SlideShare a Scribd company logo
ความเชื่อมโยงของ
วิทยาศาสตร์กับ 5 คิด
ED487104 THINKING AND PROBLEM
SOLVING IN LEARNING OF SCIENCE
AND TECHNOLOGY
1
4
2
3
Presented by
635050007-9 Penpitcha Pianying
Outline 01
02
03
04
การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking)
การคิดอย่างมีวิจารณญาน (Critical Thinking)
การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving Thinking)
05 การคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking)
06 Videoclip ในหัวข้อหากเราเป็นรัฐมนตรีศึกษาธิการจะทานโยบายอะไร
เกี่ยวกับการคิดเพื่อบูรณาการในการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในชั้นเรียน
การคิดวิเคราะห์
(Critical Thinking)
การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking)
การเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ให้ได้ผลที่ดีนั้นต้องเรียน
ให้มีจุดหมาย มีวัตถุประสงค์ในการเรียน และมีการ
กลั่นกรองข้อมูลที่ได้รับมาเนื่องจากวิชาวิทยาศาสตร์มี
เนื้อหาที่เยอะ มีความซับซ้อนของข้อมูล และมี
รายละเอียดที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการคิดเป็นลาดับ
ขั้นตอน มีการแยกเนื้อหาเป็นส่วนๆสรุปใจความสาคัญ
หาส่วนสาคัญ แยกแยะองค์ประกอบต่างๆและสามารถ
เชื่อมโยงไปยังเนื้อหาอื่นๆได้ นอกจากนี้เพื่อฝึกทักษะ
การคิดยังสามารถนาไปอธิบายหรืออภิปรายให้ผู้อื่นฟัง
ได้ เพื่อเพิ่มความเข้าใจของตนเอง
การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking)
การมีการคิดวิเคราะห์จะ
สามารถจัดการเรียนการสอนแบบ
กระตุ้นผู้เรียน พัฒนาผู้เรียนให้เกิด
การคิดวิเคราะห์และทักษะการคิด
วิเคราะห์ รู้จักการคิดด้วยตัวเอง
เพื่อเป็นประสบการณ์การเรียนรู้ได้
ยกตัวอย่างเช่น การอ่านเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อการสอบหรือเพื่อการเรียนภายใน
ห้อง หากจะทาให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดคือวิเคราะห์เนื้อหาวิชานั้นๆให้ได้ใจความสาคัญแล้วแยก
เป็นส่วนๆหรือการแก้โจทย์ปัญหา ให้อ่านโจทย์แบ่งเป็นส่วนแล้ววิเคราะห์ถึงสิ่งที่โจทย์ถาม
การวิเคราะห์เป็นลาดับขั้นตอนจะทาให้มีกระบวนการคิดที่ง่ายยิ่งขึ้นและยังส่งผลให้ได้ผล
ลัพธ์ที่ดีที่สุด
การคิดวิเคราะห์ (Critical
Thinking) คือ การพิจารณาสิ่ง
ต่างๆ ในส่วนย่อยๆ โดยมี
วัตถุประสงค์ของการทาสิ่งต่างๆ
ซึ่งประกอบด้วยการวิเคราะห์
เนื้อหา ความสาคัญของข้อมูล
ด้านความสัมพันธ์และด้าน
หลักการจัดการ
ความหมาย ความสาคัญ
การนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
การคิดอย่างมีวิจารณญาน
(Critical Thinking)
การคิดอย่างมีวิจารณญาน (Critical Thinking)
การเรียนวิชาวิทยาศาสตร์นั้นมีการกล่าวถึงทฤษฎี
ของบุคคลมากมาย ทั้งยังมีการนาเสนอแนวทางการ
ปฏิบัติ อย่างเช่น วิชาปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์
(Laboratory) ที่กล่าวถึงทฤษฎี ซึ่งทฤษฎีที่กล่าวมานี้จะ
สามารถเชื่อได้อย่างไร ในเมื่อบางครั้งเรื่องเดียวกันแต่
เนื้อหาข้อมูลกลับเป็นคนละแบบ ดังนั้นจึงต้องมีการ
ตัดสินใจเชื่อจากการหาข้อมูลโดยรอบเป็นองค์ประกอบ
การตัดสินใจ มีหลักฐาน แยกแยะข้อมูลที่ข้อมูลใดเป็นจริง
เป็นเท็จ หรือหาความเป็นไปได้แล้วหาวิธีการแก้ไข ก่อนจะ
เชื่ออย่างเต็มใจ
การคิดอย่างมีวิจารณญาน (Critical Thinking)
การมีกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
จะนาไปสู่การคิดตัดสินใจอย่างรอบคอบ มีการ
กลั่นกรองความคิดเพื่อความเป็นจริงอยู่เสมอ
เพื่อให้เห็นว่าเรื่องใดควรเชื่อหรือไม่ควรเชื่อ
สิ่งใดควรทาหรือไม่ควรทา เพราะเหตุใด
สามารถนาไปพิจารณาในเรื่องต่างๆที่ได้จากการเรียนภายในห้อง ยกตัวอย่างเช่น การเรียนวิชา
ปฏิบัติการ (Laboratory) ในการทดลองจะมีคู่มือแนะนาในการทา ซึ่งก่อนจะลงมือปฏิบัติสามารถพิจารณาถึง
ความเป็นไปได้ที่สามารถมีรูปแบบวิธีการอื่นได้นอกจากภายในหนังสือ หรือสามารถหาข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ
สอบถามข้อมูลจากผู้รู้ก่อน จึงจะลงมือปฏิบัติ หรือในกรณีที่เรียนภายในห้อง ก่อนจะเชื่อทุกสิ่งที่อาจารย์สอน
สามารถค้นหาข้อมูลมาสอบถามก่อนหรือหลังที่อาจารย์สอนไปแล้ว ซึ่งก็ถือว่าเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดของ
กันและกัน
การคิดอย่างมีวิจารณญาน (Critical
Thinking) คือ กระบวนการคิดที่ใช้เหตุใช้
ผลพิจารณากลั่นกรองข้อมูลอย่างรอบคอบ
โดยการศึกษาข้อมูล หลักฐาน แยกแยะ
ข้อมูลว่าข้อมูลใดคือ ข้อเท็จจริง ข้อมูลใด
คือความคิดเห็น ตลอดจนพิจารณาความ
น่าเชื่อถือของข้อมูล แล้วตั้งสมมติฐานเพื่อ
หาสาเหตุของปัญหา และสามารถหาแนว
ทางแก้ไขปัญหานั้น ๆ ได้
ความหมาย
ความสาคัญ
การนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
การคิดสร้างสรรค์
(Creative Thinking)
การพัฒนาวิชาวิทยาศาสตร์ให้ได้ดียิ่งขึ้นมากกว่าเดิม
คือการที่เรารู้จักการสร้างสรรค์สิ่งที่ได้มาจากความรู้และ
ประสบการณ์ อาจจะเป็นการสร้างสิ่งใหม่ๆ หรือต่อยอด
ทฤษฎีที่เคยมีให้ก้าวหน้าขึ้นไปอีก อย่างเช่น การทดลอง
หรือการสร้างสรรค์ประดิษฐ์สิ่งของที่สามารถออกแบบ
การทดลองให้หลากหลายแนวมากกว่าเดิม มีการประดิษฐ์
สิ่งใหม่ๆโดยอ้างอิงจากยุคสมัยหรือค่านิยมแล้วต่อยอดให้
มีความแปลกใหม่เพื่อดึงดูดผู้คนให้มาสนใจมากขึ้น
การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
การคิดสร้างสรรค์(Creative Thinking)
คือ กระบวนการคิดของสมองซึ่งมี
ความสามารถในการคิดได้หลากหลายและ
แปลกใหม่จากเดิม โดยสามารถนาไป
ประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการได้อย่าง
รอบคอบและมีความถูกต้อง จนนาไปสู่การ
คิดค้นและสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่หรือ
รูปแบบความคิดใหม่
ความหมาย
การมีความคิดสร้างสรรค์จะทาให้เกิดสิ่ง
ใหม่ๆขึ้นมาบนโลก ส่งผลให้เกิดการพัฒนาใน
ด้านต่างๆ ก่อเกิดการพัฒนาการเรียนรู้
พัฒนาด้านอารมณ์ของผู้คิด และหากเมื่อ
ความคิดนั้นประสบความสาเร็จจะเป็นการ
สร้างความมั่นใจและความเชื่อมั่นของมนุษย์
ให้มากขึ้น
ความสาคัญ
วิชาวิทยาศาสตร์บางครั้งก็มีการประดิษฐ์หรือ
ประยุกต์ใช้สิ่งใหม่ จากการทดลอง ค้นหาวิธีสร้างสิ่งใหม่
ภายในห้องเรียนเช่นกัน อย่างเช่นหากการเรียนทฤษฎีไม่
สามารถทาให้เราเข้าใจได้มากขึ้น เราก็สามารถนาวัสดุ
หรืออุปกรณ์มาประกอบการอธิบายให้เข้าใจมากขึ้นหรือ
ทาสื่อการเรียนเสริมขึ้นมา
การนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
การคิดแก้ปัญหา
(Problem Solving Thinking)
การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving Thinking)
วิชาวิทยาศาสตร์นั้นแน่นอนว่าโดยพื้นฐานของวิชามักจะมีคาถาม
เกิดขึ้นเสมอ แต่ก็มักจะไร้ซึ่งคาตอบ ดังนั้น หากมีการฝึกการคิดแก้ปัญหา
อาจจะทาให้คาถามบางส่วนถูกแก้ไขและพัฒนากระบวนการคิดขึ้นไปอีก
ขั้น ในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้ได้ผลที่ดีจะต้องมีขั้นตอนการแก้ปัญหา
กระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นลาดับเพื่อให้ได้ซึ่งคาตอบ ยกตัวอย่าง
เช่น การปฏิบัติการ(lab) บางครั้งนักเรียนหรือนักศึกษามักจะทาให้ผลการ
ปฏิบัติมีความคลาดเคลื่อนจากทฤษฎี ซึ่งก็จะเกิดคาถามขึ้นว่าเพราะเหตุใด
ผลลัพธ์จึงไม่เป็นไปตามทฤษฎี ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีการคิดหาที่มาสาเหตุ
ของปัญหาเพื่อหาวิธีแก้ไขให้เหมาะสม ซึ่งวิธีแก้ไขนั้นสามารถทาได้
หลากหลายวิธีจากการพิจารณาถึงตัวช่วยต่างๆรอบตัว อย่างเช่น การ
ได้มาซึ่งคาตอบจากอาจารย์ ค้นหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ แต่บางครั้งเรา
มักจะเกิดความไม่มั่นใจในคาตอบที่ได้มา ดังนั้นทางเดียวจะสามารถ
พิสูจน์ได้คือลงมือทา หาผิดพลาดก็แก้ไขใหม่ ซึ่งการผิดพลาดไม่ใช่เรื่อง
ผิดประการใดแต่มันคือการที่ทาให้ได้มาซึ่งประสบการณ์ของตนเอง
การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving Thinking)
การคิดแก้ปัญหา (Problem
Solving Thinking) คือ ความคิด
ทางสมองในการขจัดสภาวะ
ความไม่สมดุลที่เกิดขึ้น โดย
พยายาม ปรั บตั วเองและ
สิ่งแวดล้อมให้ผสมกลมกลืนกลับ
เข้าสู่สภาวะสมดุลหรือสภาวะที่
เราคาดหวัง
ความหมาย
การมีการคิดแก้ปัญหาถือเป็นสิ่ง
สาคัญอย่างหนึ่งในชีวิตของมนุษย์
เนื่องจากปัจจุบันนี้ในการดาเนิน
ชีวิตในทุกๆวัน จะเกิดสถานการณ์
ให้แก้ปัญหาเสมอๆ ดังนั้นหากเรา
สามารถฝึกการคิดแก้ปัญหาได้ดี ก็
จะส่งผลดีต่อตัวเราเช่นกัน
ความสาคัญ
การคิดแก้ปัญหานั้นหากสามารถฝึกการคิด
ได้นั้นจะเป็นการดีสาหรับชีวิตประจาวัน
เนื่องจากในทุกวันเราต้องใช้การแก้ปัญหา
ตั้งแต่เรื่องเล็กจนถึงเรื่องใหญ่ ไม่เว้นแม้แต่ใน
ห้องเรียนที่บางครั้งอาจเจอปัญหาไม่ว่าจะเป็น
จากการบ้านความไม่เข้าใจวิชาที่เรียน ซึ่งหากมี
กระบวนการคิดที่ดีก็จะสามารถใช้เป็นเครื่องมือ
ในการวางแผนให้ได้มาซึ่งคาตอบ
การนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
การคิดเชิงคานวณ
(Computational Thinking)
การคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking)
จากการคิดแก้ปัญหาในข้อที่ 4 นั้นการคิดเชิง
คานวณถือเป็นการคิดแก้ปัญหาอย่างหนึ่ง เพียงแต่กา
คิดเชิงคานวณจะมีการคิดเป็นกระบวนการแก้ปัญหา
และมีหลากหลายลักษณะ เช่น การคิดเชิงตรรกศาสตร์
การสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไปทีละขั้นทีละตอน(หรือที่
เรียกว่าอัลกอริทึ่ม) ซึ่งวิธีคิดเชิงคานวณมีความจาเป็น
ในการพัฒนาแอพพลิเคชั่นต่างๆ วิธีคิดนี้ยังช่วย
แก้ปัญหาในวิชาวิทยาศาสตร์ได้ด้วย คือการที่นาวิชา
วิทยาศาสตร์และวิชาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ร่วมกัน
อย่างเช่น การทดลองหรือทฤษฎีที่เข้าใจได้ยากนามาทา
ให้เป็นแอพพลิเคชั่นจาลองสถานการณ์เพื่อให้นักเรียน
นักศึกษาเข้าใจมากขึ้น
การคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking)
การคิดเชิงคานวณเป็นการคิดที่
สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับวิชาอื่นๆได้
มากมาย ซึ่งมีลักษณะเด่นในด้านการใช้
เรื่องเทคโนโลยี แอพพลิเคชั่นที่จะช่วย
การสอน และยังสามารถพัฒนา
กระบวนการคิดของเด็กให้มีการคิดเป็น
ระบบแบบแผน เป็นขั้นตอนมากขึ้น
ความสาคัญ
กา รคิ ดเ ชิ ง คา นว ณ
(computational thinking)
คือ กระบวนการแก้ปัญหาใน
หลากหลายลักษณะ เช่น
การจัดลาดับเชิตรรกศาสตร์
การวิเคราะห์ข้อมูล และการ
สร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไปทีละ
ขั้นทีละตอน(หรือที่เรียกว่าอัล
กอริทึ่ม) รวมทั้งการย่อยปัญหา
ที่ช่วยให้รับมือกับปัญหาที่
ซับซ้อนหรือมีลักษณะเป็น
คาถามปลายเปิดได้
ความหมาย
เนื่องจากการคิดเชิงคานวณมีลักษณะเด่นในด้านเทคโนโลยี
ดังนั้นสามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดรูปของแอพลิเคชั่นหรือ
รูปแบบการจาลอง ไม่ว่าจะเป็นการจาลองการเรียนวิชา
ปฏิบัติการ (Laborotory) การใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน การ
ใช้จาลองสถานการณ์ ซึ่งการทเช่นนี้จะสามารกระตุ้นให้นักเรียน
หรือนักศึกษาเกิดความสนใจและมีความสนุกในการเรียนวิชา
วิทยาศาสตร์มากยิ่งขึ้น
การนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
Video clip ในหัวข้อหากเราเป็นรัฐมนตรีศึกษาธิการจะ
ทานโยบายอะไรเกี่ยวกับการคิดเพื่อบูรณาการในการ
จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในชั้นเรียน
Video clip ในหัวข้อหากเราเป็นรัฐมนตรีศึกษาธิการจะทานโยบายอะไรเกี่ยวกับ
การคิดเพื่อบูรณาการในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในชั้นเรียน
Thinking2

More Related Content

Similar to Thinking2

กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
Albert Sigum
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
maxcrycry
 

Similar to Thinking2 (13)

กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
 
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์
 
ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้
 
Problem based learning 3
Problem based learning 3Problem based learning 3
Problem based learning 3
 
Backward design
Backward designBackward design
Backward design
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
Ugp 610822 n3
Ugp 610822 n3Ugp 610822 n3
Ugp 610822 n3
 
Thinking for computer class
Thinking for computer classThinking for computer class
Thinking for computer class
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 

Thinking2

  • 1. ความเชื่อมโยงของ วิทยาศาสตร์กับ 5 คิด ED487104 THINKING AND PROBLEM SOLVING IN LEARNING OF SCIENCE AND TECHNOLOGY 1 4 2 3 Presented by 635050007-9 Penpitcha Pianying
  • 2. Outline 01 02 03 04 การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) การคิดอย่างมีวิจารณญาน (Critical Thinking) การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving Thinking) 05 การคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking) 06 Videoclip ในหัวข้อหากเราเป็นรัฐมนตรีศึกษาธิการจะทานโยบายอะไร เกี่ยวกับการคิดเพื่อบูรณาการในการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในชั้นเรียน
  • 4. การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) การเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ให้ได้ผลที่ดีนั้นต้องเรียน ให้มีจุดหมาย มีวัตถุประสงค์ในการเรียน และมีการ กลั่นกรองข้อมูลที่ได้รับมาเนื่องจากวิชาวิทยาศาสตร์มี เนื้อหาที่เยอะ มีความซับซ้อนของข้อมูล และมี รายละเอียดที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการคิดเป็นลาดับ ขั้นตอน มีการแยกเนื้อหาเป็นส่วนๆสรุปใจความสาคัญ หาส่วนสาคัญ แยกแยะองค์ประกอบต่างๆและสามารถ เชื่อมโยงไปยังเนื้อหาอื่นๆได้ นอกจากนี้เพื่อฝึกทักษะ การคิดยังสามารถนาไปอธิบายหรืออภิปรายให้ผู้อื่นฟัง ได้ เพื่อเพิ่มความเข้าใจของตนเอง
  • 5. การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) การมีการคิดวิเคราะห์จะ สามารถจัดการเรียนการสอนแบบ กระตุ้นผู้เรียน พัฒนาผู้เรียนให้เกิด การคิดวิเคราะห์และทักษะการคิด วิเคราะห์ รู้จักการคิดด้วยตัวเอง เพื่อเป็นประสบการณ์การเรียนรู้ได้ ยกตัวอย่างเช่น การอ่านเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อการสอบหรือเพื่อการเรียนภายใน ห้อง หากจะทาให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดคือวิเคราะห์เนื้อหาวิชานั้นๆให้ได้ใจความสาคัญแล้วแยก เป็นส่วนๆหรือการแก้โจทย์ปัญหา ให้อ่านโจทย์แบ่งเป็นส่วนแล้ววิเคราะห์ถึงสิ่งที่โจทย์ถาม การวิเคราะห์เป็นลาดับขั้นตอนจะทาให้มีกระบวนการคิดที่ง่ายยิ่งขึ้นและยังส่งผลให้ได้ผล ลัพธ์ที่ดีที่สุด การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) คือ การพิจารณาสิ่ง ต่างๆ ในส่วนย่อยๆ โดยมี วัตถุประสงค์ของการทาสิ่งต่างๆ ซึ่งประกอบด้วยการวิเคราะห์ เนื้อหา ความสาคัญของข้อมูล ด้านความสัมพันธ์และด้าน หลักการจัดการ ความหมาย ความสาคัญ การนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
  • 7. การคิดอย่างมีวิจารณญาน (Critical Thinking) การเรียนวิชาวิทยาศาสตร์นั้นมีการกล่าวถึงทฤษฎี ของบุคคลมากมาย ทั้งยังมีการนาเสนอแนวทางการ ปฏิบัติ อย่างเช่น วิชาปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ (Laboratory) ที่กล่าวถึงทฤษฎี ซึ่งทฤษฎีที่กล่าวมานี้จะ สามารถเชื่อได้อย่างไร ในเมื่อบางครั้งเรื่องเดียวกันแต่ เนื้อหาข้อมูลกลับเป็นคนละแบบ ดังนั้นจึงต้องมีการ ตัดสินใจเชื่อจากการหาข้อมูลโดยรอบเป็นองค์ประกอบ การตัดสินใจ มีหลักฐาน แยกแยะข้อมูลที่ข้อมูลใดเป็นจริง เป็นเท็จ หรือหาความเป็นไปได้แล้วหาวิธีการแก้ไข ก่อนจะ เชื่ออย่างเต็มใจ
  • 8. การคิดอย่างมีวิจารณญาน (Critical Thinking) การมีกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จะนาไปสู่การคิดตัดสินใจอย่างรอบคอบ มีการ กลั่นกรองความคิดเพื่อความเป็นจริงอยู่เสมอ เพื่อให้เห็นว่าเรื่องใดควรเชื่อหรือไม่ควรเชื่อ สิ่งใดควรทาหรือไม่ควรทา เพราะเหตุใด สามารถนาไปพิจารณาในเรื่องต่างๆที่ได้จากการเรียนภายในห้อง ยกตัวอย่างเช่น การเรียนวิชา ปฏิบัติการ (Laboratory) ในการทดลองจะมีคู่มือแนะนาในการทา ซึ่งก่อนจะลงมือปฏิบัติสามารถพิจารณาถึง ความเป็นไปได้ที่สามารถมีรูปแบบวิธีการอื่นได้นอกจากภายในหนังสือ หรือสามารถหาข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ สอบถามข้อมูลจากผู้รู้ก่อน จึงจะลงมือปฏิบัติ หรือในกรณีที่เรียนภายในห้อง ก่อนจะเชื่อทุกสิ่งที่อาจารย์สอน สามารถค้นหาข้อมูลมาสอบถามก่อนหรือหลังที่อาจารย์สอนไปแล้ว ซึ่งก็ถือว่าเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดของ กันและกัน การคิดอย่างมีวิจารณญาน (Critical Thinking) คือ กระบวนการคิดที่ใช้เหตุใช้ ผลพิจารณากลั่นกรองข้อมูลอย่างรอบคอบ โดยการศึกษาข้อมูล หลักฐาน แยกแยะ ข้อมูลว่าข้อมูลใดคือ ข้อเท็จจริง ข้อมูลใด คือความคิดเห็น ตลอดจนพิจารณาความ น่าเชื่อถือของข้อมูล แล้วตั้งสมมติฐานเพื่อ หาสาเหตุของปัญหา และสามารถหาแนว ทางแก้ไขปัญหานั้น ๆ ได้ ความหมาย ความสาคัญ การนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
  • 10. การพัฒนาวิชาวิทยาศาสตร์ให้ได้ดียิ่งขึ้นมากกว่าเดิม คือการที่เรารู้จักการสร้างสรรค์สิ่งที่ได้มาจากความรู้และ ประสบการณ์ อาจจะเป็นการสร้างสิ่งใหม่ๆ หรือต่อยอด ทฤษฎีที่เคยมีให้ก้าวหน้าขึ้นไปอีก อย่างเช่น การทดลอง หรือการสร้างสรรค์ประดิษฐ์สิ่งของที่สามารถออกแบบ การทดลองให้หลากหลายแนวมากกว่าเดิม มีการประดิษฐ์ สิ่งใหม่ๆโดยอ้างอิงจากยุคสมัยหรือค่านิยมแล้วต่อยอดให้ มีความแปลกใหม่เพื่อดึงดูดผู้คนให้มาสนใจมากขึ้น การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
  • 11. การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) การคิดสร้างสรรค์(Creative Thinking) คือ กระบวนการคิดของสมองซึ่งมี ความสามารถในการคิดได้หลากหลายและ แปลกใหม่จากเดิม โดยสามารถนาไป ประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการได้อย่าง รอบคอบและมีความถูกต้อง จนนาไปสู่การ คิดค้นและสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่หรือ รูปแบบความคิดใหม่ ความหมาย การมีความคิดสร้างสรรค์จะทาให้เกิดสิ่ง ใหม่ๆขึ้นมาบนโลก ส่งผลให้เกิดการพัฒนาใน ด้านต่างๆ ก่อเกิดการพัฒนาการเรียนรู้ พัฒนาด้านอารมณ์ของผู้คิด และหากเมื่อ ความคิดนั้นประสบความสาเร็จจะเป็นการ สร้างความมั่นใจและความเชื่อมั่นของมนุษย์ ให้มากขึ้น ความสาคัญ วิชาวิทยาศาสตร์บางครั้งก็มีการประดิษฐ์หรือ ประยุกต์ใช้สิ่งใหม่ จากการทดลอง ค้นหาวิธีสร้างสิ่งใหม่ ภายในห้องเรียนเช่นกัน อย่างเช่นหากการเรียนทฤษฎีไม่ สามารถทาให้เราเข้าใจได้มากขึ้น เราก็สามารถนาวัสดุ หรืออุปกรณ์มาประกอบการอธิบายให้เข้าใจมากขึ้นหรือ ทาสื่อการเรียนเสริมขึ้นมา การนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
  • 13. การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving Thinking) วิชาวิทยาศาสตร์นั้นแน่นอนว่าโดยพื้นฐานของวิชามักจะมีคาถาม เกิดขึ้นเสมอ แต่ก็มักจะไร้ซึ่งคาตอบ ดังนั้น หากมีการฝึกการคิดแก้ปัญหา อาจจะทาให้คาถามบางส่วนถูกแก้ไขและพัฒนากระบวนการคิดขึ้นไปอีก ขั้น ในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้ได้ผลที่ดีจะต้องมีขั้นตอนการแก้ปัญหา กระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นลาดับเพื่อให้ได้ซึ่งคาตอบ ยกตัวอย่าง เช่น การปฏิบัติการ(lab) บางครั้งนักเรียนหรือนักศึกษามักจะทาให้ผลการ ปฏิบัติมีความคลาดเคลื่อนจากทฤษฎี ซึ่งก็จะเกิดคาถามขึ้นว่าเพราะเหตุใด ผลลัพธ์จึงไม่เป็นไปตามทฤษฎี ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีการคิดหาที่มาสาเหตุ ของปัญหาเพื่อหาวิธีแก้ไขให้เหมาะสม ซึ่งวิธีแก้ไขนั้นสามารถทาได้ หลากหลายวิธีจากการพิจารณาถึงตัวช่วยต่างๆรอบตัว อย่างเช่น การ ได้มาซึ่งคาตอบจากอาจารย์ ค้นหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ แต่บางครั้งเรา มักจะเกิดความไม่มั่นใจในคาตอบที่ได้มา ดังนั้นทางเดียวจะสามารถ พิสูจน์ได้คือลงมือทา หาผิดพลาดก็แก้ไขใหม่ ซึ่งการผิดพลาดไม่ใช่เรื่อง ผิดประการใดแต่มันคือการที่ทาให้ได้มาซึ่งประสบการณ์ของตนเอง
  • 14. การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving Thinking) การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving Thinking) คือ ความคิด ทางสมองในการขจัดสภาวะ ความไม่สมดุลที่เกิดขึ้น โดย พยายาม ปรั บตั วเองและ สิ่งแวดล้อมให้ผสมกลมกลืนกลับ เข้าสู่สภาวะสมดุลหรือสภาวะที่ เราคาดหวัง ความหมาย การมีการคิดแก้ปัญหาถือเป็นสิ่ง สาคัญอย่างหนึ่งในชีวิตของมนุษย์ เนื่องจากปัจจุบันนี้ในการดาเนิน ชีวิตในทุกๆวัน จะเกิดสถานการณ์ ให้แก้ปัญหาเสมอๆ ดังนั้นหากเรา สามารถฝึกการคิดแก้ปัญหาได้ดี ก็ จะส่งผลดีต่อตัวเราเช่นกัน ความสาคัญ การคิดแก้ปัญหานั้นหากสามารถฝึกการคิด ได้นั้นจะเป็นการดีสาหรับชีวิตประจาวัน เนื่องจากในทุกวันเราต้องใช้การแก้ปัญหา ตั้งแต่เรื่องเล็กจนถึงเรื่องใหญ่ ไม่เว้นแม้แต่ใน ห้องเรียนที่บางครั้งอาจเจอปัญหาไม่ว่าจะเป็น จากการบ้านความไม่เข้าใจวิชาที่เรียน ซึ่งหากมี กระบวนการคิดที่ดีก็จะสามารถใช้เป็นเครื่องมือ ในการวางแผนให้ได้มาซึ่งคาตอบ การนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
  • 16. การคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking) จากการคิดแก้ปัญหาในข้อที่ 4 นั้นการคิดเชิง คานวณถือเป็นการคิดแก้ปัญหาอย่างหนึ่ง เพียงแต่กา คิดเชิงคานวณจะมีการคิดเป็นกระบวนการแก้ปัญหา และมีหลากหลายลักษณะ เช่น การคิดเชิงตรรกศาสตร์ การสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไปทีละขั้นทีละตอน(หรือที่ เรียกว่าอัลกอริทึ่ม) ซึ่งวิธีคิดเชิงคานวณมีความจาเป็น ในการพัฒนาแอพพลิเคชั่นต่างๆ วิธีคิดนี้ยังช่วย แก้ปัญหาในวิชาวิทยาศาสตร์ได้ด้วย คือการที่นาวิชา วิทยาศาสตร์และวิชาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ร่วมกัน อย่างเช่น การทดลองหรือทฤษฎีที่เข้าใจได้ยากนามาทา ให้เป็นแอพพลิเคชั่นจาลองสถานการณ์เพื่อให้นักเรียน นักศึกษาเข้าใจมากขึ้น
  • 17. การคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking) การคิดเชิงคานวณเป็นการคิดที่ สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับวิชาอื่นๆได้ มากมาย ซึ่งมีลักษณะเด่นในด้านการใช้ เรื่องเทคโนโลยี แอพพลิเคชั่นที่จะช่วย การสอน และยังสามารถพัฒนา กระบวนการคิดของเด็กให้มีการคิดเป็น ระบบแบบแผน เป็นขั้นตอนมากขึ้น ความสาคัญ กา รคิ ดเ ชิ ง คา นว ณ (computational thinking) คือ กระบวนการแก้ปัญหาใน หลากหลายลักษณะ เช่น การจัดลาดับเชิตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูล และการ สร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไปทีละ ขั้นทีละตอน(หรือที่เรียกว่าอัล กอริทึ่ม) รวมทั้งการย่อยปัญหา ที่ช่วยให้รับมือกับปัญหาที่ ซับซ้อนหรือมีลักษณะเป็น คาถามปลายเปิดได้ ความหมาย เนื่องจากการคิดเชิงคานวณมีลักษณะเด่นในด้านเทคโนโลยี ดังนั้นสามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดรูปของแอพลิเคชั่นหรือ รูปแบบการจาลอง ไม่ว่าจะเป็นการจาลองการเรียนวิชา ปฏิบัติการ (Laborotory) การใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน การ ใช้จาลองสถานการณ์ ซึ่งการทเช่นนี้จะสามารกระตุ้นให้นักเรียน หรือนักศึกษาเกิดความสนใจและมีความสนุกในการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์มากยิ่งขึ้น การนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน