SlideShare a Scribd company logo
0
โครงงานขนมไทย
เรื่อง ความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย
เสนอ
ครูปรางทิพย์ เมธาวิริยะศิลป์
จัดทาโดย
นางสาวรุ่งทิวา สินถ่วง
นางสาวธนันธรณ์ คงสมบัติ
นางสาวธัญญา รักษาวงษ์
นายธนาทิตย์ เทศประทีป
นายวิธวิทย์ บุญล้อม
นายปัญญวัต จอมคา
นายพีรวัส ชูคง
นายสุทธิลักษณ์ วงค์ดีอินทร์
นายภูมิประวัติ คาวีวงศ์
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชาขนมไทย 2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพ และเทคโนโลยี
โรงเรียนชลประทานวิทยา ปีการศึกษา 2560
1
คานา
โครงงานขนมไทย เรื่อง ความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย
จัดทาขึ้นตามกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาขนมไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชลประทานวิทยา จังหวัดนนทบุรี โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะนาความรู้ในวิชา
ขนมไทยที่ได้รับจากการเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาเพื่อเป็นการศึกษาค้นคว้า และเผยแพร่ความรู้
เกี่ยวกับความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการที่จะทาให้ผู้ที่สนใจในเรื่องความแตก
แต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทยได้รับความรู้ตามสมควร
คณะผู้จัดทา
2
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานขนมไทย เรื่อง ความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทยนี้
สาเร็จได้ด้วยความร่วมมือของสมาชิกในกลุ่ม และรับการช่วยเหลือ และสนับสนุนจากหลาย ๆ ท่าน
ขอขอบคุณครูปรางทิพย์ เมธาวิริยะศิลป์ ที่เป็นที่ปรึกษาโครงงาน และสอนให้มีความรู้ความสามารถในการทา
ขนมไทย และทาให้เกิดโครงงานนี้ขึ้น ขอขอบคุณคุณครูทุกท่านที่โรงเรียนชลประทานวิทยา ที่ได้ให้ความรู้ใน
ด้านวิชาต่าง
จึงขอขอบพระคุณทุกท่านที่ได้สนับสนุนการทางาน และให้กาลังใจเสมอมา จนโครงงาน
ขนมไทย เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย และความดีอันเกิดจากการศึกษา
ค้นคว้าครั้งนี้ สมาชิกในกลุ่มขอมอบแด่ผู้มีพระคุณทุกท่าน และขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
3
สารบัญ
เรื่อง หน้า
กิตติกรรมประกาศ ก
คานา ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนา
ความเป็นมาของโครงงาน 1
วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1
ขอบเขตของโครงงาน 1
เป้าหมาย 1
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน 2
วิธีดาเนินงาน 2
นิยามศัพท์ 2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3
บทที่ 3 วิธีดาเนินงานโครงงาน 5
วิธีการดาเนินโครงงาน 5
จัดเตรียมวัสดุ – อุปกรณ์ (สังขยาฟักทอง) 5
ทดลองทาขนมไทย (สังขยาฟักทอง) 5
การเก็บรวบรวมข้อมูล 5
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 6
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 8
บรรณานุกรม 9
4
บทที่ 1
บทนา
1.1 ความเป็นมาของโครงงาน
ของหวานไทยหรือขนมไทย กล่าวได้ว่ามีอยู่คู่กับคนไทยมาช้านาน เพราะเป็นวัฒนธรรมอย่าง
หนึ่งที่บ่งบอกว่า คนไทยเป็นคนมีลักษณะนิสัย อย่างไร เนื่องด้วยขนมไทยแต่ละชนิด ล้วนมีเสน่ห์มี
รสชาติ ที่แตกต่างกันออกไป แต่แฝงไปด้วยความละเมียดละไม ความวิจิตรบรรจง อยู่ในรูปลักษณ์
กลิ่น รสของขนมที่สาคัญ ขนมไทยแสดงให้เห็นว่าเป็นคนใจเย็น รักสงบ มีฝีมือเชิงศิลปะ ขนม
ธรรมดาๆ ทาด้วยแป้ง น้าตาล มะพร้าว เป็นส่วนประกอบ สาคัญ สามารถดัดแปลงเป็นขนมหลาย
ชนิด หน้าตา แตกต่างกัน
ในสมัยโบราณคนไทยจะทาขนมเฉพาะวาระสาคัญเท่านั้น เป็นต้นว่างานทาบุญ เทศกาล
สาคัญ หรือต้อนรับแขกสาคัญ เพราะขนมบางชนิดจาเป็นต้องใช้กาลังคนอาศัยเวลาในการทา
พอสมควร
ในการทาขนมไทยนิยมที่จะใช้ไก่เป็ดในการทาเป็นส่วนมาก ทางกลุ่มผู้ศึกษาจึงเกิดข้อสงสัย
ว่าเหตุใดต้องไข่เป็ด แล้วความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทยเป็นอย่างไร
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.1 เพื่อศึกษาเรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย
1.2 เพื่อเผยแพร่ความรู้เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทยให้ผู้ที่สนใจ
ได้ศึกษา
1.3 ขอบเขตของโครงงาน
ความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย โดยใช้การทาขนมสังขยาฟักทอง
1.4 เป้าหมาย
1.4.1 เชิงคุณภาพ
ได้ขอสรุปของความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย
1.4.1 เชิงปริมาน
ร้อยละ 100 ของกลุ่มผู้ศึกษาและกลุ่มผู้เรียนในรายวิชาขนมไทย ทราบถึงความแตกแต่งระหว่าง
ไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย
5
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน
1.5.1 มีโครงงานขนมไทย เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย
1.5.2 ได้ขอสรุปของความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย จากการทาขนม
สังขยา
1.6 วิธีดาเนินงาน
การดาเนินงานเพื่อจัดทาโครงงานขนมไทย เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่
ต่อการทาขนมไทยนี้ มีวิธีการตามลาดับขั้นตอนดังนี้
1.6.1 ประชุมสมาชิกในกลุ่มเพื่อศึกษา และเลือกหัวข้อสนใจในการทาโครงงาน
1.6.2 นาเสนอหัวข้อโครงงานที่ได้จากการเลือกหัวข้อที่สนใจของกลุ่มทางานต่อ
ครูที่ปรึกษาโครงงาน
1.6.3 วางแผนการจัดทาโครงงาน โดยเขียนแบบร่างโครงงาน
1.6.4 นาแบบร่างโครงงานมาจัดทาโครงงานที่สมบูรณ์
1.6.5 ศึกษาค้นคว้า เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย
1.6.6 นาเสนอผลงาน
1.6.7 ประเมินผลงานการจัดทาโครงงาน
1.7 นิยามศัพท์
น้าค้างไข่ หมายถึง วนของไข่ขาวที่เป็นน้าใส ๆ เหมือนน้าค้างติดอยู่ภายในเปลือกไข่ด้านป้าน
ขนมสังขยาฟักทอง หมายถึง เป็นขนมชนิดหนึ่ง ทาด้วยไข่น้าตาลทราย กะทิหรือนมข้น บางทีมีน้า
ใบเตยเล็กน้อย กวนในกระทะกินกับขนมปัง
6
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการทาโครงงานขนมไทย เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย
กลุ่มผู้ศึกษาได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลักการต่างๆ จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
ขนมไทยเริ่มแพร่หลายมากขึ้นในสมัยอยุธยา ดังปรากฏข้อความในจดหมายเหตุหลายฉบับ
บางฉบับกล่าวถึง "ย่านป่าขนม" หรือตลาดขนม บางฉบับกล่าวถึง "บ้านหม้อ" ที่มีการปั้นหม้อ และรวมไปถึง
กระทะ ขนมเบื้อง เตาและรังขนมครก แสดงให้เห็นว่าขนมครกและขนมเบื้องนั้น คงจะแพร่หลายมากจนถึง
ขนาดมีการปั้นเตาและกระทะขาย บางฉบับกล่าวถึงขนมชะมด ขนมกงเกวียนหรือขนมกง ขนมครก ขนมเบื้อง
ขนมลอดช่อง จนถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อันถือได้ว่าเป็นยุคทองของการทาขนมไทย ดังที่
จดหมายเหตุฝรั่งโบราณได้มีการบันทึกไว้ว่า การทาขนมในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชนั้นเจริญรุ่งเรือง
มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อชาวโปรตุเกสอย่างท่านผู้หญิงวิชาเยนทร์หรือบรรดาศักดิ์ว่า ท้าวทองกีบม้า ผู้เป็น
ต้นเครื่องขนมหรือของหวานในวัง ได้สอนให้สาวชาววังทาของหวานต่าง ๆ โดยเฉพาะได้นาไข่ขาวและไข่แดง
มาเป็นส่วนผสมสาคัญอย่างที่ทางโปรตุเกสทากัน ขนมที่ท่านท้าวทองกีบม้าทาขึ้นและยังเป็น ที่นิยมจนถึง
ปัจจุบันก็ได้แก่ ขนมทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ขนมหม้อแกง และรวมไปถึง ขนมทองโปร่ง ขนมทองพลุ
ขนมสาปันนี ขนมไข่เต่า ฯลฯ
ล่วงจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ จดหมายเหตุความทรงจาของกรมหลวงนรินทร์เทวี ผู้ทรงเป็น
พระเจ้าน้องยาเธอในสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช กล่าวไว้ว่าในงานสมโภช พระแก้วมรกตและ
ฉลองวัดพระศรีรัตน์ศาสดาราม ได้มีเครื่องตั้งสารับหวานสาหรับ พระสงฆ์ ๒,๐๐๐ รูป ประกอบด้วย ขนมไส้ไก่
ขนมฝอย ข้าวเหนียวแก้ว ขนมผิง กล้วยฉาบ ล่าเตียง หรุ่ม สังขยา ฝอยทอง และขนมตะไล
ในกาพย์ห่อโคลงเห่เรือชมเครื่องคาวหวาน บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
นภาลัย ได้กล่าวชมเครื่องหวานหรือขนมไทยหลายชนิดด้วยกัน อาทิ ข้าวเหนียวสังขยา ขนมลาเจียก ขนม
ทองหยิบ ขนมทองหยอด ขนมผิง ขนมรังไร ขนมช่อม่วง ขนมบัวลอย ฯลฯ
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการพิมพ์ตาราอาหารออกเผยแพร่
การทาขนมไทยก็เป็นหนึ่งในตาราอาหารไทยนั้น จึงนับได้ว่าการทาขนมไทยและวัฒนธรรมขนมไทย เริ่มมีการ
บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างมีระบบระเบียบในสมัยรัชกาลที่ ๕ นี้เองแม่ครัวหัวป่าก็เป็นตาราอาหารไทย
เล่มแรก ประพันธ์โดยท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ ในตาราอาหารไทยเล่มนี้ปรากฏรายการสารับของหวาน
เลี้ยงพระอันประกอบด้วยขนมทองหยิบ ขนมฝอยทอง ขนมหม้อแกง ขนมหันตรา ขนมถ้วยฟู ข้าวเหนียวแก้ว
ขนมลืมกลืน วุ้นผลมะปราง ฯลฯ แสดงให้เห็นว่าคนไทยนิยมทาขนมใช้ในงานบุญ ซึ่งก็เป็นแบบแผน
ต่อเนื่องกันมาตั้งแต่สมัยอยุธยา
7
เป็นขนมไทยที่มีมาแต่โบราณ เป็นขนมไทยในกลุ่มที่ได้รับอิทธิพลมาจากโปรตุเกส
เดิมทีเป็นการทาสังขยาใช้สาหรับกินกับข้าวเหนียวมูล โดยส่วนผสมใช้ไข่เป็ด ไข่ไก่ หัวกะทิ น้าตาลมะพร้าว
เกลือ และใช้ขยาด้วยใบเตย หรือใบตองให้เข้ากันดีแล้วนาไปนึ่งในภาชนะต่างๆ
ต่อมาได้มีการเติมส่วนผสมอื่นๆเช่น เผือก ฟักทอง ลงไป ด้วยและบางทีก็ใช้ผลฟักทอง หรือลูกมะพร้าวอ่อน
เป็นภาชนะในการใส่สังขยานึ่ง
8
บทที่ 3
วิธีดาเนินโครงงาน
ในการทาโครงงานขนมไทย เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย
กลุ่มผู้ศึกษามีวิธีการดาเนินโครงงานดังต่อไปนี้
3.1 วิธีการดาเนินโครงงาน
3.1.1 ประชุมสมาชิกในกลุ่มเพื่อศึกษา และเลือกหัวข้อสนใจในการทาโครงงาน
3.1.2 นาเสนอหัวข้อโครงงานที่ได้จากการเลือกหัวข้อที่สนใจของกลุ่มทางานต่อครูที่ปรึกษา
3.1.3 วางแผนการจัดทาโครงงาน โดยเขียนแบบร่างโครงงาน
3.1.4 นาแบบร่างโครงงานมาจัดทาโครงงานที่สมบูรณ์
3.1.5 ศึกษาค้นคว้า เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย
3.1.6 นาเสนอผลงาน
3.1.7 ประเมินผลงานการจัดทาโครงงาน
3.2 จัดเตรียมวัสดุ – อุปกรณ์ (สังขยาฟักทอง)
3.2.1 หม้อนึ่ง
3.2.2 อ่างผสม
3.2.3 ไข่ไก่
3.2.4 ไข่เป็ด
3.2.5 น้าตาลปี๊บ
3.2.6 กะทิ
3.2.7 ฟักทอง
3.2.8 เกลือ
3.2.9 ใบเตย
3.3 ทดลองทาขนมไทย (สังขยาฟักทอง)
ในการทาสังขยาฟักทอง กลุ่มผู้ศึกษาได้แบ่งสูตรการทาออกเป็น 3 สูตร คือ 1) ใช้ไข่เป็ดเป็นส่วยผสม
ทั้งหมด 2) ใช้ไข่ไก่เป็นส่วนผสมทั้งหมด และ 3) ใช้ใช่เป็ดและไข่ไก่ในปริมาณที่เท่ากัน
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
กลุ่มผู้ศึกษาเป็นผู้เก็บรวบร่วมข้อมูลจาก นักเรียนชลประทานวิทยา จานวน 20 คน
ในรายวิชาขนมไทย
9
บทที่ 4
ผลของการดาเนินโครงงาน
ในการทาโครงงานขนมไทย เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย
ได้รับผลของการดาเนินโครงงานดังต่อไปนี้
ตารางที่4.1 สรุปแบบประเมินความพึงพอใจของความแตกต่างระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทา
ขนมไทย(สังขยาฟักทอง)
ความหมายของค่าเฉลี่ย
1.00 – 1.49 น้อยที่สุด 1.50 – 2.49 น้อย 2.50 - 3.49 ปานกลาง
3.50 – 4.49 มาก 4.50 – 5. 00 มากที่สุด
หัวข้อประเมิน
เกณฑ์การประเมิน
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด รวม
สังขยาฟักทองที่ใช้ไข่เป็ดทั้งหมด
รูปลักษณะ 50.00 15.00 15.00 10.00 10.00 3.75
กลิ่น 25.00 15.00 35.00 10.00 15.00 3.10
สี 75.00 10.00 10.00 5.00 - 4.55
เนื้อสัมผัส 55.00 20.00 10.00 5.00 10.00 3.95
รสชาติ 40.00 45.00 5.00 10.00 - 4.15
สรุปผลการประเมินโดยเฉลี่ย 3.90
สังขยาฟักทองที่ใช้ไข่ไก่ทั้งหมด
รูปลักษณะ 35.00 30.00 25.00 10.00 - 3.90
กลิ่น 45.00 25.00 25.00 5.00 - 4.60
สี 25.00 15.00 25.00 25.00 10.00 3.10
เนื้อสัมผัส 25.00 35.00 15.00 25.00 - 3.60
รสชาติ 50.00 30.00 10.00 10.00 - 4.20
สรุปผลการประเมินโดยเฉลี่ย 3.88
สังขยาฟักทองที่ใช้ไข่เป็ดและไข่ไก่เท่าๆกัน
รูปลักษณะ 55.00 45.00 - - - 4.55
กลิ่น 55.00 40.00 5.00 - - 4.50
สี 50.00 40.00 10.00 4.40
เนื้อสัมผัส 60.00 25.00 15.00 - - 4.45
รสชาติ 65.00 30.00 5.00 - - 4.60
สรุปผลการประเมินโดยเฉลี่ย 4.50
10
ผลการประเมินความพึงพอใจของความแตกต่างระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย
(สังขยาฟักทอง) พบว่า ความพึงพอใจต่อสังขยาฟักทองที่ใช้ไข่เป็ดทั้งหมด อยู่ในระดับ “มาก” ความพึงพอใจ
ต่อสังขยาฟักทองที่ใช้ไข่ไก่ทั้งหมด อยู่ในระดับ “มาก” และความพึงพอใจต่อสังขยาฟักทองที่ใช้ไข่เป็ดและไข่
ไก่เท่าๆกัน อยู่ในระดับ “มากที่สุด”
รูปที่4.1 เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย(สังขยาฟักทอง)
3.75
3.1
4.55
3.95
4.15
3.9
4.6
3.1
3.6
4.2
4.55
4.5
4.4
4.45
4.6
รู ปลัก ษ ณ ะ ก ลิ่น สี เ นื้อสัมผัส รสช าติ
แผนภูมิเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างไข่เป็ ดและไข่ไก่
ต่อการทาขนมไทย
ไข่เป็ด ไข่ไก่ ไข่เป็นและไข่ไก่
11
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการศึกษา
จากการทดลองพบว่าความแตกแต่งของไข่ไก่และไข่เป็ด ต่อขนมไทย นั้น แทบไม่แตกต่าง
กันมากมักขึ้นอยู่กับผู้บริโภค ว่ากลุ่มผู้บริโภคชอบรูปลักษณะ รสชาติ เนื้อสัมผัส กลิ่น และสี ใน
รูปแบบใด เพราะไข่ไก่ และไข่เป็ดมีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน
5.2 อภิปรายผล
จากการทดลองพบว่าการใช้ไข่ไก่ และไข่เป็ดในปริมานที่เท่าๆกัน อยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อ
เทียบกับการใช้ไข่ไก่ทั้งหมด และการใช้ไข่เป็นทั้งหมด ซึ่งอยู่ในระดับ มาก จะเห็นได้ว่าไข่ไก่และไข่เป็น
มรคุณสมบัติที่แตกต่างกัน แต่เมื่อนามาร่วมกันก็ทาให้ขนมออกมาหน้ารับประทานมากยิ่งขึ้น
5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา
เนื่องจากหัวข้อที่ใช้ทาโครงงานนี้เป็นหัวข้อตามที่กลุ่มสนใจ ซึ่งบางครั้งอาจไม่เป็นหัวข้อทาง
วิชาการมากนัก ควรนาหัวข้อทางวิชาการมาจัดทาเป็นโครงงานเพื่อประโยชน์ต่อการศึกษา
ผลการทาโครงงานครั้งนี้อาจมีความคาดเคลื่อน ขึ้นอยู่กับกลุ่มผู้บริโภค
12
บรรณานุกรม
มณี ทองคา. (2555). ตารับขนมไทยชาววัง. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์สื่อสุขภาพ.
รัมภา ศิริวงศ์. (2552). ขนมไทย. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ดวงกมลพับลิชชิ่ง.
ศรีสมร คงพันธุ์. (2533). ขนมไทย(เล่ม 1). กรุงเทพฯ: ศูนย์การพิมพ์พลชัย.
ศรีสมร คงพันธุ์, มณี สุวรรณผ่อง และอัจฉรา ชินาลัย. (2534). ขนมไทย2. กรุงเทพฯ: ศูนย์การ
พิมพ์พลชัย.
ขนมไทย. (2553). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แสงแดด. เส้นทางขนมไทย กาเนิดและวิวัฒนาการ
ขนมไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน. (2553). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แสงแดด.
http://iamlookpla56.blogspot.com/p/blog-page_717.html
https://sites.google.com/a/g.swu.ac.th/khnm-mngkhl9xyang/xeksar-xangxing
http://www.lib.ru.ac.th/journal/kanom.html

More Related Content

What's hot

มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
Araya Toonton
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
Panomporn Chinchana
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชี
Toeyy Piraya
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์Fon Edu Com-sci
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
Ponpirun Homsuwan
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
Nattha-aoy Unchai
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
Chalermsak Sornchai
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
Chinnapat Noosong
 
เรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิเรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิKobwit Piriyawat
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ศิริชัย เชียงทอง
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบWatcharinz
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานwannasriwichai
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
KruKaiNui
 
ใบงานที่ 3.2
ใบงานที่ 3.2ใบงานที่ 3.2
ใบงานที่ 3.2Nicharee Piwjan
 

What's hot (20)

มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชี
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
 
เรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิเรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิ
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบ
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ใบงานที่ 3.2
ใบงานที่ 3.2ใบงานที่ 3.2
ใบงานที่ 3.2
 

Similar to โครงงานความแกต่างของไข่เป็ดและไข่ไก่ต่อการทำขนมไทย

วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
PARPANUN69
 
food
foodfood
food
lamai22
 
อาหารไทย
อาหารไทยอาหารไทย
อาหารไทยlamai22
 
อาหารไทย
อาหารไทยอาหารไทย
อาหารไทย
suthata habsa
 
รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52
รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52
รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52jib jibs
 
แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพแม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพThitinob Komalnimi
 

Similar to โครงงานความแกต่างของไข่เป็ดและไข่ไก่ต่อการทำขนมไทย (6)

วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
วรรณคดีไทยโดดเด่นในอาเซียน....
 
food
foodfood
food
 
อาหารไทย
อาหารไทยอาหารไทย
อาหารไทย
 
อาหารไทย
อาหารไทยอาหารไทย
อาหารไทย
 
รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52
รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52
รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52
 
แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพแม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
แม่ ข้าวแกง และเมืองชั้นในกรุงเทพ
 

Recently uploaded

Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 

Recently uploaded (8)

Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 

โครงงานความแกต่างของไข่เป็ดและไข่ไก่ต่อการทำขนมไทย

  • 1. 0 โครงงานขนมไทย เรื่อง ความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย เสนอ ครูปรางทิพย์ เมธาวิริยะศิลป์ จัดทาโดย นางสาวรุ่งทิวา สินถ่วง นางสาวธนันธรณ์ คงสมบัติ นางสาวธัญญา รักษาวงษ์ นายธนาทิตย์ เทศประทีป นายวิธวิทย์ บุญล้อม นายปัญญวัต จอมคา นายพีรวัส ชูคง นายสุทธิลักษณ์ วงค์ดีอินทร์ นายภูมิประวัติ คาวีวงศ์ โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชาขนมไทย 2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพ และเทคโนโลยี โรงเรียนชลประทานวิทยา ปีการศึกษา 2560
  • 2. 1 คานา โครงงานขนมไทย เรื่อง ความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย จัดทาขึ้นตามกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาขนมไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชลประทานวิทยา จังหวัดนนทบุรี โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะนาความรู้ในวิชา ขนมไทยที่ได้รับจากการเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาเพื่อเป็นการศึกษาค้นคว้า และเผยแพร่ความรู้ เกี่ยวกับความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย หวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการที่จะทาให้ผู้ที่สนใจในเรื่องความแตก แต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทยได้รับความรู้ตามสมควร คณะผู้จัดทา
  • 3. 2 กิตติกรรมประกาศ โครงงานขนมไทย เรื่อง ความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทยนี้ สาเร็จได้ด้วยความร่วมมือของสมาชิกในกลุ่ม และรับการช่วยเหลือ และสนับสนุนจากหลาย ๆ ท่าน ขอขอบคุณครูปรางทิพย์ เมธาวิริยะศิลป์ ที่เป็นที่ปรึกษาโครงงาน และสอนให้มีความรู้ความสามารถในการทา ขนมไทย และทาให้เกิดโครงงานนี้ขึ้น ขอขอบคุณคุณครูทุกท่านที่โรงเรียนชลประทานวิทยา ที่ได้ให้ความรู้ใน ด้านวิชาต่าง จึงขอขอบพระคุณทุกท่านที่ได้สนับสนุนการทางาน และให้กาลังใจเสมอมา จนโครงงาน ขนมไทย เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย และความดีอันเกิดจากการศึกษา ค้นคว้าครั้งนี้ สมาชิกในกลุ่มขอมอบแด่ผู้มีพระคุณทุกท่าน และขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 4. 3 สารบัญ เรื่อง หน้า กิตติกรรมประกาศ ก คานา ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาของโครงงาน 1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1 ขอบเขตของโครงงาน 1 เป้าหมาย 1 ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน 2 วิธีดาเนินงาน 2 นิยามศัพท์ 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 บทที่ 3 วิธีดาเนินงานโครงงาน 5 วิธีการดาเนินโครงงาน 5 จัดเตรียมวัสดุ – อุปกรณ์ (สังขยาฟักทอง) 5 ทดลองทาขนมไทย (สังขยาฟักทอง) 5 การเก็บรวบรวมข้อมูล 5 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 6 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 8 บรรณานุกรม 9
  • 5. 4 บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็นมาของโครงงาน ของหวานไทยหรือขนมไทย กล่าวได้ว่ามีอยู่คู่กับคนไทยมาช้านาน เพราะเป็นวัฒนธรรมอย่าง หนึ่งที่บ่งบอกว่า คนไทยเป็นคนมีลักษณะนิสัย อย่างไร เนื่องด้วยขนมไทยแต่ละชนิด ล้วนมีเสน่ห์มี รสชาติ ที่แตกต่างกันออกไป แต่แฝงไปด้วยความละเมียดละไม ความวิจิตรบรรจง อยู่ในรูปลักษณ์ กลิ่น รสของขนมที่สาคัญ ขนมไทยแสดงให้เห็นว่าเป็นคนใจเย็น รักสงบ มีฝีมือเชิงศิลปะ ขนม ธรรมดาๆ ทาด้วยแป้ง น้าตาล มะพร้าว เป็นส่วนประกอบ สาคัญ สามารถดัดแปลงเป็นขนมหลาย ชนิด หน้าตา แตกต่างกัน ในสมัยโบราณคนไทยจะทาขนมเฉพาะวาระสาคัญเท่านั้น เป็นต้นว่างานทาบุญ เทศกาล สาคัญ หรือต้อนรับแขกสาคัญ เพราะขนมบางชนิดจาเป็นต้องใช้กาลังคนอาศัยเวลาในการทา พอสมควร ในการทาขนมไทยนิยมที่จะใช้ไก่เป็ดในการทาเป็นส่วนมาก ทางกลุ่มผู้ศึกษาจึงเกิดข้อสงสัย ว่าเหตุใดต้องไข่เป็ด แล้วความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทยเป็นอย่างไร 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1.1 เพื่อศึกษาเรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย 1.2 เพื่อเผยแพร่ความรู้เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทยให้ผู้ที่สนใจ ได้ศึกษา 1.3 ขอบเขตของโครงงาน ความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย โดยใช้การทาขนมสังขยาฟักทอง 1.4 เป้าหมาย 1.4.1 เชิงคุณภาพ ได้ขอสรุปของความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย 1.4.1 เชิงปริมาน ร้อยละ 100 ของกลุ่มผู้ศึกษาและกลุ่มผู้เรียนในรายวิชาขนมไทย ทราบถึงความแตกแต่งระหว่าง ไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย
  • 6. 5 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน 1.5.1 มีโครงงานขนมไทย เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย 1.5.2 ได้ขอสรุปของความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย จากการทาขนม สังขยา 1.6 วิธีดาเนินงาน การดาเนินงานเพื่อจัดทาโครงงานขนมไทย เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทยนี้ มีวิธีการตามลาดับขั้นตอนดังนี้ 1.6.1 ประชุมสมาชิกในกลุ่มเพื่อศึกษา และเลือกหัวข้อสนใจในการทาโครงงาน 1.6.2 นาเสนอหัวข้อโครงงานที่ได้จากการเลือกหัวข้อที่สนใจของกลุ่มทางานต่อ ครูที่ปรึกษาโครงงาน 1.6.3 วางแผนการจัดทาโครงงาน โดยเขียนแบบร่างโครงงาน 1.6.4 นาแบบร่างโครงงานมาจัดทาโครงงานที่สมบูรณ์ 1.6.5 ศึกษาค้นคว้า เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย 1.6.6 นาเสนอผลงาน 1.6.7 ประเมินผลงานการจัดทาโครงงาน 1.7 นิยามศัพท์ น้าค้างไข่ หมายถึง วนของไข่ขาวที่เป็นน้าใส ๆ เหมือนน้าค้างติดอยู่ภายในเปลือกไข่ด้านป้าน ขนมสังขยาฟักทอง หมายถึง เป็นขนมชนิดหนึ่ง ทาด้วยไข่น้าตาลทราย กะทิหรือนมข้น บางทีมีน้า ใบเตยเล็กน้อย กวนในกระทะกินกับขนมปัง
  • 7. 6 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการทาโครงงานขนมไทย เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย กลุ่มผู้ศึกษาได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลักการต่างๆ จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ ขนมไทยเริ่มแพร่หลายมากขึ้นในสมัยอยุธยา ดังปรากฏข้อความในจดหมายเหตุหลายฉบับ บางฉบับกล่าวถึง "ย่านป่าขนม" หรือตลาดขนม บางฉบับกล่าวถึง "บ้านหม้อ" ที่มีการปั้นหม้อ และรวมไปถึง กระทะ ขนมเบื้อง เตาและรังขนมครก แสดงให้เห็นว่าขนมครกและขนมเบื้องนั้น คงจะแพร่หลายมากจนถึง ขนาดมีการปั้นเตาและกระทะขาย บางฉบับกล่าวถึงขนมชะมด ขนมกงเกวียนหรือขนมกง ขนมครก ขนมเบื้อง ขนมลอดช่อง จนถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อันถือได้ว่าเป็นยุคทองของการทาขนมไทย ดังที่ จดหมายเหตุฝรั่งโบราณได้มีการบันทึกไว้ว่า การทาขนมในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชนั้นเจริญรุ่งเรือง มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อชาวโปรตุเกสอย่างท่านผู้หญิงวิชาเยนทร์หรือบรรดาศักดิ์ว่า ท้าวทองกีบม้า ผู้เป็น ต้นเครื่องขนมหรือของหวานในวัง ได้สอนให้สาวชาววังทาของหวานต่าง ๆ โดยเฉพาะได้นาไข่ขาวและไข่แดง มาเป็นส่วนผสมสาคัญอย่างที่ทางโปรตุเกสทากัน ขนมที่ท่านท้าวทองกีบม้าทาขึ้นและยังเป็น ที่นิยมจนถึง ปัจจุบันก็ได้แก่ ขนมทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ขนมหม้อแกง และรวมไปถึง ขนมทองโปร่ง ขนมทองพลุ ขนมสาปันนี ขนมไข่เต่า ฯลฯ ล่วงจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ จดหมายเหตุความทรงจาของกรมหลวงนรินทร์เทวี ผู้ทรงเป็น พระเจ้าน้องยาเธอในสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช กล่าวไว้ว่าในงานสมโภช พระแก้วมรกตและ ฉลองวัดพระศรีรัตน์ศาสดาราม ได้มีเครื่องตั้งสารับหวานสาหรับ พระสงฆ์ ๒,๐๐๐ รูป ประกอบด้วย ขนมไส้ไก่ ขนมฝอย ข้าวเหนียวแก้ว ขนมผิง กล้วยฉาบ ล่าเตียง หรุ่ม สังขยา ฝอยทอง และขนมตะไล ในกาพย์ห่อโคลงเห่เรือชมเครื่องคาวหวาน บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย ได้กล่าวชมเครื่องหวานหรือขนมไทยหลายชนิดด้วยกัน อาทิ ข้าวเหนียวสังขยา ขนมลาเจียก ขนม ทองหยิบ ขนมทองหยอด ขนมผิง ขนมรังไร ขนมช่อม่วง ขนมบัวลอย ฯลฯ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการพิมพ์ตาราอาหารออกเผยแพร่ การทาขนมไทยก็เป็นหนึ่งในตาราอาหารไทยนั้น จึงนับได้ว่าการทาขนมไทยและวัฒนธรรมขนมไทย เริ่มมีการ บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างมีระบบระเบียบในสมัยรัชกาลที่ ๕ นี้เองแม่ครัวหัวป่าก็เป็นตาราอาหารไทย เล่มแรก ประพันธ์โดยท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ ในตาราอาหารไทยเล่มนี้ปรากฏรายการสารับของหวาน เลี้ยงพระอันประกอบด้วยขนมทองหยิบ ขนมฝอยทอง ขนมหม้อแกง ขนมหันตรา ขนมถ้วยฟู ข้าวเหนียวแก้ว ขนมลืมกลืน วุ้นผลมะปราง ฯลฯ แสดงให้เห็นว่าคนไทยนิยมทาขนมใช้ในงานบุญ ซึ่งก็เป็นแบบแผน ต่อเนื่องกันมาตั้งแต่สมัยอยุธยา
  • 8. 7 เป็นขนมไทยที่มีมาแต่โบราณ เป็นขนมไทยในกลุ่มที่ได้รับอิทธิพลมาจากโปรตุเกส เดิมทีเป็นการทาสังขยาใช้สาหรับกินกับข้าวเหนียวมูล โดยส่วนผสมใช้ไข่เป็ด ไข่ไก่ หัวกะทิ น้าตาลมะพร้าว เกลือ และใช้ขยาด้วยใบเตย หรือใบตองให้เข้ากันดีแล้วนาไปนึ่งในภาชนะต่างๆ ต่อมาได้มีการเติมส่วนผสมอื่นๆเช่น เผือก ฟักทอง ลงไป ด้วยและบางทีก็ใช้ผลฟักทอง หรือลูกมะพร้าวอ่อน เป็นภาชนะในการใส่สังขยานึ่ง
  • 9. 8 บทที่ 3 วิธีดาเนินโครงงาน ในการทาโครงงานขนมไทย เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย กลุ่มผู้ศึกษามีวิธีการดาเนินโครงงานดังต่อไปนี้ 3.1 วิธีการดาเนินโครงงาน 3.1.1 ประชุมสมาชิกในกลุ่มเพื่อศึกษา และเลือกหัวข้อสนใจในการทาโครงงาน 3.1.2 นาเสนอหัวข้อโครงงานที่ได้จากการเลือกหัวข้อที่สนใจของกลุ่มทางานต่อครูที่ปรึกษา 3.1.3 วางแผนการจัดทาโครงงาน โดยเขียนแบบร่างโครงงาน 3.1.4 นาแบบร่างโครงงานมาจัดทาโครงงานที่สมบูรณ์ 3.1.5 ศึกษาค้นคว้า เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย 3.1.6 นาเสนอผลงาน 3.1.7 ประเมินผลงานการจัดทาโครงงาน 3.2 จัดเตรียมวัสดุ – อุปกรณ์ (สังขยาฟักทอง) 3.2.1 หม้อนึ่ง 3.2.2 อ่างผสม 3.2.3 ไข่ไก่ 3.2.4 ไข่เป็ด 3.2.5 น้าตาลปี๊บ 3.2.6 กะทิ 3.2.7 ฟักทอง 3.2.8 เกลือ 3.2.9 ใบเตย 3.3 ทดลองทาขนมไทย (สังขยาฟักทอง) ในการทาสังขยาฟักทอง กลุ่มผู้ศึกษาได้แบ่งสูตรการทาออกเป็น 3 สูตร คือ 1) ใช้ไข่เป็ดเป็นส่วยผสม ทั้งหมด 2) ใช้ไข่ไก่เป็นส่วนผสมทั้งหมด และ 3) ใช้ใช่เป็ดและไข่ไก่ในปริมาณที่เท่ากัน 3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มผู้ศึกษาเป็นผู้เก็บรวบร่วมข้อมูลจาก นักเรียนชลประทานวิทยา จานวน 20 คน ในรายวิชาขนมไทย
  • 10. 9 บทที่ 4 ผลของการดาเนินโครงงาน ในการทาโครงงานขนมไทย เรื่องความแตกแต่งระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย ได้รับผลของการดาเนินโครงงานดังต่อไปนี้ ตารางที่4.1 สรุปแบบประเมินความพึงพอใจของความแตกต่างระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทา ขนมไทย(สังขยาฟักทอง) ความหมายของค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.49 น้อยที่สุด 1.50 – 2.49 น้อย 2.50 - 3.49 ปานกลาง 3.50 – 4.49 มาก 4.50 – 5. 00 มากที่สุด หัวข้อประเมิน เกณฑ์การประเมิน มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด รวม สังขยาฟักทองที่ใช้ไข่เป็ดทั้งหมด รูปลักษณะ 50.00 15.00 15.00 10.00 10.00 3.75 กลิ่น 25.00 15.00 35.00 10.00 15.00 3.10 สี 75.00 10.00 10.00 5.00 - 4.55 เนื้อสัมผัส 55.00 20.00 10.00 5.00 10.00 3.95 รสชาติ 40.00 45.00 5.00 10.00 - 4.15 สรุปผลการประเมินโดยเฉลี่ย 3.90 สังขยาฟักทองที่ใช้ไข่ไก่ทั้งหมด รูปลักษณะ 35.00 30.00 25.00 10.00 - 3.90 กลิ่น 45.00 25.00 25.00 5.00 - 4.60 สี 25.00 15.00 25.00 25.00 10.00 3.10 เนื้อสัมผัส 25.00 35.00 15.00 25.00 - 3.60 รสชาติ 50.00 30.00 10.00 10.00 - 4.20 สรุปผลการประเมินโดยเฉลี่ย 3.88 สังขยาฟักทองที่ใช้ไข่เป็ดและไข่ไก่เท่าๆกัน รูปลักษณะ 55.00 45.00 - - - 4.55 กลิ่น 55.00 40.00 5.00 - - 4.50 สี 50.00 40.00 10.00 4.40 เนื้อสัมผัส 60.00 25.00 15.00 - - 4.45 รสชาติ 65.00 30.00 5.00 - - 4.60 สรุปผลการประเมินโดยเฉลี่ย 4.50
  • 11. 10 ผลการประเมินความพึงพอใจของความแตกต่างระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย (สังขยาฟักทอง) พบว่า ความพึงพอใจต่อสังขยาฟักทองที่ใช้ไข่เป็ดทั้งหมด อยู่ในระดับ “มาก” ความพึงพอใจ ต่อสังขยาฟักทองที่ใช้ไข่ไก่ทั้งหมด อยู่ในระดับ “มาก” และความพึงพอใจต่อสังขยาฟักทองที่ใช้ไข่เป็ดและไข่ ไก่เท่าๆกัน อยู่ในระดับ “มากที่สุด” รูปที่4.1 เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างไข่เป็ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย(สังขยาฟักทอง) 3.75 3.1 4.55 3.95 4.15 3.9 4.6 3.1 3.6 4.2 4.55 4.5 4.4 4.45 4.6 รู ปลัก ษ ณ ะ ก ลิ่น สี เ นื้อสัมผัส รสช าติ แผนภูมิเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างไข่เป็ ดและไข่ไก่ ต่อการทาขนมไทย ไข่เป็ด ไข่ไก่ ไข่เป็นและไข่ไก่
  • 12. 11 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศึกษา จากการทดลองพบว่าความแตกแต่งของไข่ไก่และไข่เป็ด ต่อขนมไทย นั้น แทบไม่แตกต่าง กันมากมักขึ้นอยู่กับผู้บริโภค ว่ากลุ่มผู้บริโภคชอบรูปลักษณะ รสชาติ เนื้อสัมผัส กลิ่น และสี ใน รูปแบบใด เพราะไข่ไก่ และไข่เป็ดมีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน 5.2 อภิปรายผล จากการทดลองพบว่าการใช้ไข่ไก่ และไข่เป็ดในปริมานที่เท่าๆกัน อยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อ เทียบกับการใช้ไข่ไก่ทั้งหมด และการใช้ไข่เป็นทั้งหมด ซึ่งอยู่ในระดับ มาก จะเห็นได้ว่าไข่ไก่และไข่เป็น มรคุณสมบัติที่แตกต่างกัน แต่เมื่อนามาร่วมกันก็ทาให้ขนมออกมาหน้ารับประทานมากยิ่งขึ้น 5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา เนื่องจากหัวข้อที่ใช้ทาโครงงานนี้เป็นหัวข้อตามที่กลุ่มสนใจ ซึ่งบางครั้งอาจไม่เป็นหัวข้อทาง วิชาการมากนัก ควรนาหัวข้อทางวิชาการมาจัดทาเป็นโครงงานเพื่อประโยชน์ต่อการศึกษา ผลการทาโครงงานครั้งนี้อาจมีความคาดเคลื่อน ขึ้นอยู่กับกลุ่มผู้บริโภค
  • 13. 12 บรรณานุกรม มณี ทองคา. (2555). ตารับขนมไทยชาววัง. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์สื่อสุขภาพ. รัมภา ศิริวงศ์. (2552). ขนมไทย. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ดวงกมลพับลิชชิ่ง. ศรีสมร คงพันธุ์. (2533). ขนมไทย(เล่ม 1). กรุงเทพฯ: ศูนย์การพิมพ์พลชัย. ศรีสมร คงพันธุ์, มณี สุวรรณผ่อง และอัจฉรา ชินาลัย. (2534). ขนมไทย2. กรุงเทพฯ: ศูนย์การ พิมพ์พลชัย. ขนมไทย. (2553). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แสงแดด. เส้นทางขนมไทย กาเนิดและวิวัฒนาการ ขนมไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน. (2553). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แสงแดด. http://iamlookpla56.blogspot.com/p/blog-page_717.html https://sites.google.com/a/g.swu.ac.th/khnm-mngkhl9xyang/xeksar-xangxing http://www.lib.ru.ac.th/journal/kanom.html