SlideShare a Scribd company logo
โครงงาน
เรื่อง ฟุตบอล
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย พิเชฐ ยารังสี เลขที่ 22 ชั้น ม.6 ห้อง 7
นาย อภิวิชญ์ เมทา เลขที่ 31 ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม คุณครู นันทิตา รัตนธรรม
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา คอมพิวเตอร์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทที่ 1 1
บทที่ 2 3
บทที่ 3 8
บทที่ 4 9
บทที่ 5 10
บรรณานุกรม 11
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นาย พิเชฐ ยารังสี
นาย อภิวิชญ์เมทา
ชื่อเรื่อง : ฟุตบอล
รายวิชา :การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ : การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
ครูที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ปีการศึกษา : 2/2560
บทคัดย่อ
โครงงานเรื่อง “ฟุตบอล” มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้รู้ถึงประวัติความเป็นมา
วิธีการเล่นและกติกาของฟุตบอลเพื่อให้ทราบถึงวิธีการเล่นที่ ทักษะต่างๆที่
ถูกต้อง เพื่อเป็นแนวทางในการฝึกเล่นหรือการแข่งขันต่างๆ และเพื่อนาไป
เผยแพร่ให้บุคคลทั่วไปได้รับรู้ในเรื่องของฟุตบอล เพิ่มมากขึ้นโดยเครื่องมือ
และอุปกรณ์ที่ใช้คือ เว็บไซต์ในการเผยแพร่ข้อมูลที่ได้ทาการศึกษา
PowerPoint ในการนาเสนอโครงงานและรูปเล่มโครงงานส่วนแนวทางการ
ดาเนินตั้งแต่ กาหนดหัวข้อที่ทาการศึกษา รวบรวมข้อมูลที่จะทาการศึกษา ทา
โครงร่างที่ทาการศึกษา เริ่มทางการศึกษาในหัวข้อที่ต้องการ รวบรวมข้อมูลที่
ได้ศึกษา แล้วสุดท้ายทาโครงงานให้สมบูรณ์ที่สุดหลังจากการทาโครงงาน
เสร็จสิ้นก็ได้สรุปผลการดาเนินงานดังนี้ ทาให้ทั้งผู้จัดทาและผู้ที่สนใจได้รับ
ความรู้ในเรื่องของ ฟุตบอล เพิ่มเติมสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันและเผยแพร่ความรู้นี้ในรูปแบบสื่อการเรียนการสอน
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่อง “ฟุตบอล” สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาของอาจารย์ที่
ปรึกษาโครงงาน ได้แก่คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ได้ให้คาปรึกษา แนะนา
ชี้แนะในการศึกษาค้นคว้าแนะนาขั้นตอนในการจัดทาโครงงานจนลุล่วงสาเร็จ
ด้วยดี คณะผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ณ โอกาสนี้
ขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่ให้กาลังใจในการศึกษาเล่นเรียน และสมาชิก
กลุ่มที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการทาโครงงานครั้งนี้จนกระทั่งประสบ
ความสาเร็จด้วยดี
บทที่ 1
บทนา
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : ฟุตบอล
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Soccer
ประเภทโครงงาน :โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ประวัติฟุตบอล – ฟุตบอล (Football) หรือซอคเก้อร์ (Soccer) เป็นกีฬาที่มีผู้สนใจที่จะชม
การแข่งขันและเข้าร่วมเล่นมากที่สุดในโลก ชนชาติใดเป็นผู้กาเนิดกีฬาชนิดนี้อย่างแท้จริงนั้น
ไม่อาจจะยืนยันได้แน่นอน เพราะแต่ละชนชาติต่างยืนยันว่าเกิดจากประเทศของตน แต่ใน
ประเทศฝรั่งเศสและประเทศอิตาลี ได้มีการละเล่นชนิดหนึ่งที่เรียกว่า “ซูเลอ” (Soule) หรือจิโอ
โค เดล คาซิโอ (Gioco Del Calcio) มีลักษณะการเล่นที่คล้ายคลึงกับกีฬาฟุตบอลในปัจจุบัน ทั้ง
สองประเทศอาจจะถกเถียงกันว่ากีฬาฟุตบอลถือกาเนิดจากประเทศของตน อันเป็นการหาข้อยุติ
ไม่ได้เพราะขาดหลักฐานยืนยันอย่างแท้จริง ดังนั้น ประวัติของกีฬาฟุตบอลที่มีหลักฐานที่
แท้จริงสามารถจะอ้างอิงได้เพราะการเล่นที่มีกติกาการแข่งขันที่แน่นอน คือประเทศอังกฤษ
เพราะประเทศอังกฤษตั้งสมาคมฟุตบอลในปี พ.ศ. 2406 และฟุตบอลอาชีพของอังกฤษเกิดขึ้น
ในปี พ.ศ. 2431
วิวัฒนาการด้านฟุตบอลจะเป็นไปพร้อมกับความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ตลอดมา ต้นกาเนิด
กีฬาตะวันออกไกลจะได้รับอิทธิพลมาจากสงครามครั้งสาคัญๆ เช่น สงครามพระเจ้าอเล็กซานเด
อร์มหาราช ได้นาเอา “แกลโล-โรมัน” (Gello-Roman) พร้อมกีฬาต่างๆ เข้ามาสู่เมืองกอล (Gaul)
อันเป็นรากฐานส่วนหนึ่งของกีฬาฟุตบอลในอนาคต และการเล่นฮาร์ปาสตัม (Harpastum) ได้
ถูกดัดแปลงมาเป็นกีฬาซูเลอ
วัตถุประสงค์
1. เพื่ออนุรักษ์กีฬาฟุตบอล
2. เพื่อฝึกการทางานเป็นกลุ่ม
3. เป็นการสร้างร่างกายให้แข็งแรง
4. เพื่อให้สุขภาพแข็งแรง
5. เพื่อศึกษาประวิติและวิธีการเล่นฟุตบอล
6.เพื่อให้สามัคคีกัน รักใคร่กลมเกลียวกัน
บทที่ 2
วิวัฒนาการของฟุตบอล
ภาคตะวันออกไกล
ขงจื้อได้กล่าวไว้ในหนังสือ “กังฟู” เกี่ยวกับกีฬา โดยเฉพาะอย่างยิ่งกีฬาที่ใช้เท้าและศีรษะใน
สมัยจักรพรรดิ์ เซิงติ (Emperor Cneng Ti) (ปี 32 ก่อนคริสตกาล) มีการเล่นกีฬาที่คล้ายกับ
ฟุตบอลซึ่งเรียกว่า”ซือ-ซู” (Tsu-Chu) ซึ่งหมายถึงการเตะลูกหนังด้วยเท้า กีฬาชนิดนี้ได้รับความ
นิยมอย่างกว้างขวาง ซึ่งนักประพันธ์และนักประวัติศาสตร์ในสมัยนั้นได้ยกย่องผู้เล่นที่มีชื่อเสียง
ให้เป็นวีรบุรุษของชาติ และในสมัยเดียวกันได้มีการเล่นคล้ายฟุตบอลในประเทศญี่ปุ่นอีกด้วย
ภาคตะวันออกกลาง
ในกรุงโรม ความเจริญของตะวันออกไกลได้แผ่ขยายถึงตะวันออกกลางโดยเฉพาะอย่างยิ่งจาก
อิทธิพลของสงคราม โดยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช การเล่นกีฬาชนิดหนึ่งเรียกว่า ฮาร์
ปาสตัม เป็นกีฬาที่นิยมของชาวโรมันและชาวกรีกโบราณวิธีการเล่นคือ มีประตูคนละข้าง แล้ว
เตะลูกบอลไปยังจุดหมายที่ต้องการ เช่น จากหมู่บ้านหนึ่งไปอีกหมู่บ้านหนึ่ง การเล่นจะเป็นการ
เตะ หรือการขว้างไปข้างหน้าฮาร์ปาสตัม หมายถึงการเหวี่ยงไปข้างหน้า การเล่นกีฬาฮาร์ปาสตัม
ในกรุงโรมดูเหมือนจะเป็นต้นกาเนิดของกีฬาซึ่งมีการเล่นในสมัยกลาง
ในการเล่นฮาร์ปาสตัม ขนาดของสนามจะเล็กกว่าสนามกีฬาซูเลอ แต่จุดประสงค์ของกีฬาทั้ง
สองคือ การนาลูกบอล ไปยังแดนของตน แต่เนื่องจากมีเสียงอึกทึกโครมครามจากการวิ่งแย่งลูก
บอล ซึ่งอาจจะทาให้เกิดอุบัติเหตุได้มากมาย อันเป็นข้อห้ามของพระเจ้า จึงมีพระบรมราช
โองการในนามของพระเจ้าแผ่นดินห้ามเล่นกีฬาดังกล่าวในเมือง ผู้ฝ่าฝืนมีโทษถึงจาคุก
นอกจากนี้ยังมีข้อห้ามซึ่งออกในวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.1892 ขอให้เล่นยิงธนูในวันฉลองต่าง ๆ
แทนการเล่นเกมฟุตบอล
ในโอกาสต่อมากีฬาฟุตบอลได้จัดให้มีการแข่งขันกันอีกครั้ง ซึ่งเป็นการเผชิญหน้ากันระหว่าง
ทีมต่างๆ ที่อยู่ห่างกันประมาณ 3-4 ไมล์( 5-6.5 กิโลเมตร) ในปี พ.ศ. 2344 กีฬาชนิดนี้ได้ขัด
เกลาให้ดีขึ้น มีการกาหนดจานวนผู้เล่นให้เท่ากันในแต่ละข้าง ขนาดของสนามอยู่ในระหว่าง 80
– 100 หลา (73-91 เมตร) และมีประตูทั้งสองข้างที่ริมสุดของสนามซึ่งทาด้วยไม้2 อัน ห่างกัน 2-
3 ฟุต
ในปี พ.ศ. 2366 ได้จัดให้มีการเล่นฟุตบอลในรูปแบบของการเล่นใน ปัจจุบัน William Alice คือ
ผู้เริ่มวางกฎบังคับต่างๆ สาหรับกีฬาฟุตบอลและรักบี้ ในปี พ.ศ. 2393 ได้มีการออกระเบียบและ
กฎของการเล่นไปสู่ ดินแดนต่างๆ ให้ปฏิบัติตาม โดยจากัดจานวนผู้เล่นให้มีข้างละ 15-20 คน
ในปี พ.ศ. 2413 มีการกาหนดผู้เล่นให้เหลือข้างละ 11 คน โดยมีผู้เล่นกองหน้า 9 คน และผู้เล่น
รักษาประตู 2 คน โดยผู้รักษาประตูใช้เท้าเล่นเหมือน 9 คนแรกจนกระทั่งให้เหลือผู้รักษาประตู
1 คน แต่อนุญาตให้ใช้มือจับลูกบอลได้ในปี พ.ศ. 2423
ในปี พ.ศ. 2400 สโมสรฟุตบอลได้ก่อตั้งเป็นครั้งแรกที่เมืองเซนพัสด์ประเทศอังกฤษ และต่อมา
ในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2406 สโมสรฟุตบอล 11 แห่งได้มารวมกันที่กรุงลอนดอนเพื่อก่อตั้ง
สมาคมฟุตบอลขึ้น ซึ่งถือเป็นรากฐานในการกาเนิดสมาคมแห่งชาติ จนถึง 140 สมาคม และทา
ให้ผู้เล่นฟุตบอลต้องเล่นตามกฎและกติกาของสมาคมฟุตบอล จนเวลาผ่านไปจากคาว่า
Association ก็ย่อเป็น Assoc และกลายเป็น Soccer ขึ้นในที่สุด ซึ่งนิยมเรียกกันในประเทศ
อังกฤษ แต่ชาวอเมริกันเรียกว่า Football หมายถึง American football
ภายนอกเกาะอังกฤษ พวกกะลาสีเรือ ทหาร พ่อค้า วิศวกร หรือแม้แต่นักบวชได้นากีฬาชนิดนี้
ไปเผยแพร่ ประเทศเดนมาร์กเป็นประเทศที่ 2 ในยุโรป
ในอเมริกาใต้สโมสรแรกได้ถูกตั้งขึ้นในประเทศอาร์เจนตินา เมื่อพี่น้องชาวอังกฤษ 2 คน ได้ลง
ข้อความโฆษณาในหนังสือพิมพ์ของเมืองบูเอโนสไอเรส (Buenos Aires) เพื่อ หาผู้อาสาสมัคร
ในปี พ.ศ. 2427 กีฬาฟุตบอลก็กลายมาเป็นวิชาหนึ่งในโรงเรียนของเมืองบูเอโนสไอเรส การ
แข่งขันระดับชาติครั้งแรกในทวีปอเมริกาใต้คือ การแข่งขันระหว่างอาร์เจนตินากับอุรุกวัย ในปี
พ.ศ.2448 แต่อเมริกาเหนือเริ่มแข่งขันเมื่อปี พ.ศ. 2435
ในอิตาลี ฮาร์ปาสตัมเป็นต้นกาเนิดจิโอโค เดล คาลซิโอ ผู้เล่นกีฬาจะเป็นผู้นาทางสังคม หรือ
แม้แต่ผู้นาชั้นสูงของศาสนา เช่นสันตปาปา เกลาเมนต์ที่ 7 ลีออนที่ 10 และเออร์เบนที่ 7 เป็นถึง
แชมเปี้ ยนในกีฬาฟลอเรนไทน์ฟุตบอล ต่อมาชาวโรมันได้ดัดแปลงเกมการเล่นฮาร์ปาสตัมเสีย
ใหม่ โดยกาหนดให้ใช้เท้าแตะลูกบอลเท่านั้น ส่วนมือให้ใช้เฉพาะการทุ่มลูกบอล ซึ่งนักรบชาว
โรมัน นิยมเล่นกันมาก
กีฬาฮาร์ปาสตัมซึ่งมีต้นกาเนิดจากสมัยโรมันได้ถูกแปลงมาเป็นกีฬาซูลอหรือซูเลอ กีฬาชนิดนี้
เหมือนกับฮาร์ปาสตัม คือ นาลูกบอลกลับไปยังแดนของตน แต่สนามมีขนาดกว้างกว่ามาก
การเล่นซูเลอมักจะมีขึ้นในบ่ายวันอาทิตย์หลังการสวดมนต์เย็น จะมีการแข่งขันสาคัญใน
ช่วงเวลาดีคาร์นิวาล กีฬาชนิดนี้เป็นที่นิยมมากในเขตปริตานีและมอร์ลังดี กีฬานี้ได้ถูกเผยแพร่
ไปยังอังกฤษโดยผู้ติดตามของวิลเลี่ยมผู้พิชิตภายหลัง การรบที่เฮสติ้ง (Hasting)
เมื่อ 900 ปีกว่ามาแล้ว ประเทศอังกฤษได้ตกอยู่ในความปกครองของพวกเคนส์ เชื้อสายโรมัน
ซึ่งยกกองทัพมาตีหมู่เกาะอังกฤษตอนใต้และได้ปกครองเรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ. 1589 อังกฤษเริ่ม
เข้มแข็งขึ้น และสามารถขับไล่พวกเคนส์ออกจากประเทศได้หลังจากนั้น 2-3 ปี อังกฤษจึงเริ่ม
ปรับปรุงประเทศเป็นการใหญ่ มีการขุดอุโมงค์ตามพื้นที่หลายแห่ง ซึ่งในการขุดอุโมงค์คนงาน
คนหนึ่งได้ขุดไปพบกะโหลกศีรษะในบริเวณที่เคยเป็นสนามรบ และเป็นที่ฝังศพของพวกเคนส์
มาก่อนทุกคนในที่นั้นแน่ใจว่าเป็นกะโหลกศีรษะของพวกเคนส์ อารมณ์แค้นจึงเกิดขึ้นทันทีเมื่อ
ต่างคนต่างคิดถึงเหตุการณ์ที่ถูกพวกเคนส์กดขี่ทารุณจิตใจคนอังกฤษในสมัยนั้นด้วยเหตุผลนี้
คนงานคนหนึ่งจึงเตะกะโหลกศีรษะนั้นทันที ส่วนคนอื่นๆ ที่อยู่ในบริเวณนั้นก็พากันหยุดงาน
ชั่วคราว แล้วหันมาเตะกะโหลกศีรษะเป็นการใหญ่ เพื่อระบายอารมณ์แค้นที่เก็บไว้อย่าง
สนุกสนาน ผลที่สุดเมื่อพวกนี้หากะโหลกศีรษะเตะกันไม่ได้ก็เอาถุงลมของวัวมาทาเป็นลูกกลม
ขึ้นเตะแทนกะโหลกศีรษะ ปรากฏว่าเป็นที่รื่นเริงสนุกสนามกันมาก ต่อมาชาวโรมันได้นาเกมนี้
ไปเล่นในอังกฤษ จากนั้นชาวอังกฤษก็ได้ปรับปรุงวิธีการเล่น เทคนิคการเล่น ตลอดจนกติกาให้
เหมือนในสมัยปัจจุบัน คือเกมฟุตบอลที่ใช้เท้าเล่น แต่ในระยะแรกของการเล่นฟุตบอลจะเล่น
กันเป็นกลุ่มๆ เฉพาะพวกคนธรรมดาเท่านั้น ไม่มีการจากัดจานวนผู้เล่น ประตูจะห่างกันเป็น
ไมล์และใช้เวลาในการเล่นหลายชั่วโมง จะเป็นการเล่นระหว่างทหารใหม่ที่ถูกเกณฑ์ นักบวช
คนที่แต่งงานแล้ว คนโสด และพวกพ่อค้า เกมชนิดได้กลายเป็นสิ่งฉลองในงานพิธีต่างๆ เช่น ใน
วันโชรพ ทิวส์เดย์(Shrove Tuesday) จะมีฟุตบอลนัดสาคัญให้คนได้ชม เกมในสมัยนั้นจะเล่น
กันอย่างรุนแรงและมีการบาดเจ็บกันมาก
ในวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 1857 พระเจ้าเอ๊ดเวิร์ดที่ 2 ได้ทรงออกพระราชกฤษฎีกา เนื่องจากมี
เสียงอึกทึกครึกโครมจาการวิ่งแย่งลูกบอล ซึ่งอาจจะทาให้เกิดอุบัติเหตุมากมาย อันเป็นข้อห้าม
ของพระเจ้า โดยห้ามเล่นกีฬาดังกล่าว ผู้ใดฝ่าฝืนมีโทษจาคุก
ฟุตบอลได้เริ่มแข่งขันภายใต้กฎของสมาคมแห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2412 ระหว่างทีมรัตเกอร์กับ
ทีมบรินท์ตัน จากนั้นกิจการฟุตบอลได้เจริญขึ้นช้าๆ ในต่างจังหวัดจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่
1 ได้มีการตั้งสมาคมฟุตบอลต่างจังหวัดขึ้นในปี พ.ศ. 2450 และมีการฝึกสอนในปี พ.ศ. 2484
ในทวีปเอเชีย
อินเดียเป็นประเทศแรกที่เริ่มเล่นฟุตบอล ศาสตราจารย์จากวิทยาลัยกัลกัตตา เป็นผู้นาสาเนา
กฎหมายการเล่นมาเผยแพร่ในปี พ.ศ. 2426 และในปี พ.ศ. 2435 ได้มีการแข่งขันชิงถ้วยรางวัล
เป็นครั้งแรก ในทวีปซึ่งยังไม่มีชื่อเสียงในด้านการเล่นฟุตบอล กีฬาชนิดนี้ก็ได้เริ่มมีการเล่นมา
ก่อนร่วมร้อยปีแล้ว เช่น สมาคมฟุตบอลแห่งนิวเซาท์เวลส์ ได้ถูกตั้งขึ้นในออสเตรเลีย ปี พ.ศ.
2425 และสมาคมฟุตบอลของนิวซีแลนด์ได้ถูกตั้งขึ้นหลังจากนั้น 9 ปี
ในแอฟริกา
สมาคมระดับชาติแห่งแรกได้ถูกตั้งขึ้นในประเทศแอฟริกาใต้แต่อียิปต์เป็นประเทศแรกที่มีการ
แข่งขันระดับชาติในปี พ.ศ. 2467 คือ 3 ปี หลังจากที่ได้ก่อตั้งสมาคมขึ้น และอียิปต์สามารถ
เอาชนะฮังการีได้3-0 ในกีฬาโอลิมปิกที่ปารีส
การแข่งขันระดับชาติเป็นการแข่งขันระหว่างอังกฤษกับสกอตแลนด์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2415 และใน
ปีแรกของศตวรรษที่ 20 โดยประเทศยุโรปอื่นๆ อย่างไรก็ตามในปี พ.ศ. 2447 กลุ่มประเทศ
ต่างๆ ในแถบนี้ได้ประชุมกันที่ปารีสเพื่อตั้งสมาคมฟุตบอลนานาชาติขึ้น ในครั้งแรกก่อนการ
จัดตั้งสหพันธ์ 20 วัน สเปนและเดนมาร์กไม่เคยร่วมการแข่งขันระดับชาติมาก่อน และ 3
ประเทศใน 7 ประเทศที่เข้าร่วมประชุมยังไม่มีสมาคมฟุตบอลในชาติของตน แต่ฟีฟ่าก็แข็งแกร่ง
ขึ้นเรื่อยมา โดยมีสมาชิก 5 ชาติ ในปี พ.ศ. 2481 และ 73 ชาติ ในปี พ.ศ. 2493 และในปัจจุบันมี
สมาชิกถึง 146 ประเทศ ที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมของฟีฟ่า ทาให้ฟีฟ่าเป็นองค์การกีฬาที่ใหญ่
ที่สุดในโลก
สมาพันธ์ประจาทวีปของสมาคมฟุตบอลแห่งแรกที่ตั้งขึ้นคือ Conmebol ซึ่งเป็นสมาพันธ์ของ
อเมริกาใต้สมาพันธ์นี้ได้ถูกจัดขึ้นเพื่อจัดตั้งเพื่อจัดการแข่งขันชิงชนะเลิศภายในทวีปอเมริกาใต้
ในปี พ.ศ. 2460 เกือบครึ่งศตวรรษ ต่อมาเมื่การแข่งขันภายในทวีปได้แพร่หลายมากขึ้น จึงได้มี
การจัดตั้งสมาพันธ์ในทวีปอื่นๆ ขึ้นอีกคือสหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป ในปี พ.ศ. 2497 ซึ่งเป็น
ปีเดียวกับการจัดตั้งในทวีปเอเชีย และ 2 ปี ก่อนการจัดตั้งสมาคมฟุตบอลยุโรป ในปี พ.ศ. 2497
ซึ่งเป็นปีเดียวกับการจัดตั้งสหพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา (Concacaf)หรือสหพันธ์ฟุตบอลแห่ง
อเมริกากลาง อเมริกาเหนือ และแคริบเบี้ยน ได้ถูกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2504 และน้องใหม่ใน
วงการฟุตบอลโลกคือ สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งโอเชียนเนีย (Oceannir)
กติกาเบื้องต้น
กติกาของฟุตบอลมีจานวนทั้งหมด 17 ข้อในปัจจุบันดังนี้
ข้อ 1 สนามฟุตบอลจะต้องเป็นสนามหญ้ารูปที่เหลี่ยมผืนผ้า และมีเส้นในสนามทั้งหมดเป็นสีขาว
ข้อ 2 ลูกฟุตบอล ต้องเป็นลูกกลม ทามาจากหนัง หรือวัสดุอื่นตามความเหมาะสมและต้องไม่เป็นอันตราย
ต่อผู้เล่น
ข้อ 3 ผู้เล่นทั้งสองทีมต้องมีตัวจริงและตัวสารอง โดยตัวจริงมี 11 คน และมีตัวสารองไม่เกิน 7 คน
ข้อ 4 ผู้เล่นจะต้องใส่เสื้อทีมสีตัดกันอย่างชัดเจน ยกเว้นผู้รักษาประตู
ข้อ 5 ผู้คอยควบคุมการแข่งขันคือผู้ตัดสินหรือกรรมการ และมีผู้ช่วยผู้ตัดสินให้ความช่วยเหลือ
ข้อ 6 ผู้ช่วยผู้ตัดสินมีหน้าที่ในการเป็นผู้คอยชี้แนะหรือให้คาปรึกษาแก่ผู้ตัดสินหรือกรรมการในสนาม
ข้อ 7 ระยะเวลาที่ใช้ในการแข่งขันฟุตบอลมี 2 ช่วงเวลาด้วยกันคือครึ่งแรก และครึ่งหลัง แต่ละครึ่งมีเวลา 45
นาทีโดยไม่รวมการทดเวลาและพักครึ่งได้ไม่เกิน 15 นาที
ข้อ 8 ลูกบอลจะอยู่ในการเล่นเมื่อกระดอนจากเสาประตู คานประตู ธงมุมสนาม เข้ามาในสนามการแข่งขัน
ข้อ 9 ลูกบอลจะอยู่นอกการเล่นเมื่อลูกบอลได้ผ่านเส้นประตูหรือเส้นข้างออกไปหมดทั้งลูก และเมื่อผู้ตัดสิน
สั่งหยุดเกม
ข้อ 10 การนับคะแนนในการยิงเข้า 1 ลูกให้นับได้ว่าคือ 1 แต้มหรือ 1 ประตูผู้ชนะคือทีมที่ได้แต้มหรือประตู
มากกว่าแต่ถ้าแต้มหรือประตูเท่ากันให้ถือว่าเสมอ
ข้อ 11 ตาแหน่งล้าหน้าคือ ผู้เล่นที่อยู่ในตแหน่งล้าหน้าได้สัมผัสกับลูกบอล โดยผู้ตัดสินเห็นว่ามีส่วนร่วมใน
การเล่นอย่างชัดเจน แต่จะไม่ถือว่าล้าหน้าในกรณีที่ลูกบอลถูกเตะออกมาจากประตูหรือเตะมุม หรือจากการ
ทุ่ม
ข้อ 12 การทาโทษในการแข่งขันฟุตบอลมี 3 แบบคือ ตักเตือน ใบเหลือง และใบแดง
ข้อ 13 ฟรีคิก จะเกิดขึ้นเมื่อมีผู้เล่นทาฟาล์วนอกกรอบเขตโทษ การเตะฟรีคิกผู้เล่นจะนาลุกบอลมาตั้งเตะใน
จุดที่ผู้เล่นทาฟาล์ว
ข้อ 14 ลูกโทษ จะเกิดขึ้นเมื่อมีการทาฟาล์วในกรอบสีเหลี่ยมหน้าประตู ทาให้เสียลูกโทษ
ข้อ 15 การทุ่ม คือการโยนลูกบอลเข้าไปในสนามจากเส้นข้างบริเวณที่ออก
ข้อ 16 โกลคิก คือ ลูกที่ผู้รักษาประตูตั้งเตะจากเขตประตู ในกรอบเขตประตู
ข้อ 17 การเตะมุม เกิดขึ้นเมื่อลูกบอลทั้งลูกได้ผ่านเส้นประตูออกไปยังนอกสนาม ไม่ว่าจะกลิ้งหรือลอย
ออกไปนอกสนามก็ตาม โดยผู้รักษาประตูเป็นคนสัมผัสบอลคนสุดท้ายก่อนลูกออก เมื่อได้ลูกเตะมุมผู้เตะ
ต้องตั้งบอลในเขตเตะมุม ใกล้กับธงมุมและเมื่อเตะลูกออกจะต้องไม่ทาให้ธงเคลื่อนที่ ในการเตะมุมถ้าเตะ
ทีเดียวแล้วลูกเข้าประตูให้นับว่าเป็นประตู ผู้เล่นฝั่งตรงข้ามกับผู้เตะมุมจะเข้าใกล้ผู้เตะมุมน้อยกว่า 10 หลา
ไม่ได้นอกจากผู้เตะจะเตะลูกไปไกลแล้วอย่างน้อยเท่ากับระยะรอบวงของลูกจึงจะเริ่มเล่นต่อไปได้และจะ
เล่นลูกนั้นซ้าไม่ได้จนกว่าลูกนั้นจะถูกตัวของผู้เล่นคนใดคนหนึ่งก่อน
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับฟุตบอล
2. รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
3. นาข้อมูลมาเรียบเรียงใน Microsoft Word
4. นาข้อมูลใส่ใน Slide share
5. นาข้อมูลลงใน Blog ของตนเอง
6. สรุปข้อมูลที่น่าสนใจใน Microsoft powerpoint
7. นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. อินเทอร์เน็ต
3. โปรแกรม Microsoft Word
4. โปรแกรม Microsoft powerpoint
งบประมาณ
รวมทั้งสิ้น 40 บาท
- ค่ารายงาน 40 บาท
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ. เชียงใหม่
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
ผลการดาเนินงาน
1. ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับa69[v]มากขึ้น
2. เข้าใจการเล่นและกติกา
3. สามารถฝึกซ้อมและเล่นจริงได้
การนาไปใช้
1. นาข้อมูลไปเผยแพร่ให้คนที่สนใจ
2. นาไปเป็นการเรียนการสอน
3. นาไปฝึกซ้อมและเล่นจริงได้
บทที่ 5
สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ
ผลการดาเนินงานโครงงาน
จากการทาโครงงานเรื่อง ฟุตบอล ทาให้ทั้งผู้จัดทาและผู้ที่สนใจได้รับความรู้ในเรื่องว่าย
น้า ไม่ว่าจะเป็นประวัติความเป็นมา วิธีการเล่น กติกา และยังสามารถนาไปฝึกซ้อมและเล่นจริง
ได้นอกจากนี้ยังสามารถเผยแพร่ความรู้นี้ได้ในรูปแบบการเรียนการสอนที่เข้าใจ
ปัญหาและอุปสรรค
การใช้เทคโนโลยีในการทางาน
เวลาในการทางานไม่ตรงกัน
ข้อเสนอแนะ
มีการนาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่ไม่ใช่อินเทอร์เน็ตด้วย เพื่อเพิ่มเป้าหมายของผู้ที่สนใจ
อยากฟุตบอลหรืออยากรู้จักการฟุตบอล
บรรณานุกรม
แหล่งอ้างอิง
https://en.wikipedia.org/wiki/Football
https://www.click2sbobet.com/sbobet/621/
https://www.blogger.com
https://itecsoftbox.wordpress.com
Tโครงงานคอม

More Related Content

What's hot

ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขThanapol Pacharapha
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
thanapisit marakul na ayudhya
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
Pongpan Pairojana
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
โรงเรียน บ้านสุไหงโก-ลก
 
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วยแผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
KiiKz Krittiya
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3Kansinee Kosirojhiran
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
Pawit Chamruang
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
พิทักษ์ ทวี
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 

What's hot (20)

ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
 
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วยแผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
แผนภาพต้นไม้11
แผนภาพต้นไม้11แผนภาพต้นไม้11
แผนภาพต้นไม้11
 
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 

Recently uploaded

โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 

Recently uploaded (8)

โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 

Tโครงงานคอม

  • 1. โครงงาน เรื่อง ฟุตบอล ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย พิเชฐ ยารังสี เลขที่ 22 ชั้น ม.6 ห้อง 7 นาย อภิวิชญ์ เมทา เลขที่ 31 ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม คุณครู นันทิตา รัตนธรรม โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา คอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทที่ 1 1 บทที่ 2 3 บทที่ 3 8 บทที่ 4 9 บทที่ 5 10 บรรณานุกรม 11
  • 3. ชื่อผู้ทาโครงงาน : นาย พิเชฐ ยารังสี นาย อภิวิชญ์เมทา ชื่อเรื่อง : ฟุตบอล รายวิชา :การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ : การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) ครูที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ปีการศึกษา : 2/2560 บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง “ฟุตบอล” มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้รู้ถึงประวัติความเป็นมา วิธีการเล่นและกติกาของฟุตบอลเพื่อให้ทราบถึงวิธีการเล่นที่ ทักษะต่างๆที่ ถูกต้อง เพื่อเป็นแนวทางในการฝึกเล่นหรือการแข่งขันต่างๆ และเพื่อนาไป เผยแพร่ให้บุคคลทั่วไปได้รับรู้ในเรื่องของฟุตบอล เพิ่มมากขึ้นโดยเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้คือ เว็บไซต์ในการเผยแพร่ข้อมูลที่ได้ทาการศึกษา PowerPoint ในการนาเสนอโครงงานและรูปเล่มโครงงานส่วนแนวทางการ ดาเนินตั้งแต่ กาหนดหัวข้อที่ทาการศึกษา รวบรวมข้อมูลที่จะทาการศึกษา ทา โครงร่างที่ทาการศึกษา เริ่มทางการศึกษาในหัวข้อที่ต้องการ รวบรวมข้อมูลที่ ได้ศึกษา แล้วสุดท้ายทาโครงงานให้สมบูรณ์ที่สุดหลังจากการทาโครงงาน เสร็จสิ้นก็ได้สรุปผลการดาเนินงานดังนี้ ทาให้ทั้งผู้จัดทาและผู้ที่สนใจได้รับ ความรู้ในเรื่องของ ฟุตบอล เพิ่มเติมสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันและเผยแพร่ความรู้นี้ในรูปแบบสื่อการเรียนการสอน
  • 4. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง “ฟุตบอล” สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาของอาจารย์ที่ ปรึกษาโครงงาน ได้แก่คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ได้ให้คาปรึกษา แนะนา ชี้แนะในการศึกษาค้นคว้าแนะนาขั้นตอนในการจัดทาโครงงานจนลุล่วงสาเร็จ ด้วยดี คณะผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ณ โอกาสนี้ ขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่ให้กาลังใจในการศึกษาเล่นเรียน และสมาชิก กลุ่มที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการทาโครงงานครั้งนี้จนกระทั่งประสบ ความสาเร็จด้วยดี
  • 5. บทที่ 1 บทนา ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : ฟุตบอล ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Soccer ประเภทโครงงาน :โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ประวัติฟุตบอล – ฟุตบอล (Football) หรือซอคเก้อร์ (Soccer) เป็นกีฬาที่มีผู้สนใจที่จะชม การแข่งขันและเข้าร่วมเล่นมากที่สุดในโลก ชนชาติใดเป็นผู้กาเนิดกีฬาชนิดนี้อย่างแท้จริงนั้น ไม่อาจจะยืนยันได้แน่นอน เพราะแต่ละชนชาติต่างยืนยันว่าเกิดจากประเทศของตน แต่ใน ประเทศฝรั่งเศสและประเทศอิตาลี ได้มีการละเล่นชนิดหนึ่งที่เรียกว่า “ซูเลอ” (Soule) หรือจิโอ โค เดล คาซิโอ (Gioco Del Calcio) มีลักษณะการเล่นที่คล้ายคลึงกับกีฬาฟุตบอลในปัจจุบัน ทั้ง สองประเทศอาจจะถกเถียงกันว่ากีฬาฟุตบอลถือกาเนิดจากประเทศของตน อันเป็นการหาข้อยุติ ไม่ได้เพราะขาดหลักฐานยืนยันอย่างแท้จริง ดังนั้น ประวัติของกีฬาฟุตบอลที่มีหลักฐานที่ แท้จริงสามารถจะอ้างอิงได้เพราะการเล่นที่มีกติกาการแข่งขันที่แน่นอน คือประเทศอังกฤษ เพราะประเทศอังกฤษตั้งสมาคมฟุตบอลในปี พ.ศ. 2406 และฟุตบอลอาชีพของอังกฤษเกิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2431 วิวัฒนาการด้านฟุตบอลจะเป็นไปพร้อมกับความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ตลอดมา ต้นกาเนิด กีฬาตะวันออกไกลจะได้รับอิทธิพลมาจากสงครามครั้งสาคัญๆ เช่น สงครามพระเจ้าอเล็กซานเด อร์มหาราช ได้นาเอา “แกลโล-โรมัน” (Gello-Roman) พร้อมกีฬาต่างๆ เข้ามาสู่เมืองกอล (Gaul) อันเป็นรากฐานส่วนหนึ่งของกีฬาฟุตบอลในอนาคต และการเล่นฮาร์ปาสตัม (Harpastum) ได้ ถูกดัดแปลงมาเป็นกีฬาซูเลอ
  • 6. วัตถุประสงค์ 1. เพื่ออนุรักษ์กีฬาฟุตบอล 2. เพื่อฝึกการทางานเป็นกลุ่ม 3. เป็นการสร้างร่างกายให้แข็งแรง 4. เพื่อให้สุขภาพแข็งแรง 5. เพื่อศึกษาประวิติและวิธีการเล่นฟุตบอล 6.เพื่อให้สามัคคีกัน รักใคร่กลมเกลียวกัน
  • 7. บทที่ 2 วิวัฒนาการของฟุตบอล ภาคตะวันออกไกล ขงจื้อได้กล่าวไว้ในหนังสือ “กังฟู” เกี่ยวกับกีฬา โดยเฉพาะอย่างยิ่งกีฬาที่ใช้เท้าและศีรษะใน สมัยจักรพรรดิ์ เซิงติ (Emperor Cneng Ti) (ปี 32 ก่อนคริสตกาล) มีการเล่นกีฬาที่คล้ายกับ ฟุตบอลซึ่งเรียกว่า”ซือ-ซู” (Tsu-Chu) ซึ่งหมายถึงการเตะลูกหนังด้วยเท้า กีฬาชนิดนี้ได้รับความ นิยมอย่างกว้างขวาง ซึ่งนักประพันธ์และนักประวัติศาสตร์ในสมัยนั้นได้ยกย่องผู้เล่นที่มีชื่อเสียง ให้เป็นวีรบุรุษของชาติ และในสมัยเดียวกันได้มีการเล่นคล้ายฟุตบอลในประเทศญี่ปุ่นอีกด้วย ภาคตะวันออกกลาง ในกรุงโรม ความเจริญของตะวันออกไกลได้แผ่ขยายถึงตะวันออกกลางโดยเฉพาะอย่างยิ่งจาก อิทธิพลของสงคราม โดยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช การเล่นกีฬาชนิดหนึ่งเรียกว่า ฮาร์ ปาสตัม เป็นกีฬาที่นิยมของชาวโรมันและชาวกรีกโบราณวิธีการเล่นคือ มีประตูคนละข้าง แล้ว เตะลูกบอลไปยังจุดหมายที่ต้องการ เช่น จากหมู่บ้านหนึ่งไปอีกหมู่บ้านหนึ่ง การเล่นจะเป็นการ เตะ หรือการขว้างไปข้างหน้าฮาร์ปาสตัม หมายถึงการเหวี่ยงไปข้างหน้า การเล่นกีฬาฮาร์ปาสตัม ในกรุงโรมดูเหมือนจะเป็นต้นกาเนิดของกีฬาซึ่งมีการเล่นในสมัยกลาง ในการเล่นฮาร์ปาสตัม ขนาดของสนามจะเล็กกว่าสนามกีฬาซูเลอ แต่จุดประสงค์ของกีฬาทั้ง สองคือ การนาลูกบอล ไปยังแดนของตน แต่เนื่องจากมีเสียงอึกทึกโครมครามจากการวิ่งแย่งลูก บอล ซึ่งอาจจะทาให้เกิดอุบัติเหตุได้มากมาย อันเป็นข้อห้ามของพระเจ้า จึงมีพระบรมราช โองการในนามของพระเจ้าแผ่นดินห้ามเล่นกีฬาดังกล่าวในเมือง ผู้ฝ่าฝืนมีโทษถึงจาคุก นอกจากนี้ยังมีข้อห้ามซึ่งออกในวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.1892 ขอให้เล่นยิงธนูในวันฉลองต่าง ๆ แทนการเล่นเกมฟุตบอล ในโอกาสต่อมากีฬาฟุตบอลได้จัดให้มีการแข่งขันกันอีกครั้ง ซึ่งเป็นการเผชิญหน้ากันระหว่าง ทีมต่างๆ ที่อยู่ห่างกันประมาณ 3-4 ไมล์( 5-6.5 กิโลเมตร) ในปี พ.ศ. 2344 กีฬาชนิดนี้ได้ขัด เกลาให้ดีขึ้น มีการกาหนดจานวนผู้เล่นให้เท่ากันในแต่ละข้าง ขนาดของสนามอยู่ในระหว่าง 80 – 100 หลา (73-91 เมตร) และมีประตูทั้งสองข้างที่ริมสุดของสนามซึ่งทาด้วยไม้2 อัน ห่างกัน 2- 3 ฟุต
  • 8. ในปี พ.ศ. 2366 ได้จัดให้มีการเล่นฟุตบอลในรูปแบบของการเล่นใน ปัจจุบัน William Alice คือ ผู้เริ่มวางกฎบังคับต่างๆ สาหรับกีฬาฟุตบอลและรักบี้ ในปี พ.ศ. 2393 ได้มีการออกระเบียบและ กฎของการเล่นไปสู่ ดินแดนต่างๆ ให้ปฏิบัติตาม โดยจากัดจานวนผู้เล่นให้มีข้างละ 15-20 คน ในปี พ.ศ. 2413 มีการกาหนดผู้เล่นให้เหลือข้างละ 11 คน โดยมีผู้เล่นกองหน้า 9 คน และผู้เล่น รักษาประตู 2 คน โดยผู้รักษาประตูใช้เท้าเล่นเหมือน 9 คนแรกจนกระทั่งให้เหลือผู้รักษาประตู 1 คน แต่อนุญาตให้ใช้มือจับลูกบอลได้ในปี พ.ศ. 2423 ในปี พ.ศ. 2400 สโมสรฟุตบอลได้ก่อตั้งเป็นครั้งแรกที่เมืองเซนพัสด์ประเทศอังกฤษ และต่อมา ในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2406 สโมสรฟุตบอล 11 แห่งได้มารวมกันที่กรุงลอนดอนเพื่อก่อตั้ง สมาคมฟุตบอลขึ้น ซึ่งถือเป็นรากฐานในการกาเนิดสมาคมแห่งชาติ จนถึง 140 สมาคม และทา ให้ผู้เล่นฟุตบอลต้องเล่นตามกฎและกติกาของสมาคมฟุตบอล จนเวลาผ่านไปจากคาว่า Association ก็ย่อเป็น Assoc และกลายเป็น Soccer ขึ้นในที่สุด ซึ่งนิยมเรียกกันในประเทศ อังกฤษ แต่ชาวอเมริกันเรียกว่า Football หมายถึง American football ภายนอกเกาะอังกฤษ พวกกะลาสีเรือ ทหาร พ่อค้า วิศวกร หรือแม้แต่นักบวชได้นากีฬาชนิดนี้ ไปเผยแพร่ ประเทศเดนมาร์กเป็นประเทศที่ 2 ในยุโรป ในอเมริกาใต้สโมสรแรกได้ถูกตั้งขึ้นในประเทศอาร์เจนตินา เมื่อพี่น้องชาวอังกฤษ 2 คน ได้ลง ข้อความโฆษณาในหนังสือพิมพ์ของเมืองบูเอโนสไอเรส (Buenos Aires) เพื่อ หาผู้อาสาสมัคร ในปี พ.ศ. 2427 กีฬาฟุตบอลก็กลายมาเป็นวิชาหนึ่งในโรงเรียนของเมืองบูเอโนสไอเรส การ แข่งขันระดับชาติครั้งแรกในทวีปอเมริกาใต้คือ การแข่งขันระหว่างอาร์เจนตินากับอุรุกวัย ในปี พ.ศ.2448 แต่อเมริกาเหนือเริ่มแข่งขันเมื่อปี พ.ศ. 2435 ในอิตาลี ฮาร์ปาสตัมเป็นต้นกาเนิดจิโอโค เดล คาลซิโอ ผู้เล่นกีฬาจะเป็นผู้นาทางสังคม หรือ แม้แต่ผู้นาชั้นสูงของศาสนา เช่นสันตปาปา เกลาเมนต์ที่ 7 ลีออนที่ 10 และเออร์เบนที่ 7 เป็นถึง แชมเปี้ ยนในกีฬาฟลอเรนไทน์ฟุตบอล ต่อมาชาวโรมันได้ดัดแปลงเกมการเล่นฮาร์ปาสตัมเสีย ใหม่ โดยกาหนดให้ใช้เท้าแตะลูกบอลเท่านั้น ส่วนมือให้ใช้เฉพาะการทุ่มลูกบอล ซึ่งนักรบชาว โรมัน นิยมเล่นกันมาก กีฬาฮาร์ปาสตัมซึ่งมีต้นกาเนิดจากสมัยโรมันได้ถูกแปลงมาเป็นกีฬาซูลอหรือซูเลอ กีฬาชนิดนี้ เหมือนกับฮาร์ปาสตัม คือ นาลูกบอลกลับไปยังแดนของตน แต่สนามมีขนาดกว้างกว่ามาก
  • 9. การเล่นซูเลอมักจะมีขึ้นในบ่ายวันอาทิตย์หลังการสวดมนต์เย็น จะมีการแข่งขันสาคัญใน ช่วงเวลาดีคาร์นิวาล กีฬาชนิดนี้เป็นที่นิยมมากในเขตปริตานีและมอร์ลังดี กีฬานี้ได้ถูกเผยแพร่ ไปยังอังกฤษโดยผู้ติดตามของวิลเลี่ยมผู้พิชิตภายหลัง การรบที่เฮสติ้ง (Hasting) เมื่อ 900 ปีกว่ามาแล้ว ประเทศอังกฤษได้ตกอยู่ในความปกครองของพวกเคนส์ เชื้อสายโรมัน ซึ่งยกกองทัพมาตีหมู่เกาะอังกฤษตอนใต้และได้ปกครองเรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ. 1589 อังกฤษเริ่ม เข้มแข็งขึ้น และสามารถขับไล่พวกเคนส์ออกจากประเทศได้หลังจากนั้น 2-3 ปี อังกฤษจึงเริ่ม ปรับปรุงประเทศเป็นการใหญ่ มีการขุดอุโมงค์ตามพื้นที่หลายแห่ง ซึ่งในการขุดอุโมงค์คนงาน คนหนึ่งได้ขุดไปพบกะโหลกศีรษะในบริเวณที่เคยเป็นสนามรบ และเป็นที่ฝังศพของพวกเคนส์ มาก่อนทุกคนในที่นั้นแน่ใจว่าเป็นกะโหลกศีรษะของพวกเคนส์ อารมณ์แค้นจึงเกิดขึ้นทันทีเมื่อ ต่างคนต่างคิดถึงเหตุการณ์ที่ถูกพวกเคนส์กดขี่ทารุณจิตใจคนอังกฤษในสมัยนั้นด้วยเหตุผลนี้ คนงานคนหนึ่งจึงเตะกะโหลกศีรษะนั้นทันที ส่วนคนอื่นๆ ที่อยู่ในบริเวณนั้นก็พากันหยุดงาน ชั่วคราว แล้วหันมาเตะกะโหลกศีรษะเป็นการใหญ่ เพื่อระบายอารมณ์แค้นที่เก็บไว้อย่าง สนุกสนาน ผลที่สุดเมื่อพวกนี้หากะโหลกศีรษะเตะกันไม่ได้ก็เอาถุงลมของวัวมาทาเป็นลูกกลม ขึ้นเตะแทนกะโหลกศีรษะ ปรากฏว่าเป็นที่รื่นเริงสนุกสนามกันมาก ต่อมาชาวโรมันได้นาเกมนี้ ไปเล่นในอังกฤษ จากนั้นชาวอังกฤษก็ได้ปรับปรุงวิธีการเล่น เทคนิคการเล่น ตลอดจนกติกาให้ เหมือนในสมัยปัจจุบัน คือเกมฟุตบอลที่ใช้เท้าเล่น แต่ในระยะแรกของการเล่นฟุตบอลจะเล่น กันเป็นกลุ่มๆ เฉพาะพวกคนธรรมดาเท่านั้น ไม่มีการจากัดจานวนผู้เล่น ประตูจะห่างกันเป็น ไมล์และใช้เวลาในการเล่นหลายชั่วโมง จะเป็นการเล่นระหว่างทหารใหม่ที่ถูกเกณฑ์ นักบวช คนที่แต่งงานแล้ว คนโสด และพวกพ่อค้า เกมชนิดได้กลายเป็นสิ่งฉลองในงานพิธีต่างๆ เช่น ใน วันโชรพ ทิวส์เดย์(Shrove Tuesday) จะมีฟุตบอลนัดสาคัญให้คนได้ชม เกมในสมัยนั้นจะเล่น กันอย่างรุนแรงและมีการบาดเจ็บกันมาก ในวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 1857 พระเจ้าเอ๊ดเวิร์ดที่ 2 ได้ทรงออกพระราชกฤษฎีกา เนื่องจากมี เสียงอึกทึกครึกโครมจาการวิ่งแย่งลูกบอล ซึ่งอาจจะทาให้เกิดอุบัติเหตุมากมาย อันเป็นข้อห้าม ของพระเจ้า โดยห้ามเล่นกีฬาดังกล่าว ผู้ใดฝ่าฝืนมีโทษจาคุก ฟุตบอลได้เริ่มแข่งขันภายใต้กฎของสมาคมแห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2412 ระหว่างทีมรัตเกอร์กับ ทีมบรินท์ตัน จากนั้นกิจการฟุตบอลได้เจริญขึ้นช้าๆ ในต่างจังหวัดจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้มีการตั้งสมาคมฟุตบอลต่างจังหวัดขึ้นในปี พ.ศ. 2450 และมีการฝึกสอนในปี พ.ศ. 2484
  • 10. ในทวีปเอเชีย อินเดียเป็นประเทศแรกที่เริ่มเล่นฟุตบอล ศาสตราจารย์จากวิทยาลัยกัลกัตตา เป็นผู้นาสาเนา กฎหมายการเล่นมาเผยแพร่ในปี พ.ศ. 2426 และในปี พ.ศ. 2435 ได้มีการแข่งขันชิงถ้วยรางวัล เป็นครั้งแรก ในทวีปซึ่งยังไม่มีชื่อเสียงในด้านการเล่นฟุตบอล กีฬาชนิดนี้ก็ได้เริ่มมีการเล่นมา ก่อนร่วมร้อยปีแล้ว เช่น สมาคมฟุตบอลแห่งนิวเซาท์เวลส์ ได้ถูกตั้งขึ้นในออสเตรเลีย ปี พ.ศ. 2425 และสมาคมฟุตบอลของนิวซีแลนด์ได้ถูกตั้งขึ้นหลังจากนั้น 9 ปี ในแอฟริกา สมาคมระดับชาติแห่งแรกได้ถูกตั้งขึ้นในประเทศแอฟริกาใต้แต่อียิปต์เป็นประเทศแรกที่มีการ แข่งขันระดับชาติในปี พ.ศ. 2467 คือ 3 ปี หลังจากที่ได้ก่อตั้งสมาคมขึ้น และอียิปต์สามารถ เอาชนะฮังการีได้3-0 ในกีฬาโอลิมปิกที่ปารีส การแข่งขันระดับชาติเป็นการแข่งขันระหว่างอังกฤษกับสกอตแลนด์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2415 และใน ปีแรกของศตวรรษที่ 20 โดยประเทศยุโรปอื่นๆ อย่างไรก็ตามในปี พ.ศ. 2447 กลุ่มประเทศ ต่างๆ ในแถบนี้ได้ประชุมกันที่ปารีสเพื่อตั้งสมาคมฟุตบอลนานาชาติขึ้น ในครั้งแรกก่อนการ จัดตั้งสหพันธ์ 20 วัน สเปนและเดนมาร์กไม่เคยร่วมการแข่งขันระดับชาติมาก่อน และ 3 ประเทศใน 7 ประเทศที่เข้าร่วมประชุมยังไม่มีสมาคมฟุตบอลในชาติของตน แต่ฟีฟ่าก็แข็งแกร่ง ขึ้นเรื่อยมา โดยมีสมาชิก 5 ชาติ ในปี พ.ศ. 2481 และ 73 ชาติ ในปี พ.ศ. 2493 และในปัจจุบันมี สมาชิกถึง 146 ประเทศ ที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมของฟีฟ่า ทาให้ฟีฟ่าเป็นองค์การกีฬาที่ใหญ่ ที่สุดในโลก สมาพันธ์ประจาทวีปของสมาคมฟุตบอลแห่งแรกที่ตั้งขึ้นคือ Conmebol ซึ่งเป็นสมาพันธ์ของ อเมริกาใต้สมาพันธ์นี้ได้ถูกจัดขึ้นเพื่อจัดตั้งเพื่อจัดการแข่งขันชิงชนะเลิศภายในทวีปอเมริกาใต้ ในปี พ.ศ. 2460 เกือบครึ่งศตวรรษ ต่อมาเมื่การแข่งขันภายในทวีปได้แพร่หลายมากขึ้น จึงได้มี การจัดตั้งสมาพันธ์ในทวีปอื่นๆ ขึ้นอีกคือสหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป ในปี พ.ศ. 2497 ซึ่งเป็น ปีเดียวกับการจัดตั้งในทวีปเอเชีย และ 2 ปี ก่อนการจัดตั้งสมาคมฟุตบอลยุโรป ในปี พ.ศ. 2497 ซึ่งเป็นปีเดียวกับการจัดตั้งสหพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา (Concacaf)หรือสหพันธ์ฟุตบอลแห่ง อเมริกากลาง อเมริกาเหนือ และแคริบเบี้ยน ได้ถูกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2504 และน้องใหม่ใน วงการฟุตบอลโลกคือ สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งโอเชียนเนีย (Oceannir)
  • 11. กติกาเบื้องต้น กติกาของฟุตบอลมีจานวนทั้งหมด 17 ข้อในปัจจุบันดังนี้ ข้อ 1 สนามฟุตบอลจะต้องเป็นสนามหญ้ารูปที่เหลี่ยมผืนผ้า และมีเส้นในสนามทั้งหมดเป็นสีขาว ข้อ 2 ลูกฟุตบอล ต้องเป็นลูกกลม ทามาจากหนัง หรือวัสดุอื่นตามความเหมาะสมและต้องไม่เป็นอันตราย ต่อผู้เล่น ข้อ 3 ผู้เล่นทั้งสองทีมต้องมีตัวจริงและตัวสารอง โดยตัวจริงมี 11 คน และมีตัวสารองไม่เกิน 7 คน ข้อ 4 ผู้เล่นจะต้องใส่เสื้อทีมสีตัดกันอย่างชัดเจน ยกเว้นผู้รักษาประตู ข้อ 5 ผู้คอยควบคุมการแข่งขันคือผู้ตัดสินหรือกรรมการ และมีผู้ช่วยผู้ตัดสินให้ความช่วยเหลือ ข้อ 6 ผู้ช่วยผู้ตัดสินมีหน้าที่ในการเป็นผู้คอยชี้แนะหรือให้คาปรึกษาแก่ผู้ตัดสินหรือกรรมการในสนาม ข้อ 7 ระยะเวลาที่ใช้ในการแข่งขันฟุตบอลมี 2 ช่วงเวลาด้วยกันคือครึ่งแรก และครึ่งหลัง แต่ละครึ่งมีเวลา 45 นาทีโดยไม่รวมการทดเวลาและพักครึ่งได้ไม่เกิน 15 นาที ข้อ 8 ลูกบอลจะอยู่ในการเล่นเมื่อกระดอนจากเสาประตู คานประตู ธงมุมสนาม เข้ามาในสนามการแข่งขัน ข้อ 9 ลูกบอลจะอยู่นอกการเล่นเมื่อลูกบอลได้ผ่านเส้นประตูหรือเส้นข้างออกไปหมดทั้งลูก และเมื่อผู้ตัดสิน สั่งหยุดเกม ข้อ 10 การนับคะแนนในการยิงเข้า 1 ลูกให้นับได้ว่าคือ 1 แต้มหรือ 1 ประตูผู้ชนะคือทีมที่ได้แต้มหรือประตู มากกว่าแต่ถ้าแต้มหรือประตูเท่ากันให้ถือว่าเสมอ
  • 12. ข้อ 11 ตาแหน่งล้าหน้าคือ ผู้เล่นที่อยู่ในตแหน่งล้าหน้าได้สัมผัสกับลูกบอล โดยผู้ตัดสินเห็นว่ามีส่วนร่วมใน การเล่นอย่างชัดเจน แต่จะไม่ถือว่าล้าหน้าในกรณีที่ลูกบอลถูกเตะออกมาจากประตูหรือเตะมุม หรือจากการ ทุ่ม ข้อ 12 การทาโทษในการแข่งขันฟุตบอลมี 3 แบบคือ ตักเตือน ใบเหลือง และใบแดง ข้อ 13 ฟรีคิก จะเกิดขึ้นเมื่อมีผู้เล่นทาฟาล์วนอกกรอบเขตโทษ การเตะฟรีคิกผู้เล่นจะนาลุกบอลมาตั้งเตะใน จุดที่ผู้เล่นทาฟาล์ว ข้อ 14 ลูกโทษ จะเกิดขึ้นเมื่อมีการทาฟาล์วในกรอบสีเหลี่ยมหน้าประตู ทาให้เสียลูกโทษ ข้อ 15 การทุ่ม คือการโยนลูกบอลเข้าไปในสนามจากเส้นข้างบริเวณที่ออก ข้อ 16 โกลคิก คือ ลูกที่ผู้รักษาประตูตั้งเตะจากเขตประตู ในกรอบเขตประตู ข้อ 17 การเตะมุม เกิดขึ้นเมื่อลูกบอลทั้งลูกได้ผ่านเส้นประตูออกไปยังนอกสนาม ไม่ว่าจะกลิ้งหรือลอย ออกไปนอกสนามก็ตาม โดยผู้รักษาประตูเป็นคนสัมผัสบอลคนสุดท้ายก่อนลูกออก เมื่อได้ลูกเตะมุมผู้เตะ ต้องตั้งบอลในเขตเตะมุม ใกล้กับธงมุมและเมื่อเตะลูกออกจะต้องไม่ทาให้ธงเคลื่อนที่ ในการเตะมุมถ้าเตะ ทีเดียวแล้วลูกเข้าประตูให้นับว่าเป็นประตู ผู้เล่นฝั่งตรงข้ามกับผู้เตะมุมจะเข้าใกล้ผู้เตะมุมน้อยกว่า 10 หลา ไม่ได้นอกจากผู้เตะจะเตะลูกไปไกลแล้วอย่างน้อยเท่ากับระยะรอบวงของลูกจึงจะเริ่มเล่นต่อไปได้และจะ เล่นลูกนั้นซ้าไม่ได้จนกว่าลูกนั้นจะถูกตัวของผู้เล่นคนใดคนหนึ่งก่อน
  • 13. บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับฟุตบอล 2. รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ 3. นาข้อมูลมาเรียบเรียงใน Microsoft Word 4. นาข้อมูลใส่ใน Slide share 5. นาข้อมูลลงใน Blog ของตนเอง 6. สรุปข้อมูลที่น่าสนใจใน Microsoft powerpoint 7. นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. อินเทอร์เน็ต 3. โปรแกรม Microsoft Word 4. โปรแกรม Microsoft powerpoint งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 40 บาท - ค่ารายงาน 40 บาท สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ. เชียงใหม่
  • 14. บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน 1. ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับa69[v]มากขึ้น 2. เข้าใจการเล่นและกติกา 3. สามารถฝึกซ้อมและเล่นจริงได้ การนาไปใช้ 1. นาข้อมูลไปเผยแพร่ให้คนที่สนใจ 2. นาไปเป็นการเรียนการสอน 3. นาไปฝึกซ้อมและเล่นจริงได้
  • 15. บทที่ 5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ ผลการดาเนินงานโครงงาน จากการทาโครงงานเรื่อง ฟุตบอล ทาให้ทั้งผู้จัดทาและผู้ที่สนใจได้รับความรู้ในเรื่องว่าย น้า ไม่ว่าจะเป็นประวัติความเป็นมา วิธีการเล่น กติกา และยังสามารถนาไปฝึกซ้อมและเล่นจริง ได้นอกจากนี้ยังสามารถเผยแพร่ความรู้นี้ได้ในรูปแบบการเรียนการสอนที่เข้าใจ ปัญหาและอุปสรรค การใช้เทคโนโลยีในการทางาน เวลาในการทางานไม่ตรงกัน ข้อเสนอแนะ มีการนาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่ไม่ใช่อินเทอร์เน็ตด้วย เพื่อเพิ่มเป้าหมายของผู้ที่สนใจ อยากฟุตบอลหรืออยากรู้จักการฟุตบอล