SlideShare a Scribd company logo
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยานิพนธ์ / ง
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแรงจูงใจกับผลการปฏิบัติงานบุคลากรในสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
THE STUDY OF RELATIONSHIP BETWEEN MOTIVATION FACTORS AND PERFORMANCE OF SUPPORTING STAFFS
IN MAHIDOL UNIVERSITY PRESIDENT OFFICE
พัทยา ขันทอง 5436969 SHPP/M
รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ)
คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์: อัจฉราพรรณ จรัสวัฒน์, สค.ม., สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ,Ph.D., สมศักดิ์ อมรสิริพงศ์ , Ph.D.
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแรงจูงใจกับผลการปฏิบัติงานบุคลากรในสํานักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยแรงจูงใจ และ ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่าง
ปัจจัยส่วนบุคคลกับผลการปฏิบัติงาน เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของแรงจูงใจกับผลการปฏิบัติงานของบุคลากร โดยการศึกษาวิจัยเชิง
ปริมาณในการเก็บรวบรวมข้อมูลนั้นได้ทําการสํารวจความคิดเห็นของบุคลากรที่ปฏิบัติในสังกัดสํานักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา จํานวน 266 คน
ผลการวิจัยพบว่าแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร สังกัดสํานักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ตัวแปร
ด้านปัจจัยแรงจูงใจในการปฏิบัติงานที่ผู้วิจัยนํามาวิจัยนั้น เป็นตัวแปรที่สนับสนุนสมติฐาน คือ ตัวแปร ด้านผู้บริหาร ด้านการบริหาร
และ การจัดการ ด้านลักษณะของงาน ด้านความรับผิดชอบ ด้านเงื่อนไขการงาน ด้านสถานะทางสังคม ด้านสัมพันธภาพกับ
ผู้บังคับบัญชา ด้านความสัมพันธ์ผู้ร่วมงาน ด้านการยอมรับนับถือ ด้านความสําเร็จของงาน ด้านความก้าวหน้า ด้านเงินเดือน ด้าน
ความยุติธรรม ด้านความดีความชอบ ทั้ง 14 ตัวแปรนี้ เป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลในการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคลากรสังกัดสํานักงาน
อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งผลการวิเคราะห์พบว่า ปัจจัยแรงจูงใจในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์ ในเชิงบวกในระดับค่อนข้าง
สูง บุคลากรในสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ภาพรวมด้านแรงจูงใจ(ปัจจัยกระตุ้น) อยู่ในระดับมาก เป็นส่วนใหญ่ คือ
ด้านผู้บริหาร ด้านการบริหาร และ การจัดการ ด้านลักษณะของงาน ด้านความรับผิดชอบ ด้านเงื่อนไขการงาน ด้านสถานะทาง
สังคม ด้านสัมพันธภาพกับผู้บังคับบัญชา ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อร่วมงาน ด้านการยอมรับนับถือ ด้านความสําเร็จ ซึ่งสามารถ
อธิบายได้ตามแนวคิดของ Herzberg ได้ว่า ปัจจัยกระตุ้นเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับแรงจูงใจภายในที่เกิดจากการทํางาน
(Job Content ) เมื่อพิจารณาภาพรวมรายด้านพบว่า ด้านความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดในปัจจัยกระตุ้น
อธิบายได้อีกว่า บุคลากร สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ส่วนใหญ่ มีแรงจูงใจด้านความรับผิดชอบอยู่ในอันดับต้นๆซึ่งเป็น
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับแรงจูงใจภายในที่เกิดจากการทํางานของบุคลากร ด้านแรงจูงใจบางด้านอยู่ในระดับปานกลาง คือ
ด้านความก้าวหน้า ด้านเงินเดือน ด้านความยุติธรรม ด้านความดีความชอบ โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดในระดับปานกลางคือ ด้าน
ความดีความชอบ โดยด้านความดีความชอบนั้นเป็นปัจจัยคํ้าจุน ซึ่งปัจจัยนี้มีความสัมพันธ์โดยตรงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกของงาน
(Job Context) เป็นปัจจัยที่ลดความไม่พอใจให้คนทํางานมากขึ้น แต่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ซึ่งอธิบายโดยรวมได้ว่า บุคลากรสํานักงานธิ
การบดี มหาวิทยาลัยมหิดล มีปัจจัยแรงจูงใจด้านความรับผิดชอบมากที่สุด แต่ในทางกลับกัน ปัจจัยด้านความดีความชอบนั้นยังไม่ได้
รับการตอบสนองเท่าที่ควร จึงทําให้เห็นถึง ภาพรวมของผลการปฏิบัติงานของบุคลากร สํานักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ใน
ด้านความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุดในกลุ่ม
ผลการเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคล กับ ผลการปฏิบัติงาน ของบุคลากร สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
พบว่า การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนบุคคล กับผลการปฏิบัติงานของบุคลากร สํานักงาน
อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ซึ่งประกอบไปด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทํางาน
สถานภาพบุคลากร สายงานที่ปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุมีผลต่อผลการปฏิบัติงาน ของ บุคลากร สํานักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยมหิดลแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ ด้านระดับการศึกษา ด้าน
ประสบการณ์ทํางาน ด้านตําแหน่งงาน และด้านสถานภาพบุคลากรมีผลต่อผลการปฏิบัติงาน ของ บุคลากร สํานักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยมหิดลไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของปัจจัยแรงจูงใจกับผลการปฏิบัติงานของบุคลากร สํานักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า ปัจจัยแรงจูงใจกับผลการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับค่อนข้างสูง (r = .656**) อย่างมี
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
คําสําคัญ : แรงจูงใจ / ผลการปฏิบัติงาน
143 หน้า
download
dric.nrct.go.th
26/05/2561 14:40:47

More Related Content

What's hot

บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
T5
T5T5
T5
gimzui
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
Prachoom Rangkasikorn
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงานSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
koyrattanasri
 
การปลูกข่า
การปลูกข่าการปลูกข่า
การปลูกข่า
Dnavaroj Dnaka
 

What's hot (6)

บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
T5
T5T5
T5
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงานSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
 
การปลูกข่า
การปลูกข่าการปลูกข่า
การปลูกข่า
 

More from Pongpitak Thanak

Ej1171044
Ej1171044Ej1171044
Ej1171044
Pongpitak Thanak
 
Ej1109178
Ej1109178Ej1109178
Ej1109178
Pongpitak Thanak
 
Ej1108668
Ej1108668Ej1108668
Ej1108668
Pongpitak Thanak
 
Ej1102801
Ej1102801Ej1102801
Ej1102801
Pongpitak Thanak
 
T7
T7T7
T5
T5T5
T4
T4T4
T3
T3T3
T2
T2T2
T1
T1T1
Pongpitak.18.med.4
Pongpitak.18.med.4Pongpitak.18.med.4
Pongpitak.18.med.4
Pongpitak Thanak
 

More from Pongpitak Thanak (11)

Ej1171044
Ej1171044Ej1171044
Ej1171044
 
Ej1109178
Ej1109178Ej1109178
Ej1109178
 
Ej1108668
Ej1108668Ej1108668
Ej1108668
 
Ej1102801
Ej1102801Ej1102801
Ej1102801
 
T7
T7T7
T7
 
T5
T5T5
T5
 
T4
T4T4
T4
 
T3
T3T3
T3
 
T2
T2T2
T2
 
T1
T1T1
T1
 
Pongpitak.18.med.4
Pongpitak.18.med.4Pongpitak.18.med.4
Pongpitak.18.med.4
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

T6

  • 1. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยานิพนธ์ / ง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแรงจูงใจกับผลการปฏิบัติงานบุคลากรในสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล THE STUDY OF RELATIONSHIP BETWEEN MOTIVATION FACTORS AND PERFORMANCE OF SUPPORTING STAFFS IN MAHIDOL UNIVERSITY PRESIDENT OFFICE พัทยา ขันทอง 5436969 SHPP/M รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ) คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์: อัจฉราพรรณ จรัสวัฒน์, สค.ม., สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ,Ph.D., สมศักดิ์ อมรสิริพงศ์ , Ph.D. บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแรงจูงใจกับผลการปฏิบัติงานบุคลากรในสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยแรงจูงใจ และ ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่าง ปัจจัยส่วนบุคคลกับผลการปฏิบัติงาน เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของแรงจูงใจกับผลการปฏิบัติงานของบุคลากร โดยการศึกษาวิจัยเชิง ปริมาณในการเก็บรวบรวมข้อมูลนั้นได้ทําการสํารวจความคิดเห็นของบุคลากรที่ปฏิบัติในสังกัดสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา จํานวน 266 คน ผลการวิจัยพบว่าแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร สังกัดสํานักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ตัวแปร ด้านปัจจัยแรงจูงใจในการปฏิบัติงานที่ผู้วิจัยนํามาวิจัยนั้น เป็นตัวแปรที่สนับสนุนสมติฐาน คือ ตัวแปร ด้านผู้บริหาร ด้านการบริหาร และ การจัดการ ด้านลักษณะของงาน ด้านความรับผิดชอบ ด้านเงื่อนไขการงาน ด้านสถานะทางสังคม ด้านสัมพันธภาพกับ ผู้บังคับบัญชา ด้านความสัมพันธ์ผู้ร่วมงาน ด้านการยอมรับนับถือ ด้านความสําเร็จของงาน ด้านความก้าวหน้า ด้านเงินเดือน ด้าน ความยุติธรรม ด้านความดีความชอบ ทั้ง 14 ตัวแปรนี้ เป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลในการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคลากรสังกัดสํานักงาน อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งผลการวิเคราะห์พบว่า ปัจจัยแรงจูงใจในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์ ในเชิงบวกในระดับค่อนข้าง สูง บุคลากรในสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ภาพรวมด้านแรงจูงใจ(ปัจจัยกระตุ้น) อยู่ในระดับมาก เป็นส่วนใหญ่ คือ ด้านผู้บริหาร ด้านการบริหาร และ การจัดการ ด้านลักษณะของงาน ด้านความรับผิดชอบ ด้านเงื่อนไขการงาน ด้านสถานะทาง สังคม ด้านสัมพันธภาพกับผู้บังคับบัญชา ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อร่วมงาน ด้านการยอมรับนับถือ ด้านความสําเร็จ ซึ่งสามารถ อธิบายได้ตามแนวคิดของ Herzberg ได้ว่า ปัจจัยกระตุ้นเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับแรงจูงใจภายในที่เกิดจากการทํางาน (Job Content ) เมื่อพิจารณาภาพรวมรายด้านพบว่า ด้านความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดในปัจจัยกระตุ้น อธิบายได้อีกว่า บุคลากร สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ส่วนใหญ่ มีแรงจูงใจด้านความรับผิดชอบอยู่ในอันดับต้นๆซึ่งเป็น ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับแรงจูงใจภายในที่เกิดจากการทํางานของบุคลากร ด้านแรงจูงใจบางด้านอยู่ในระดับปานกลาง คือ ด้านความก้าวหน้า ด้านเงินเดือน ด้านความยุติธรรม ด้านความดีความชอบ โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดในระดับปานกลางคือ ด้าน ความดีความชอบ โดยด้านความดีความชอบนั้นเป็นปัจจัยคํ้าจุน ซึ่งปัจจัยนี้มีความสัมพันธ์โดยตรงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกของงาน (Job Context) เป็นปัจจัยที่ลดความไม่พอใจให้คนทํางานมากขึ้น แต่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ซึ่งอธิบายโดยรวมได้ว่า บุคลากรสํานักงานธิ การบดี มหาวิทยาลัยมหิดล มีปัจจัยแรงจูงใจด้านความรับผิดชอบมากที่สุด แต่ในทางกลับกัน ปัจจัยด้านความดีความชอบนั้นยังไม่ได้ รับการตอบสนองเท่าที่ควร จึงทําให้เห็นถึง ภาพรวมของผลการปฏิบัติงานของบุคลากร สํานักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ใน ด้านความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุดในกลุ่ม ผลการเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคล กับ ผลการปฏิบัติงาน ของบุคลากร สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างปัจจัยส่วนบุคคล กับผลการปฏิบัติงานของบุคลากร สํานักงาน อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ซึ่งประกอบไปด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทํางาน สถานภาพบุคลากร สายงานที่ปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุมีผลต่อผลการปฏิบัติงาน ของ บุคลากร สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดลแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ ด้านระดับการศึกษา ด้าน ประสบการณ์ทํางาน ด้านตําแหน่งงาน และด้านสถานภาพบุคลากรมีผลต่อผลการปฏิบัติงาน ของ บุคลากร สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดลไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของปัจจัยแรงจูงใจกับผลการปฏิบัติงานของบุคลากร สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า ปัจจัยแรงจูงใจกับผลการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับค่อนข้างสูง (r = .656**) อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คําสําคัญ : แรงจูงใจ / ผลการปฏิบัติงาน 143 หน้า download dric.nrct.go.th 26/05/2561 14:40:47