การดูแลผู้ได้รับผลกระทบจากปัจจัยบ่งชี้สุขภาพอัน เนื่องมาจากสังคม (Social determinant of health) การจัดการ ปัญหายาเสพติด การจัดการกับปัญหาสารพิษสารปนเปื้อนจาก อาหารและยาจากการเกษตรจนก่อโรคแก่ประชาชน การดูแล สุขภาพและส่งเสริมพัฒนาการแก่เด็กเล็ก เด็กและเยาวชน การ ดูแลต่อเนื่องสำ�หรับผู้ที่อยู่ในวัยทำ�งานวัยเจริญพันธุ์ - การเตรียมพร้อม (Preparedness) และการดูแลในระยะ เฉียบพลัน และในระยะฟืนฟูตอเนือง สำ�หรับผูได้รบผลกระทบจาก ้ ่ ่ ้ ั ภัยทางธรรมชาติ ภัยอันเนื่องจากมนุษย์ ภัยในสถานประกอบการ ภัยในอาคารสูงหรือชุมชนแออัด - การจัดการทางการเงิน ทีเ่ ชือมโยงบริการด้านการแพทย์ ่ เข้ากับการจัดการโรคอย่างต่อเนื่องที่บ้าน และที่ในชุมชน 6.เป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ กับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น อสม. ในพื้นที่ และหน่วยงานสถานประกอบการในพื้นที่ ในการสร้างความเข้มแข็งกำ�หนดแผนทีทางเดินยุทธศาสตร์สขภาพ ่ ุ ระดับท้องถิ่น เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ป้องกันและ รับมือกับการบาดเจ็บ ทังแบบดังเดิมและรูปแบบโรคและการบาด ้ ้ เจ็บแบบใหม่ๆ 7.สื่ อ ใหม่ แ ละเครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ การ สาธารณสุ ข การพั ฒ นาอย่ า งก้ า วกระโดดของเทคโนโลยี สารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสารและมีการใช้ส่ือดิจิตอลด้วย อุปกรณ์สื่อสารพกพาติดตัว อย่างกว้างขวางของประชาชน ก่อ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของประชาชนทั้งในแง่ การ บริโภคสินค้าและบริการทุกประเภทรวมทั้งด้านสุขภาพ, การใช้ ชีวตประจำ�วันทังทีเสียงต่อสุขภาพและไม่เสียง, การสือสารกันเอง ิ ้ ่ ่ ่ ่ ทังทีถกต้องและไม่ถกต้องอันเป็นการไม่คมครองผูบริโภคด้านการ ้ ู่ ู ุ้ ้ สาธารณสุข ดังนันนักการสาธารณสุขยุคใหม่ ต้องสร้างให้เกิดความ ้ รู้สึกผูกพัน (Engagement) ให้ได้ กับ เครือข่ายสื่อทางการ สื่อ ทางเลือก ผู้ผลิตรายการ บรรณาธิการผู้เขียนข่าว นักข่าวพลเมือง และเครือข่ายสือสังคมออนไลน์ ทังนีเพือให้ได้ประโยชน์ทงในการ ่ ้ ้ ่ ั้ ให้ความรูดานการสาธารณสุขและสุขภาพ (Health knowledge) ้้ การชี้นำ�เพื่อปรับเปลี่ยนสุขภาพ (Healthy behavior) การส่ง เสริมสุขภาพ (Health promotion) และ การผลักดันนโยบาย สาธารณะเพื่อสุขภาพ (Healthy public policy) ได้ในวงกว้าง อย่างรวดเร็ว เอกสารที่ใช้ประกอบการอ้างอิง ACTIVE AGEING: TOWARDS AGE-FRIENDLY PRIMARY HEALTH CARE. World Health Organization 2004. The Future Of The Public’s Health in the 21st Century. ดาวน์โหลดจาก NAP home page at www.nap.edu. เมื่อ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๖. Primary Health Care – Now More Than Ever. The World Health Report 2008. บทสังเคราะห์ขอเสนอบทบาทกระทรวงสาธารณสุขในศตวรรษที่ ๒๑. นพ.พงษ์พสทธิ์ จง ้ ิุ อุดมสุข, ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ และ สายศิริ ด่านวัฒนะ บรรณาธิการ. สถาบันวิจย ั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) กันยายน ๒๕๕๔. หมออนามัย 5
  • 6. เงินแผ่นดินนั้น คือ เงินของประชาชนทั้งชาติ นพ.วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ หัวข้อที่จั่วไว้ข้างบนนั้น คือ คำ�ขวัญที่สำ�นักงานตรวจเงิน แผ่นดิน (สตง.) ใช้เป็นปรัชญาหลักของหน่วยงานในการดำ�เนิน กิจการของสตง. เอกสารทุกหน้าที่สำ�นักงานตรวจเงินแผ่นดินใช้ ในราชการ จะมีคำ�ขวัญดังกล่าว ซึ่งเป็นพระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พิมพ์อ้างอิงไว้ แปลเป็นภาษาชาวบ้านง่ายๆว่าเงินของหลวงนัน มาจาก ้ เงินภาษีอากรของชาวบ้าน จงใช้จ่ายอย่างประหยัด คุ้มค่า และ อย่าให้รั่วไหล ในปี 2556 สตง.ได้ดำ�เนินการตรวจสอบการดำ�เนินการ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล (รพ.สต.) พบปัญหาทีอยาก ่ ฝากให้พี่น้องชาวรพ.สต.รับทราบ และพึงสำ�เหนียกไว้ให้มีความ ระมัดระวังและใส่ใจในการปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1. ข้อมูล OP visit 2 แหล่งไม่ตรงกัน (ผลสรุปของสสจ. กับส่วนที่บริการจริง ที่หน่วยบริการไม่ตรงกัน) 2. ข้อมูลจำ�นวนผูได้รบการคัดกรองเบาหวาน / ความดัน ้ ั มีจำ�นวนสูงกว่าแบบคัดกรองของพื้นที่ 3. ครุภณฑ์การแพทย์ และครุภณฑ์ส�นักงานบางรายการ ั ั ำ ไม่มีการใช้ประโยชน์ การบันทึกทะเบียนคุมครุภัณฑ์ไม่ครบถ้วน ติดหมายเลขครุภัณฑ์ไม่ครบถ้วน 4.ปัญหาการใช้งานและการบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรม พื้นฐาน 5. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อปรึกษาบริการทางการ แพทย์และสาธารณสุข (เฉพาะที่ซึ่งมีติดตั้ง) ไม่ได้ใช้ประโยชน์ 6. การบริหารจัดการคลังเวชภัณฑ์ไม่ถูกต้อง ครบถ้วน ผมคิดว่าข้อที่ชาวรพ.สต.น่าจะให้ความสำ�คัญมากเป็น พิเศษ คือ ข้อ 1 และ 2 เพราะข้อมูลที่คลาดเคลื่อนทั้ง 2 ประเด็น นั้น มีผลต่อการเบิกจ่ายเงิน ซี่งถ้ามีเรื่องเงินเป็นประเด็นเมื่อไหร่ เรื่องนั้นจะ “เข้าทาง” สตง.ทันที ข้อมูลจากผูใกล้ชดวงใน รายงานมาว่า การเข้าตรวจสอบ ้ ิ โดยเจ้าหน้าที่ของสตง.ที่ระดับ รพ.สต.นั้น มีน้อยมากๆ (เรียกว่า เฮงจริงๆถึงจะโดนตรวจ) เพราะทางสตง.มีบุคคลากรไม่เพียงพอ ทราบมาว่าแม้กระทังสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดบางแห่งในรอบ ่ 10 ปี ไม่เคยโดนสตง.เข้าตรวจเลย....เข้าข่ายว่างเว้นมานาน.... แต่อย่างไรก็ดี ผมทราบมาว่า ทางสตง.ได้จัดโครงสร้าง การบริหารราชการส่วนภูมิภาคใหม่ ทำ�ให้มีการแบ่งองค์กรเป็น ระดับเขตที่ซอยย่อยขึ้น จากเดิมสำ�นักงานตรวจเงินแผ่นดินภาค อุดรดูแล 7 จังหวัด ของใหม่จะดูแลแค่ 3-4 จังหวัด พูดง่ายๆคือ สตง.เพิ่มกำ�ลังและบุคลากร การเข้าตรวจของสตง.ที่ รพ.สต.นั้น อาจเป็นไปได้ใน 3 ลักษณะ คือ 1. สุมตรวจซอยย่อยลงไปจากระดับจังหวัดสูอ�เภอ จาก ่ ่ำ อำ�เภอสู่ตำ�บล 2. ตรวจการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้อง ถิน และย่อยไปทีหน่วยงานย่อยต่างๆทีรบงบจากท้องถินอีกที (อัน ่ ่ ่ั ่ นี้เริ่มเข้าไปเกี่ยวกับเงินทองกองทุนสร้างเสริมสุขภาพระดับตำ�บล แล้วนะครับ) 3. มุ่งตรงไปที่ รพ.สต.เลย ข้อนี้มีคนบอกว่าเกิดได้หลาย ปัจจัย เช่น ตรวจตามแผนงานโครงการเฉพาะ (เช่น โครงการไทย เข้มแข็งของรัฐบาล เป็นต้น) อีกเหตุหนึงคือ มีการร้องเรียน พร้อม ่ ด้วยเอกสารหลักฐานที่ดูแล้วมีมูล ผมอยากฝากให้พี่น้องชาวหมออนามัยทุกท่าน ได้โปรด ใส่ใจกับประเด็นทั้ง 6 ที่สตง.ตั้งข้อสังเกตุในรอบนี้ จากเอกสารชี้ แจงผการตรวจสอบ ฉบับที่ ตผ 0017/5600 ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2556 ที่ผ่านมานี้ ทางสตง.มีข้อเสนอให้กระทรวงสาธารณสุข กำ � หนดมาตรการให้ ก ระทรวงและสสจ.ดำ � เนิ น การแก้ ไขข้ อ บกพร่องดังกล่าวที่เกี่ยวโยงกับรพ.สต. ถึง 13 ข้อด้วยกัน ซึ่งพวก เราพึงสำ�เหนียกและใส่ใจระแวดระวังไว้ก็จะเป็นประโยชน์ยิ่ง หมออนามัย 6
  • 7. ปริญญา ระลึก เทคนิคการจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบาย : บทความเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน เกริ่น นำ� หลังจากทบทวนถึงการใช้ชีวิตและกิน เงินเดือนจากภาษีประชาชนก็เกิน 25 ปีไปแล้ว คิดว่าถึงเวลาต้องเขียนเรือง ่ เพื่ อ ย่ อ ประสบการณ์ ก ารทำ � งาน ของหมออนามัยคนหนึ่งตั้งแต่เคย ทำ�งานที่สถานีอนามัย โรงพยาบาลชุมชน สำ�นักงานสาธารณสุข จังหวัด สำ�นักตรวจราชการกระทรวง และสำ�นักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ มาแลกเปลี่ยนมุมมองซึ่งกันและกัน เรื่องราวที่ ว่านี้เป็นเพียง“เทคนิคส่วนตัว” ที่เป็นวิชาที่เรียนรู้จากชีวิตจริง เท่านั้น.. เรื่องราวเมื่อปี 2545 ที่สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่ง เป็นองค์กรตั้งใหม่กับงานที่รับผิดชอบทั้งงานประจำ�กับงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย ทำ�ให้ผู้เขียนได้มีโอกาสทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบาย หลายเรื่องอยู่เรื่อยๆ เช่น - ข้อเสนอเชิงนโยบาย เรื่องการจัดการวัณโรคในระบบ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (ปี 2549) - ข้อเสนอเชิงบริหาร เรื่อง การจัดตั้งศูนย์บริหารระบบ ทะเบียนของ สปสช. (ปี 2549) - ข้อเสนอเชิงนโยบายให้ยกเลิกการจำ�กัดการคุมครองเจ็บ ้ ป่วยฉุกเฉินไม่เกิน 2 ครั้งต่อปี ต่างหน่วยบริการ (ปี 2549-2550) - ข้อเสนอเชิงนโยบาย การขยายขอบเขตสิทธิประโยชน์ กรณีการให้สารทดแทนยาเสพติดชนิดฉีดหรือ Methadone Maintenance Therapy (ปี 2549-2550) - ข้อเสนอเชิงนโยบายการยกเลิกการจำ�กัดความคุมครอง ้ การคลอดไม่เกิน 2 คน กรณีบุตรมีชีวิตอยู่ (ปี 2551) ข้อเสนอเชิงนโยบายการให้หลักประกันสุขภาพสำ�หรับ บุคคลที่รอพิสูจน์สถานะ (ปี 2552) ข้อเสนอเชิงนโยบายหรือข้อเสนอเชิงการบริหารแต่ละ เรื่องมีเงื่อนไข บรรยากาศแตกต่างกันไปมีทั้งสนุก ทั้งเหนื่อย แต่ คิดในเชิงบวกเสมือนหนึงเป็นวัยรุนเดินท่องยุทธภพไปเจอจอมยุทธ์ ่ ่ ฝีมือเลิศด้านเพลงกระบี่บ้าง เพลงทวน เพลงมีดสั้นบ้าง ได้เรียนรู้ และแอบขโมยวิชาบ้างตอนทีเผลอ มีโอกาสสังเกตท่าทีของจอม ยุทธ์แต่ละแบบ แล้วมาฝึกปรือให้เป็นมวยขึ้นชกตามงานวัดก่อน แล้วขยับเข้าเวทีในเมืองใหญ่ ยอมเจ็บตัวมากบ้าง น้อยบ้าง ชนะ เสมอ แพ้คะแนน แพ้น็อคก็มี ชีวิตมันก็เป็นแบบนี้เอง ข้อเสนอ บางเรื่องทำ�เสร็จแล้วมีคนซื้อทันที บางเรื่องมีคนนั่งรอตั้งแต่ยังไม่ เสร็จ บางเรื่องถูกลูกค้าต่อว่าและให้เอากลับมาหาข้อมูลอ้างอิง เพื่อให้เป็นที่ประจักษ์ชัดแจ้ง หรือให้มันมี evidence base เพิ่ม เติมก่อนมานำ�เสนอใหม่ บางเรืองให้คนอืนเขารับไปทำ�ต่อยอดให้ ่ ่ สมบูรณ์ขน บางเรืองให้ทบทวนสถานการณ์แล้วส่งให้ผเู้ กียวข้องรับ ึ้ ่ ่ ไปจัดการต่อ องค์ประกอบและแนวทาง การพัฒนาหรือจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบายมีจุดเริ่มต้น อย่างไร มาทำ�ความเข้าใจกับที่มา ความหมาย และคำ�ถามเบื้อง ต้นก่อน ผู้เขียนจะยกตัวอย่างจากประสบการณ์จริง มีดังนี้ ข้อเสนอ (ขอยกตัวอย่างตามความเข้าใจของผูเขียนครับ) ้ หมายถึง สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ (Product) ที่ผ่านกระบวนการ ผลิตอย่างมีระบบ มีระเบียบวิธีน่าเชื่อถือทั้งด้านวิทยาศาสตร์และ สังคมศาสตร์ อาจสกัดมาจากรายงานการวิจย การประชุมปรึกษา ั หารือ การระดมสมอง การสัมภาษณ์ การเปิดรับฟังความเห็น การ สำ�รวจความคิดเห็น เป็นต้น ข้อเสนอเชิงนโยบายกับข้อเสนอเชิงการบริหารจัดการ แตกต่างกันอย่างไร น่าจะแตกต่างที่ระดับความสำ�คัญกับขนาด ของผลกระทบ ข้อเสนอเชิงนโยบายจะมีผลต่อสังคมและประชาชน หมออนามัย 7
  • 8. ในวงกว้างกว่า ส่วนข้อเสนอเชิงการบริหารหรือเชิงการจัดการ ผู้ที่มีอำ�นาจหรือองค์คณะ ที่ส่วนใหญ่จะมีเวลาอ่านไม่มาก ยิ่งสั้น น่าจะมีขอบเขตผลกระทบภายในองค์กรหรือหน่วยงานใดหน่วย กระชับได้ยิ่งดี งานหนึ่งเท่านั้น ถัดมาคือการทบทวนผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง (review literature & evidence base) ขั้นตอนนี้จะชักแม่น้ำ�ทั้ง 5 หรือ เหตุผลสำ�คัญที่ทำ�ให้ต้องจัดทำ�ข้อเสนอ คำ�ถามนี้สำ�คัญ ทั้งสิบมาก็ได้ แต่ขอให้ตรงประเด็น เช่น เรื่องนี้มันเป็นปัญหาที่ เพราะประการแรกเนื่องจากมีความต้องการหรือมีปัญหาหรือมี เรื้อรังมานานแล้ว มีคนวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้แล้วที่พื้นที่นั้นๆ แล้ว ความไม่ชดเจนหรือความไม่แน่นอนเกิดขึนในระบบ/สังคม/หน่วย แต่ยังไม่ครอบคลุมขอบเขตอื่น มีปัญหาของการเข้าไม่ถึงบริการ ั ้ งาน/องค์กร จึงต้องมีข้อเสนอเพื่อให้มีทางออกหรือทางเลือกใน พื้นฐาน มีความไม่เสมอภาคและไม่เป็นธรรม มีการริดรอนสิทธิ การตัดสินใจของผู้มีอำ�นาจ ช่วยให้การตัดสินใจของผู้มีอำ�นาจมี เสรีภาพ มีการขาดช่วงของข้อมูลข่าวสาร มีการกระทำ�ผิดต่อ ความเป็นวิชาการรองรับจะได้ตัดสินใจแบบไม่มั่ว ประการถัด ระเบียบแบบแผนที่กำ�หนดไว้ซ้ำ�ซากและหรืออื่นๆ อีกมากมาย มาอาจเนื่องจากความต้องการทำ�ให้ดีกว่าที่เป็นอยู่ ทำ�ให้ดีกว่า แล้วแต่จะสรรหามาได้ ปัจจุบันมีตัวช่วยที่สามารถจัดหาข้อมูลให้ เดิม ต่อยอดการพัฒนาให้ทิ้งห่างคู่แข่งสำ�คัญ ไม่ยอมจมนิ่งกับ ได้ตามที่ต้องการที่รวดเร็ว ทันใจพอสมควรเช่น Google เป็นต้น ความสำ�เร็จของอดีตและปัจจุบัน เหตุผลนี้อาจมีความเกี่ยวข้อง การทบทวนข้อมูลส่วนนีในข้อเสนอเชิงนโยบายไม่ควรจะยาวมาก ้ กับองค์กรภาคธุรกิจที่มุ่งแสวงหากำ�ไร ในรายละเอียดคงขอข้าม เกินไปเช่นกัน หากมีรายละเอียดมากให้มีช่องให้ตามต่อทางเอก ไปเพราะผู้เขียนไม่ได้เชี่ยวชาญในด้านนี้แต่อย่างใด และอาจมี สารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม ประการ เหตุปัจจัยอื่นๆ อีกมากมายที่ไม่สามารถนึกถึงได้.. ข้อเสนอมีทางเลือกอะไรบ้าง (options หรือ choice หรือ กรอบ สาระสำ�คัญของข้อเสนอ ข้อนีจะเริมลงรายละเอียด alternative) ข้อนีจะเป็นหัวใจทีส�คัญทีสดของข้อเสนอ หลายคน ้ ่ ้ ่ำ ุ่ เท่าที่สัมผัสมาส่วนใหญ่ไม่ได้มีการกำ�หนดเป็นพิมพ์เขียวบังคับว่า อาจจะเคยได้ยนคำ�ถามของผูบริหารทีแกล้งทำ�ไม่รไม่ชหลังจากรับ ิ ้ ่ ู้ ี้ ต้องมีองค์ประกอบอะไรบ้าง ตามประสบการณ์ของผู้เขียนที่เคย ฟังปัญหาของลูกน้องอยู่บ่อยๆว่า “ที่พูดมาทั้งหมดต้องการอะไร? ทำ�วิจัยเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพและวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท มีทางออกอะไรบ้าง? ทางเลือกแต่ละข้อมีข้อดีข้อเสียจุดดีจุดด้อย เห็นว่าควรจะมีองค์ประกอบซึ่งอาจจะแตกต่างกันไปบ้าง เช่น อย่างไร? ใช้เงินเท่าไหร่? จากไหน? ผลประโยชน์ที่ประชาชนจะได้ ความเป็นมาและความสำ�คัญของปัญหาหรือปัญหางานวิจัย (re- คืออะไร? จะมอบหมายใครรับไปทำ�ต่อ? จะต้องไปขัดแข้งขัดขาใคร search questions & questions of research) ข้อนีชดเจนตรงไป เหยียบตาปลาใครหรือเปล่า?” มาเป็นชุดๆ งานเข้าละครับทีนี้พี่ ้ั ตรงมา เพราะปัญหาหรือทุกข์คออะไร ต้องการจะบอกอะไร ปัญหา น้องเอ๋ย ื นั้นมีกระทบต่อชีวิต ทรัพย์สิน งบประมาณอย่างไร มีอุปสรรค เป็นธรรมดาทุกคนต้องทำ�หน้าที่ใครหน้าที่มัน เช่น นัก หรืออาการสำ�คัญที่บิดเบือน เบี่ยงเบนไปจากจากภาวะปกติวิสัย วิชาการก็ต้องทำ�หน้าที่จัดทำ�ทางเลือก ข้อเสนอให้ผู้บริหารได้ อย่างไร มีตวเลขข้อมูลมาแสดงจากไหน หากเป็นข้อมูลทีสามารถ ตัดสินใจและประเมินวัดผลการทำ�งานของผู้ปฏิบัติงานแล้วจัด ั ่ เทียบเคียงกับระดับโลกหรือภูมิภาคหรือระดับประเทศก็จะเพิ่ม ลำ�ดับ (ranking) ให้ผู้บริหารได้ตัดสินใจจัดสรรทรัพยากร รางวัล ความน่าสนใจมากขึ้น จากนั้น มาร้อยเรียงให้น่าอ่าน ประเด็นนี้ ความดีความชอบตามผลงาน ส่วนผู้ปฏิบัติงานจะมีหน้าที่ทำ�งาน มีความสำ�คัญเพราะการเขียนที่ดีเป็นขั้นเป็นตอน เพราะเป็นการ ด้วยวิชาการรองรับและได้รบการดูแลเอาใจใส่ สนับสนุนทรัพยากร ั เริ่มต้นจูงใจให้คนอ่านมีความโน้มเอียงและสนใจอยากจะอ่านให้ ที่ เ พี ย งพอจากผู้ บ ริ ห าร สำ � หรั บ ผู้ บ ริ ห ารจะทำ � ตั ด สิ น ใจด้ ว ย จบ ในงานวิจัยหรือวิทยานิพนธ์อาจจะร่ายยาวพอสมควร เป็น ข้อมูลที่เป็นวิชาการและสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานได้ทำ�งานเต็มที่ ภาคบังคับที่อาจารย์ต้องการให้คนเรียนขยันค้นคว้าหาข้อมูลให้ สอดคล้องสัมพันธ์กันทั้งผู้บริหาร นักวิชาการ ผู้ปฏิบัติงาน มาก แต่ข้อเสนอเชิงนโยบายควรจะย่อลงมาให้สั้นไม่ควรเกินหนึ่ง ดังนั้นเมื่อมีความถามเป็นชุดจากผู้บริหารย้อนกลับมา หน้ากระดาษ A4 เนื่องจากข้อเสนอจัดทำ�ขึ้นเพื่อให้ผู้บริหารหรือ นักวิชาการเองก็ต้องมีท่าทีที่ smart พอ ต้องมีของดีพร้อมที่จะ หมออนามัย 8
  • 9. ล้วงออกมาจากกระเป๋าเหมือนแมวหุ่นยนต์โดราเอมอนให้เห็นว่า ทำ�การบ้านมาเหมือนกัน ซึ่งความจริงในโลกนี้หนีไม่พ้นธรรมะที่ สมเด็จพระศาสดาศาสนาพุทธตรัสไว้เมื่อ 2500 กว่าปีมาแล้วคือ “อริยสัจ 4 : ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค” ผ่านมาสู่ยุคโลกาภิวัตน์ มีหลักการของฝรั่งบอกว่าก็ 5 W กับ 1 H นั่นแหล่ะ “What Why Where When Whom How” ตอนนีมาถึงขันนิโรธกับมรรคและ ้ ้ How ว่าจะอย่างไรต่อ เพราะทุกข์หรือปัญหาก็ทราบแล้ว สาเหตุ ของปัญหาก็ทบทวนแล้ว เกิดที่ไหน เมื่อไหร่ ก็ทราบหมดแล้ว แล้วยังไงต่อ ?? เคยได้ยนคำ�ว่า “เปลียนปัญหาหรือวิกฤติให้เป็นโอกาส” ิ ่ อยูบอยๆ ไหมครับ ผูเขียนขอใช้ค�ว่า “หนามยอก เอาหนามบ่ง” ่ ่ ้ ำ และขอยกตัวอย่างปัญหาแต่ละเรื่องให้ชัดๆ เช่น ปั ญ หาไม่ มี โ ครงสร้ า ง ไม่ มี ร ะบบ ไม่ มี น โยบายหรื อ ยุทธศาสตร์ไม่มีเจ้าภาพที่ชัดเจน ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่ หนามบ่งที่ว่า นี้หมายถึงการเสนอหรือกำ�หนดให้มีขึ้น ไม่ว่าจะเป็นโครงสร้าง ที่มีกฎหมายรองรับ หรือให้ทำ�หน้าที่ชั่วคราวภายใต้หน่วยงาน หรือคณะกรรมการ จะใช้คนเท่าไหร่ ทำ�หน้าที่ภารกิจหลักอะไร บ้าง หน้าที่ประสานกับหน่วยงานอื่นๆ อย่างไร หรือปัญหาจากมี โครงสร้างแล้วหลายหน่วยด้วย แต่ขาดการสื่อสาร ประสานงาน กันไม่ได้ เลยไม่มีเจ้าภาพรับผิด รับชอบ แบบนี้เสนอให้บูรณาการ หรือยุบรวมหรือตั้งใหม่ได้เลย ปัญหาไม่มีเงินมาขับเคลื่อนกลไก ภารกิจ ก็ต้องเสนอวิธี ให้ได้มา อาจจะจากงบประมาณแบบปกติหรือไม่ปกติ จากการ ระดมทุน ทอดผ้าป่าหรือขอบริจาค เป็นหน้าที่ของผู้บริหารครับ นักวิชาการมีหน้าที่เสนอทางเลือกเท่านั้น เมื่อเสนอวิธีการเพื่อ ให้ได้มาของงบประมาณหรืออาจจะมีเงินแล้ว แต่ปญหาคือจะจ่าย ั แบบไหน ผ่านใคร จ่ายเท่าไหร่ แบบเดิมดีอยู่แล้วหรือจะกระตุ้น เพิ่ม เสริมตรงไหน ที่คาดว่าน่าจะเกิดประสิทธิภาพ คุ้มทุน ได้งาน ประเด็นเหล่านีตองวิเคราะห์ให้ละเอียด อาจปรึกษาผูรหลายๆ คน ้้ ้ ู้ ก็ได้ เพื่อจะได้เป็นหลังพิงให้ถูกด่าน้อยลง.. ปัญหาขาดคนทำ�งาน อาจเสนอให้ลงทุนสร้างแรงจูงใจ พร้อมกับใส่ปจจัยเงือนไขอืนๆ (intervention & innovation) เติม ั ่ ่ ลงไป เช่น การจัดการให้คนได้มีความภาคภูมิใจในงาน ให้ได้รู้สึก ว่ายังมีคุณค่าความเป็นคนที่ไม่ได้ด้อยกว่าคนอื่นๆ การได้มีโอกาส พัฒนาต่อยอด การได้มีโอกาสเสนอความเห็น ได้เปิดหู เปิดตา การจัดหาคนเพื่อให้เหมาะสมสอดรับกับงาน ปัญหาไม่มบริการหรือบริการไม่ดกจดการให้มบริการ จะ ี ี็ั ี ทำ�ขึนเองหรือซือบริการผ่านคนอืนหรือสนับสนุน ร่วมมือกับคนอืน ้ ้ ่ ่ มาร่วมลงทุนเพื่อจัดให้มีบริการ หรือมีปัญหาจากการที่มีบริการ แล้วแต่ชาวบ้านยังเข้าไม่ถึงบริการเนื่องจากมีม่านกำ�แพงกั้น ก็ ทลายกำ�แพงกั้นซะแต่ต้องลงแรงพร้อมเครื่องไม้เครื่องมือ รื้อกฎ ระเบียบที่ไม่สนับสนุนหรือเอื้อต่อการเข้าถึงบริการ โดยมองจุด หมายปลายทางว่าประชาชนต้องได้รบประโยชน์ ั คือ สะดวก พอใจ เข้าถึง อายุยืนยาว มากขึ้น สุดท้ายคือ ทุกคนมีรอยยิ้ม กันถ้วนหน้า แบบ win win win ทางเลื อ กแต่ ล ะประเด็ น อาจ วิ เ คราะห์ ข้ อ ดี ข้ อ ด้อยหรือ SWOT แล้วให้คะแนนไว้ดวยก็ได้ อาจขุดความรูเ้ ก่าทีเ่ คย ้ ใช้เป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนการจัดลำ�ดับความสำ�คัญของปัญหา ตั้งแต่เรียนปริญญาตรี เช่น ความยากง่ายของการแก้ปัญหา ผลก ระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ งบประมาณ การมีส่วนร่วมในการแก้ ปัญหา ระดับความรุนแรงที่มีต่อชีวิตมนุษย์ เป็นต้น ต้นทุนเบื้องต้นที่ควรจะมี ตอนสุดท้ายนีเ้ ป็นเรืองต้นทุนเฉพาะตัวเอามาแลกเปลียน ่ ่ กัน เมื่อครั้งเป็นเด็กเคยเห็นสติกเกอร์ที่กระเป๋ารถเมล์ติดไว้ให้ผู้ โดยสารอ่านเพลินๆ เช่น “ชีวตคือการต่อสูศตรูคอยากำ�ลัง” “สตรี ิ ้ั ื คือศัตรู” “ประมาทคือฆาตกร” “กางเกงยีนส์ที่ลูกใส่คือเหงื่อไคร ของพ่อแม่” (ซึ่งไม่ได้เกี่ยวกับข้อเสนอเชิงนโยบายนะครับ) พอ โตเป็นหนุ่มไปเรียนหนังสือต่างถิ่น กับเพื่อนร่วมรุ่นเป็นร้อยเป็น ชายล้วนๆ แต่ก็มีแอ๊บแมนประมาณซักสิบกว่าคนได้ ถัดมาในวัย ทำ�งานช่วงย้ายเข้าเมืองหลวงตามคำ�เชิญชวนแกมบังคับของนาย แพทย์สาธารณสุขจังหวัด หลังเลิกงานนั่งรถเมล์กลับที่พัก ผ่าน ไปกีปายไม่วาป้ายไหนจะมีสดส่วนผูคนทีเ่ ป็นเพศหญิงมากกว่าชาย ่ ้ ่ ั ้ ประมาณ 5 : 1 ชายที่เป็นเพียงหนึ่งนั้นก็กลายเป็นเกย์บ้าง ตุ๊ด บ้าง เออ มันเกิดอะไรขึ้น??? ผู้ เขี ย นกำ � ลั ง แลกเปลี่ ย นเรื่ อ งการสั ง เกตและการตั้ ง คำ�ถามหรือการมี research mind เป็นต้นทุนพื้นฐาน ผ่านหลาย เหตุการณ์เข้าอาจจะจำ�ไม่ได้ ก็ควรมีไดอารี่ช่วยบันทึกความจำ�ว่า วันนี้คุยกับใคร เรื่องอะไร โดนด่าไปกี่ดอก หรือว่าวันนี้เดินทาง ไปไหน พักโรงแรมอะไร ห้องเบอร์ไหน ใช่ห้องที่เขาลือกันว่ามีผี หมออนามัย 9
  • 10. ดุๆ รึเปล่า? วันนี้วิ่งไปกี่กิโลเมตร รวมสะสมทั้งเดือนเป็นเท่าไหร่? เขียนไว้ไม่เสียหลาย บางวันหยิบไดอารี่เก่ามานั่งอ่านย้อนหลังไป เมื่อยี่สิบห้าปีที่แล้ว มีบันทึกการนับถอยหลังอีก 6 เดือนจะถึงวัน สอบเอ็นทรานซ์หรือเคยแอบประทับใจคนบางคนแต่ไม่กล้าแม้จะ เอ่ยคำ�จนพ้นจากรั้วโรงเรียนแห่งนั้นมา ฯลฯ เมือตังคำ�ถามได้กคงอยากจะหาคำ�ตอบหรือสาเหตุมนเกิด ่ ้ ็ ั จากอะไรในแต่ละเหตุการณ์ ทำ�ไมถึงอยากรู้อยากเห็น ต้องคอย ถามและเตือนสติตวเองเหมือนกัน แค่ท�วิทยานิพนธ์กว่าโครงร่าง ั ำ จะลงตัวได้ตองตีเส้นกำ�หนดกรอบความต้องการให้ตวเอง เพราะ ้ ั มันฟุ้งอยากรู้หลายเรื่องพร้อมกัน มหาวิทยาลัยเขาหวังดีบอกเรา เป็นนัยว่าอย่าโลภมากเลยเอาให้จบก่อน หลังจากนันคุณอยากจะ ้ รู้อะไร อยากทำ�อะไรก็ไม่มีใครว่า เคยได้ยินมาว่าฝรั่งบางคนหาก อยากจะรู้อะไรซักเรื่อง เขาจะตั้งใจทุ่มเททั้งชีวิตเพื่อศึกษาเรื่อง นั้นๆ ส่วนผู้เขียนคงไม่มีมานะขนาดนั้น เอาเป็นว่าเมื่อมีวัตถุดิบ แล้วจากการบันทึก การได้เห็น การได้ยินมา การมีความอยาก ถัดมาคือการเขียน เพื่อสื่อความหมายออกไป การเขียนที่เกิดจาก ความต้องการอยากให้คนอื่นได้อ่าน หรือถูกบังคับให้เขียน หรือ ยินดีเต็มใจเพราะเป็นหน้าที่ แต่ละอย่างจะส่งผลต่อผลผลิตทีแตก ่ ต่างกันไป ประเด็นแลกเปลียนถัดมาคือ การเขียนบทความหรือเขียน ่ นิยายมันเป็นพรสวรรค์เป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนพอสมควร กวีซีไรท์ แต่ละคนแต่ละปีแต่ละเรื่องกว่าจะมาถึงตรงนั้นได้ไม่รู้ผ่านอะไร มาบ้าง หรือนิยายหนังหลังข่าวทั้งหลาย ผู้แต่งเรื่องเขาใช้เวลา เขียนเท่าไหร่ เขียนที่ไหน กว่าจะมาเป็นหนังมีตัวละครตัวเป็นๆ ทางจอทีวี ก็เคยตั้งคำ�ถามนี้เหมือนกัน กลับมาที่ผู้เขียนเคยเขียน บทความเรื่องแรกเมื่อปี 2540 เรื่อง การกระจายอำ�นาจเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืนส่งไปถูกกองบรรณาธิการแก้เละตุ้มเปะ กว่าจะได้ ลงเล่มวารสารเวลาผ่านไปอีกสองปีถัดมา ได้ค่าขนมมานิดหน่อย แต่กเ็ ป็นกำ�ลังใจให้ฮกเหิมได้พอสมควร ปัจจุบนหากถูกมอบหมาย ึ ั ถัวงอกมาผูเขียนจะถามก่อนว่า “ต้องการเมือไหร่ครับ” เพือจะได้ ่ ้ ่ ่ วางแผนชีวิตงานประจำ�กับงานถั่วงอก กับชีวิตครอบครัว ส่วนตัว ให้สมดุล จากนั้นมากำ�หนดขอบเขตหรือที่เค้าเรียกว่า out line กรอบประเด็นสำ�คัญหรือ key word คืออะไร จดๆใส่กระดาษยัด ใส่กระเป๋าเสื้อไว้ก่อนก็ได้ บางครั้งเวลาที่ไอเดียบรรเจิดอาจเป็น ตอนนังในห้องน้�บ้าง หรือตอนวิงออกกำ�ลังตอนเช้าได้เห็นเด็กวัย ่ ำ ่ รุ่นชายหญิงที่มีอารมณ์ค้างจากเมื่อคืนยังนั่งร่ำ�ดื่มไม่เลิกราก็มี ช่วงสำ�คัญถัดมาคือการหาช่วงเวลาที่มีอารมณ์ที่พร้อม อยากจะเขียน ไม่ควรเครียดมาก ไม่ควรเป็นจังหวะงานประจำ�ยุ่ง มาก ไม่ควรเป็นช่วงเจ็บป่วย ควรเขียนให้ตอเนืองไล่ตาม out line ่ ่ เสร็จแล้วส่งให้หัวหน้าหรือพรรคพวก เพื่อนฝูงช่วยอ่านก่อน เพื่อ ตัดต่อ แก้ไข ดูความครบถ้วนของการนำ�เสนอ ว่ามีองค์ประกอบ สำ�คัญครบหรือไม่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค หรือ 5 W 1 H ที่ว่า หรือที่ศัพท์ฝรั่งเขาใช้ว่า systematic approach จากการมี systematic thinking จากการได้อ่าน ได้เห็น ได้ทบทวนวิเคราะห์ อย่างหลากหลายหรือ meta-analysis ก่อนเตรียมการนำ�เสนอ ต่อผู้มีอำ�นาจไปดำ�เนินการต่อ ผูเ้ ขียนจะมีขอความ การสังเกต การตังคำ�ถาม การบันทึก ้ ้ เหตุการณ์ การกำ�หนดกรอบความต้องการ การกำ�หนดขอบเขต เรื่อง การกำ�หนดข้อความสำ�คัญในเรื่อง การเขียน การตรวจสอบ ทาน ซึงไม่นาจะเป็นอะไรทียากเกินกว่าจะเข้าใจ หรือแลกเปลียน ่ ่ ่ ่ ซึ่งกันและกันได้ แรงดลใจสำ�หรับงานเขียนครังนี้ คือต้องการคืนองค์ความ ้ รู้กลับคืนให้กับสังคม หน่วยงานที่ได้ให้โอกาส ให้เวลา ให้ความ รู้สึกที่ดี ให้บรรยากาศที่ดี กับความต้องการส่วนตัวที่อยากเขียน เรื่องราวนี้ไว้ก่อนจะลืมเลือนไปครับ. หมออนามัย 10
  • 11. การตรากฎหมายวิชาชีพสำ�เร็จ : ผลกระทบในช่วงเริ่มต้นของวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน สงครามชัย ลีทองดี : songkramchai@gmail.com กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน เริมต้นอย่าง ่ เป็นทางการโดยการประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๖ ภายหลังจากที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างกฎหมายเมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ทำ�ให้เราได้ พ.ร.บ. วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๖ อย่างสมบูรณ์หลังการต่อสู้อย่างยาวนานกว่า ๒๐ ปี มีเกร็ดทีควรบันทึกไว้เป็นประวัตศาสตร์คอวันทีพระบาท ่ ิ ื ่ สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ ทรงลงพระปรมาภิ ไ ธยคื อ วั น ที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ หากนับย้อนหลังไปเมื่อวันเดียวกันคือ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๔๖๑ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งกรมสาธารณสุขขึ้นเป็นครั้งแรกและกรม สาธารณสุขได้พัฒนามาเป็นกระทรวงสาธารณสุขในเวลาต่อมา ทางราชการจึงกำ�หนดให้วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ของทุกปี เป็นวัน สาธารณสุขแห่งชาติ เรืองนีเป็นความบังเอิญหรือจงใจก็สดจะคาด ่ ้ ุ เดาแต่ก็เกิดขึ้นแล้ว ประเด็นทีจะต้องทำ�ความเข้าใจคือการเริมต้นของวิชาชีพ ่ ่ ด้านสุขภาพล่าสุดนี้จะเริ่มกันอย่างไร สภาการสาธารณสุขชุมชนชุดเริ่มต้น การเริ่มต้นของวิชาชีพตามกฎหมายเป็นอันดับแรกคือการจัดตั้ง สภาวิชาชีพซึงในกฎหมายเรียกว่า “สภาการสาธารณสุขชุมชน” ่ องค์กรนีจะมีบทบาทสำ�คัญในการดำ�เนินงานตามกฎหมายวิชาชีพ ้ ฉบับนี้ องค์ประกอบทีส�คัญคือกรรมการสภาวิชาชีพในชุดเริมแรก ่ำ ่ กฎหมายกำ�หนดไว้ตามความในมาตรา ๕๐ ดังนี้ “มาตรา๕๐ ในระยะเริ่มแรกที่ยังไม่เลือกกรรมการ..ให้ กรรมการประกอบด้วย ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นนายกสภา การสาธารณสุขชุมชน ให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุขแต่งตั้งนิติกร เชี่ยวชาญด้านกฎหมายของสำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข หนึงคนเป็นกรรมการ ผูอ�นวยการสำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ ่ ้ำ สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผู้อำ�นวยการสำ�นักสถาน พยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ผู้อำ�นวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคเอกชน กรมสนับสนุน บริการสุขภาพ คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิ ด ล ผู้ อำ � นวยการสถาบั น พระบรมราชชนก นายกสมาคม วิชาชีพสาธารณสุข อุปนายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุข เลขาธิการ สมาคมวิชาชีพสาธารณสุข เป็นกรรมการ ทีปรึกษาสมาคมวิชาชีพ ่ สาธารณสุขซึงนายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุขแต่งตังหนึงคน เป็น ่ ้ ่ กรรมการ ให้นายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุขทำ�หน้าที่เลขาธิการ และเป็นเลขานุการคณะกรรมการ” บุคคลดังกล่าวรวม ๑๑ คน ซึงได้แก่ ๑) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ่ ๒) นิติกรของ สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ๓) ผู้อำ�นวย การสำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ สปสธ ๔) ผู้อำ�นวยการสำ�นัก สถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรม สบส ๕) ผูอ�นวย ้ำ การกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรม สบส ๖) คณบดี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๗) ผู้อำ�นวยการ สถาบันพระบรมราชชนก ๘) นายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุข ๙) อุปนายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุข ๑๐) เลขาธิการสมาคมวิชาชีพ สาธารณสุข ๑๑) ทีปรึกษาสมาคมวิชาชีพสาธารณสุข จะทำ�หน้าที่ ่ เป็นสภาการสาธารณสุขชุมชนในช่วงเริ่มต้น ซึ่งผมจะขอเรียกว่า กรรมการสภาการสาธารณสุขชุมชนตามบทเฉพาะกาล เพื่อทำ� หน้าที่สำ�คัญตามมาตรา ๕๑ กล่าวคือ “มาตรา ๕๑ ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๕๐ มีอำ�นาจ หน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) ออกระเบียบว่าด้วยการรับสมัครสมาชิกและค่าขึ้น ทะเบียนสมาชิก และดำ�เนินการรับสมัครสมาชิกภายในเก้าสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง (๒) ออกระเบียบว่าด้วยการเลือก การเลือกตั้ง และการ แต่งตั้งบุคคลตามมาตรา ๑๖ หมออนามัย 11
  • 12. (๓) จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการตามมาตรา ๕๐ ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ครบกำ�หนดเก้าสิบวันตาม (๑) เพื่อ อนุมัติระเบียบ ตาม (๒) (๔) ดำ�เนินการให้ได้มาซึ่งกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๒) (๕)​ ละ (๖) การแต่งตั้งกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๗) ภายในหก แ สิบวันนับแต่วันที่มีการประชุมอนุมัติระเบียบตาม (๓) (๕) ปฏิบตการอืนเท่าทีจ�เป็นเพือให้เป็นไปตามพระราช ัิ ่ ่ำ ่ บัญญัติ นี้ ...” เมื่ อ พิ จ ารณาโดยสรุ ป จะเห็ น ว่ า กรรมการดั ง กล่ า วจะ ทำ�หน้าที่ ห้าประการ ตามบทบัญญัติมาตรา ๕๑ ซึ่งเป็นการ รับสมัครสมาชิกและขึ้นทะเบียนสมาชิก ออกระเบียบเพื่อให้มี การเลือกสมาชิกสภาการสาธารณสุขชุมชนเพื่อได้กรรมการสภา การสาธารณสุขชุมชนทั้งหมดที่สมบูรณ์ตามกฎหมาย ซึ่งเมื่อนับ เวลาขั้นสูงทั้งหมดกระบวนการเพื่อได้มาซึ่งกรรมการสภาการ สาธารณสุขชุมชนทังหมดใช้เวลาหนึงร้อยแปดสิบวันหรือหกเดือน ้ ่ โดยนับตังแต่วนทีปลัดกระทรวงสาธารณสุขแต่งตังคณะกรรมการ ้ ั ่ ้ ตามบทเฉพาะกาลครบทุกคนเรียบร้อยแล้ว ตรงนี้เป็นประเด็น ที่สำ�คัญมาก แต่ข้อมูลในวันที่เขียนต้นฉบับยังไม่ปรากฎว่าทาง ปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้แต่งตั้งกรรมการตามบทเฉพาะกาล แล้วแต่อย่างใด แต่จนกว่าท่านจะได้อ่านข้อเขียนนี้อาจจะมีการ ประกาศแล้วก็ได้ แต่อย่างไรก็ดเี ทือนับตังแต่วนแต่งตังกรรมการชุด ่ ้ ั ้ เริมต้นตามบทเฉพาะกาลนี้ ต้องใช้เวลาทั้งสิ้นไม่เกินหกเดือน จาก ่ การประมาณตามนีกคงประมาณกลางปีจงจะได้กรรมการสภาการ ้็ ึ สาธารณสุขชุมชนชุดสมบูรณ์ หากไม่มีเหตุการณ์อื่นที่ทำ�ให้เงื่อน เวลาต้องคลาดเคลื่อนออกไป บทวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นจากการตรากฎหมายวิชาชีพ การสาธารณสุขชุมชน ตามรูปการนีมประเด็นทีตองวิเคราะห์เพือให้เห็นเส้นทาง ้ี ่้ ่ เดินของกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน ประเด็นคือ 1. การขึ้ น ทะเบี ย นสมาชิ ก ที่ เ ป็ น บทบาทของคณะ กรรมการชุดเริ่มแรกตามบทเฉพาะกาลนี้จะกำ�หนดคุณสมบัติผู้ที่ จะสามารถขึ้นทะเบียนสมาชิกอย่างไร 2. สถาบั น การศึ ก ษาจะต้ อ งเตรี ย มการอย่ า งไรกั บ หลักสูตรที่ผลิตกำ�ลังคนสาขานี้ 3. หน่วยงานที่เป็นผู้ใช้บัณฑิตจะต้องกำ�หนดเกณฑ์การ รับเข้าทำ�งานสำ�หรับ ประเด็นแรก การขึ้นทะเบียนสมาชิกในตอนเริ่มต้น ประเด็นนี้มีหลักกฎหมายว่าผู้ขึ้นทะเบียนจะต้องมีความ รู้ในวิชาชีพการสาธารณสุข โดยได้รับปริญญาหรือเทียบเท่า หรือ อนุปริญญาในทางนี้ การตีความว่าปริญญาหรืออนุปริญญาใดบ้าง เป็นความรูในวิชาชีพการสาธารณสุขเป็นโจทย์ใหญ่ทตองตัดสินใจ ้ ี่ ้ เป็นที่ทราบดีว่า ปริญญาหรืออนุปริญญาทางสาธารณสุขในบ้าน เรามีหลากหลายมากนัก ทั้ง ประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต เป็นต้น ตรงนี้เป็น เรื่องที่เกี่ยวข้องกับผู้คนเป็นจำ�นวนมาก ต้องชัดเจนในประเด็นนี้ อย่างมาก ประเด็นที่สอง สถาบันการศึกษาด้านสาธารณสุข จะต้องปรับ เปลี่ยนอย่างไร ประเด็นนี้อาจจะยังพอมีเวลา แต่อย่างไรก็ดีไม่มากนัก ด้วยเพราะเมือกฎหมายตราออกมาแล้ว สถาบันการศึกษาทังหลาย ่ ้ ต้องกลับไปทบทวนว่า หลักสูตรของตนสามารถผลิตบุคลากรทีจะ ่ ปฏิบัติหน้าที่ได้ตามบทบาทที่กำ�หนดไว้ในกฎหมายวิชาชีพอย่าง ครบถ้วนหรือไม่ ตรงนี้จะส่งผลให้เกิดการปรับปรุงหลักสูตรของ สถาบันการศึกษาทั้งหมดในที่สุด ประเด็นที่สาม หน่วยงานผู้ใช้บัณฑิต ต้องปรับเปลี่ยนการรับ บุคคลเข้าทำ�งาน ประเด็นนีกส�คัญๆพอกันว่าจะกำ�หนดหลักเกณฑ์การรับ ้็ำ บุคคลเข้าทำ�งานนั้น จะต้องกำ�หนดว่าบุคคลนั้นๆได้ขึ้นทะเบียน และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแล้ว ด้วยหรือไม่ มิเช่นนั้น ก็จะเป็นประเด็นต้องด้วยข้อห้ามของกฎหมายที่เป็นการคุ้มครอง วิชาชีพไว้มให้ผอนมาประกอบวิชาชีพนี้ หากไม่ได้ขนทะเบียนและ ิ ู้ ื่ ึ้ ได้รับใบอนุญาต หมออนามัย 12
  • 13. สามประเด็ น ที่ ย กขึ้ น มากล่ า วในที่ นี้ นั้ น เป็ น ประเด็ น สำ�คัญและเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องมีการปรับเปลี่ยน อย่างเร่ง ด่วนที่สุดคือประเด็นแรกที่จะต้องตัดสินใจโดยกรรมการสภาการ สาธารณสุขชุมชนชุดเริมแรก เป็นผลกระทบทีส�คัญทีจะเกียวข้อง ่ ่ำ ่ ่ กับการออกแบบระบบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนที่เกิดขึ้นตาม กฎหมายเป็นครั้งแรกของไทย เป็นเรื่องที่เกี่ยวเนื่องกับบุคคล สถาบันทั้งผู้ผลิตและผู้ใช้ โดยมีเป้าหมายสำ�คัญที่จะยกระดับ มาตรฐานวิชาชีพการสาธารณสุขขึ้นในครั้งนี้ บทสรุป การเริ่มต้นการเป็นวิชาชีพโดยการผลักดันกฎหมายให้ มีกฎหมายวิชาชีพ แม้เราจะเห็นว่าเป็นเรื่องยากเย็นและใช้ความ อดทนและเพียรพยายามอย่างมาก แต่การที่จะออกแบบระบบ การจัดการวิชาชีพเป็นเรื่องที่สำ�คัญและยากไม่น้อยกว่ากันเลย พวกเราชาวหมออนามัยส่วนใหญ่ยอมได้ผลไม่วาเป็นทางตรงหรือ ่ ่ ทางอ้อมต่อการตรากฎหมายครังนี้ เป็นเรืองทีตองสนใจและเข้าใจ ้ ่ ่้ ควรติดตามด้วยสติและมีข้อมูลที่ถูกต้องโดยไม่ตื่นตระหนก และ ก้าวไปสูการเป็นผูประกอบวิชาชีพทีมคณภาพและมาตรฐาน ตาม ่ ้ ่ีุ เจตนารมณ์ของการตรากฎหมายได้อย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์ ต่อประชาชน ต้องติดตามเรื่องนี้อย่างต่อเนื่องและใช้ปัญญาเพื่อ เข้าใจเรื่องราวอย่างถูกต้องครับ หมออนามัย 13