SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ฝังความคิด
นําชัย ชีววิวรรธน์ namchai4sci@gmail.com
ยิงนักวิทยาศาสตร์ศึกษาความคิดและความจําของคนเรามากเท่าใด ก็ยิงพบธรรมชาติทีน่า
ประหลาดใจมากยิงขึ5นเท่านั5น
ตัวอย่างหนึงคือ เรืองความจําของเรานั5น ไม่ว่าเราจะมันใจว่าเราจําได้แม่นยําเพียงใด แต่คน
ส่วนใหญ่นั5นหากไม่มีการทบทวนความทรงจํานั5น หรือนําความจํานั5นมาใช้งานใหม่อยู่เรือย ๆ ก็อาจจะ
หลงลืมไปได้มาก แม้กระทังตัวเองก็ยังอาจประหลาดใจ
ในสหรัฐอเมริกาปี 1994 ช่วงทีเกิดคดีนักอเมริกันฟุตบอลชือดัง โอ.เจ. ซิมป์ สัน ตกเป็น
ผู้ต้องหาในคดีฆาตกรรมภรรยาตัวเอง สามวันหลังเกิดเหตุ มีนักวิจัยสอบถามความทรงจําเรืองนี5ของ
ผู้คนกลุ่มหนึงแล้วบันทึกไว้ จากนั5นก็สอบถามอีกเป็นครั5งคราว ทําให้ทราบว่าหลังเหตุการณ์ผ่านไป 15
เดือน (กว่า 1 ปีเล็กน้อย) มีคนทีจําเหตุการณ์ได้ถูกต้องแม่นยําลดลงเหลือแค่ครึงเดียว ขณะเดียวกันก็
มีคนทีจําเนื5อหาผิดเพี5ยนไปจากความเป็นจริงราว 11%
ครั5นถึงเดือนที 32 (2 ปีกว่าไม่ถึง 3 ปี) คนส่วนใหญ่ก็เริมจําอะไรทีเกียวกับเรืองนี5สับสนไป
หมด คนทียังจํารายละเอียดเรืองราวได้ถูกต้องเหลือเพียงแค่ไม่ถึง 1 ใน 3 (29%) เท่านั5น
หลังชมภาพยนตร์เรือง อินเซ็ปชัน จิตพิฆาตโลก (The Inception) ทีตัวเอกและพรรคพวก
เข้าไปแก้ไขความคิดของเป้ าหมาย โดยการ "ปลูก" ความคิดใหม่ลงไปในความทรงจํานั5น หลายคนอาจ
สงสัยว่า เหตุการณ์แบบนี5มีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด
คําตอบคือ การปลูกความคิดไม่ใช่เรืองเพ้อฝันไปเสียทั5งหมด !
ตัวอย่างเช่น มีเทคนิคทีเรียกว่า "แบ็กเวิร์ดเฟรมิง (back framing)" ทีอาศัยการใส่ข้อมูลใหม่ๆ ที
"จงใจ" ให้เข้าไป ซึงอาจจะเป็นข้อมูลจริงหรือข้อมูลเท็จก็ได้ แต่สมองคนเราจะสับสนคิดไปว่า สิงเหล่านั5น
เป็นความจริง และบางครั5งแม้แต่คิดว่าเป็นความคิด "ต้นฉบับ" จากมันสมองของเราเองเสียด้วยซํ5า
มีการทดลองโดยเลือกใช้เรืองภาพพจน์นักการเมืองมาเป็นตัวอย่าง โดยนักวิจัยให้คนมากกว่า
200 คน มาอ่านประวัตินักการเมือง แล้วให้ตัดสินให้คะแนนไว้ก่อนในรอบแรก หลังจากนั5นหนึงสัปดาห์
ก็ให้คนเหล่านี5มาอ่านบทวิจารณ์นักการเมืองพวกนี5ซึงก็รวมทั5งนโยบายการเมืองของพวกเขาด้วย
ผลก็คือเมือถามความเห็นว่า ผู้เข้าทดลองแต่ละคน เห็นว่านักการเมืองเหล่านั5นเป็นคนเช่นใด
ไว้วางใจได้หรือไม่ ผลการทดลองก็ชัดเจนว่า สิงทีแต่ละคนตอบนั5นมักเป็นผลลัพธ์ทีมาจากบทวิจารณ์ที
อ่านกันไป แต่ทุกคนรู้สึกราวกับนันคือความเห็นทีสมองตัวเองกลันออกมาก
ทีน่าทึงก็คือ มีหลายคนทีคําวิจารณ์และคะแนนทีให้ขัดแย้งกันกับทีตัวเองเคยให้คะแนนไว้
ก่อนหน้านี5จากหน้ามือเป็นหลังมือก็มี หากลองมาทดลองแบบเดียวกันกับนักการเมืองไทย คาดว่าก็
น่าจะได้ผลไม่ต่างออกไปมากนัก
อีกการทดลองหนึง นักวิทยาศาสตร์ให้ผู้ทดลองชมภาพยนตร์ตัวอย่าง จากนั5นจึงให้ประเมิน
พร้อมกับให้คะแนน แล้วจึงให้อ่านบทวิจารณ์ภาพยนตร์ ซึงก็มีทั5งทีวิจารณ์ไปในทางบวกและทางลบ
ภายหลังเมือทดสอบความจําว่าแต่ละคนชอบหรือไม่ชอบภาพยนตร์นั5นเพียงใด ปรากฏว่าพวกทีอ่านบท
วิจารณ์ทีบอกว่าดี มักจะจําว่าตัวเองค่อนข้างชอบภาพยนตร์นั5น ตรงกันข้ามพวกทีอ่านบทวิจารณ์ทางลบ
ก็จะจําว่าตัวเองไม่ค่อยชอบภาพยนตร์นั5นเท่าใดนัก
โดยคําตอบทีได้ในคราวหลัง ไม่สัมพันธ์กับทีตัวเองให้คะแนนไว้ครั5งแรกเท่าใดนัก
จะเห็นได้ไม่ยากว่าการโฆษณาแบบกระหนํา การแนะนําแบบปากต่อปาก และความเห็นจาก
บุคคลทีสาม เช่น นักวิจารณ์ ล้วนแล้วเป็นปัจจัยทีส่งผลต่อความทรงจํา และมีโอกาสสร้างความจําใหม่ที
เป็น "ความทรงจําเทียม" ให้กับผู้บริโภคได้
นีก็คือการตลาดยุคใหม่และเป็น "อินเซ็ปชัน" ในโลกความจริง !
อีกเทคนิคหนึงเรียกว่า เมมเมรีมอร์ฟิง (memory morphing) หรือ "การแปลงความทรงจํา"
เทคนิคนี5มีพลังขนาดทําให้กลุ่มเป้ าหมายหลงเชือว่า เคยมีประสบการณ์บางอย่างมาแล้ว ทั5งๆ ทีไม่เคยเกิด
เหตุการณ์นั5นเกิดขึ5นจริงๆ มาก่อนเลย คือไม่ได้แค่งงๆ สับสนแบบเดียวกับเทคนิคแรก คําว่า morphing ใน
วงการภาพยนตร์ หมายถึง เทคนิคพิเศษทีใช้เปลียนภาพสิงหนึง ให้กลายไปเป็นภาพของอีกสิงหนึง เช่น
เปลียนจากภาพใบหน้านักแสดงคนหนึงให้กลายไปเป็นใบหน้าของนักแสดงอีกคนหนึง หรือกลายไปเป็น
ใบหน้าของสัตว์ เป็นต้น
ตัวอย่างการทดลองแบบนี5เช่น มีการทดลองอยู่คราวหนึงทีอาศัยนักจิตวิทยามาพูดคุยและ
ตะล่อมแบบไม่ให้รู้ตัว จนทําให้ผู้เข้าร่วมการทดลองทีเป็นผู้ใหญ่มากถึง 25% สับสนและเชือว่า ตัวเองเคย
หลงในห้างสรรพสินค้าตอนอายุ 5 ขวบ ทั5งทีไม่เคยมีเรืองเช่นนั5นเกิดขึ5นกับกลุ่มคนทีเข้าร่วมการทดลองเลย
อีกการทดลองหนึงยิงสนุก ทีมวิจัยนําเอาป้ ายโฆษณาบั^ก บันนี (Bug Bunny) ไปติดเอาภายใน
ดิสนีย์แลนด์ให้เห็นได้ชัดถนัดตา ผลก็คือนักท่องเทียวผู้ใหญ่ราว 16% เมือตอบแบบสอบถาม ก็แสดง
ความสับสนและเชือว่าตัวเองเคยเจอกับบั^ก บันนีในดิสนีย์แลนด์มาก่อน สมัยมาเทียวตอนยังเป็นเด็ก ซึง
เป็นไปไม่ได้เลย เพราะบั^ก บันนี เป็นแคแร็กเตอร์การ์ตูนในเครือบริษัท วอร์เนอร์ ซึงไม่มาปรากฏตัว
ในดิสนีย์แลนด์แน่
เรืองความทรงจําเทียมแบบนี5เคยเป็นเรืองขึ5นโรงขึ5นศาลมาแล้วจํานวนไม่น้อยในประเทศ
สหรัฐอเมริกา ถึงขนาดมีการตั5งมูลนิธิผู้ป่วยโรคความจําผิดเพี5ยน (False Memory Syndrome
Foundation) ทีมีสมาชิกเป็นผู้ได้รับความเสียหายจากความจําแบบผิดๆ ทีจิตแพทย์เป็นผู้ฝังเอาความทรง
จํานั5นไว้ในสมองผู้ป่วยขณะรักษา โดยมักทําให้ผู้ป่วยทีเป็นหญิงหลงผิดคิดไปว่า เคยโดนพ่อล่วงเกินทาง
เพศขณะตนเองเป็นเด็ก
ไม่น่าเชือว่าเราจะอยู่ในยุคทีเชือถือเชือใจอะไรไม่ได้เต็มทีอีกต่อไปแล้ว เราเชือใจไม่ได้แม้แต่...
ความทรงจําของตัวเอง !!!
ตีพิมพ์ครั5งแรก 19 มี.ค. 2557 ใน หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
เซ็กชันจุดประกาย คอลัมน์โลกในมือคุณ

More Related Content

More from Namchai Chewawiwat

ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ  ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ Namchai Chewawiwat
 
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...Namchai Chewawiwat
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ Namchai Chewawiwat
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9Namchai Chewawiwat
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Namchai Chewawiwat
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยNamchai Chewawiwat
 
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ Namchai Chewawiwat
 
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ Namchai Chewawiwat
 
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) Namchai Chewawiwat
 
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Namchai Chewawiwat
 
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV Namchai Chewawiwat
 
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น Namchai Chewawiwat
 
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้Namchai Chewawiwat
 
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า Namchai Chewawiwat
 
Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416Namchai Chewawiwat
 
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ"
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ" คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ"
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ" Namchai Chewawiwat
 
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโตNamchai Chewawiwat
 
A Fish Caught in Time - Review by Fay
A Fish Caught in Time - Review by Fay  A Fish Caught in Time - Review by Fay
A Fish Caught in Time - Review by Fay Namchai Chewawiwat
 

More from Namchai Chewawiwat (20)

Emerging diseases
Emerging diseasesEmerging diseases
Emerging diseases
 
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ  ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
 
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
 
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
 
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
 
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
 
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
 
Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books
 
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
 
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น
 
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
 
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า
 
Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416
 
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ"
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ" คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ"
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ"
 
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
 
A Fish Caught in Time - Review by Fay
A Fish Caught in Time - Review by Fay  A Fish Caught in Time - Review by Fay
A Fish Caught in Time - Review by Fay
 

ฝังความคิด - Inception

  • 1. ฝังความคิด นําชัย ชีววิวรรธน์ namchai4sci@gmail.com ยิงนักวิทยาศาสตร์ศึกษาความคิดและความจําของคนเรามากเท่าใด ก็ยิงพบธรรมชาติทีน่า ประหลาดใจมากยิงขึ5นเท่านั5น ตัวอย่างหนึงคือ เรืองความจําของเรานั5น ไม่ว่าเราจะมันใจว่าเราจําได้แม่นยําเพียงใด แต่คน ส่วนใหญ่นั5นหากไม่มีการทบทวนความทรงจํานั5น หรือนําความจํานั5นมาใช้งานใหม่อยู่เรือย ๆ ก็อาจจะ หลงลืมไปได้มาก แม้กระทังตัวเองก็ยังอาจประหลาดใจ ในสหรัฐอเมริกาปี 1994 ช่วงทีเกิดคดีนักอเมริกันฟุตบอลชือดัง โอ.เจ. ซิมป์ สัน ตกเป็น ผู้ต้องหาในคดีฆาตกรรมภรรยาตัวเอง สามวันหลังเกิดเหตุ มีนักวิจัยสอบถามความทรงจําเรืองนี5ของ ผู้คนกลุ่มหนึงแล้วบันทึกไว้ จากนั5นก็สอบถามอีกเป็นครั5งคราว ทําให้ทราบว่าหลังเหตุการณ์ผ่านไป 15 เดือน (กว่า 1 ปีเล็กน้อย) มีคนทีจําเหตุการณ์ได้ถูกต้องแม่นยําลดลงเหลือแค่ครึงเดียว ขณะเดียวกันก็ มีคนทีจําเนื5อหาผิดเพี5ยนไปจากความเป็นจริงราว 11% ครั5นถึงเดือนที 32 (2 ปีกว่าไม่ถึง 3 ปี) คนส่วนใหญ่ก็เริมจําอะไรทีเกียวกับเรืองนี5สับสนไป หมด คนทียังจํารายละเอียดเรืองราวได้ถูกต้องเหลือเพียงแค่ไม่ถึง 1 ใน 3 (29%) เท่านั5น หลังชมภาพยนตร์เรือง อินเซ็ปชัน จิตพิฆาตโลก (The Inception) ทีตัวเอกและพรรคพวก เข้าไปแก้ไขความคิดของเป้ าหมาย โดยการ "ปลูก" ความคิดใหม่ลงไปในความทรงจํานั5น หลายคนอาจ สงสัยว่า เหตุการณ์แบบนี5มีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด คําตอบคือ การปลูกความคิดไม่ใช่เรืองเพ้อฝันไปเสียทั5งหมด ! ตัวอย่างเช่น มีเทคนิคทีเรียกว่า "แบ็กเวิร์ดเฟรมิง (back framing)" ทีอาศัยการใส่ข้อมูลใหม่ๆ ที "จงใจ" ให้เข้าไป ซึงอาจจะเป็นข้อมูลจริงหรือข้อมูลเท็จก็ได้ แต่สมองคนเราจะสับสนคิดไปว่า สิงเหล่านั5น เป็นความจริง และบางครั5งแม้แต่คิดว่าเป็นความคิด "ต้นฉบับ" จากมันสมองของเราเองเสียด้วยซํ5า มีการทดลองโดยเลือกใช้เรืองภาพพจน์นักการเมืองมาเป็นตัวอย่าง โดยนักวิจัยให้คนมากกว่า 200 คน มาอ่านประวัตินักการเมือง แล้วให้ตัดสินให้คะแนนไว้ก่อนในรอบแรก หลังจากนั5นหนึงสัปดาห์ ก็ให้คนเหล่านี5มาอ่านบทวิจารณ์นักการเมืองพวกนี5ซึงก็รวมทั5งนโยบายการเมืองของพวกเขาด้วย ผลก็คือเมือถามความเห็นว่า ผู้เข้าทดลองแต่ละคน เห็นว่านักการเมืองเหล่านั5นเป็นคนเช่นใด ไว้วางใจได้หรือไม่ ผลการทดลองก็ชัดเจนว่า สิงทีแต่ละคนตอบนั5นมักเป็นผลลัพธ์ทีมาจากบทวิจารณ์ที อ่านกันไป แต่ทุกคนรู้สึกราวกับนันคือความเห็นทีสมองตัวเองกลันออกมาก ทีน่าทึงก็คือ มีหลายคนทีคําวิจารณ์และคะแนนทีให้ขัดแย้งกันกับทีตัวเองเคยให้คะแนนไว้ ก่อนหน้านี5จากหน้ามือเป็นหลังมือก็มี หากลองมาทดลองแบบเดียวกันกับนักการเมืองไทย คาดว่าก็ น่าจะได้ผลไม่ต่างออกไปมากนัก
  • 2. อีกการทดลองหนึง นักวิทยาศาสตร์ให้ผู้ทดลองชมภาพยนตร์ตัวอย่าง จากนั5นจึงให้ประเมิน พร้อมกับให้คะแนน แล้วจึงให้อ่านบทวิจารณ์ภาพยนตร์ ซึงก็มีทั5งทีวิจารณ์ไปในทางบวกและทางลบ ภายหลังเมือทดสอบความจําว่าแต่ละคนชอบหรือไม่ชอบภาพยนตร์นั5นเพียงใด ปรากฏว่าพวกทีอ่านบท วิจารณ์ทีบอกว่าดี มักจะจําว่าตัวเองค่อนข้างชอบภาพยนตร์นั5น ตรงกันข้ามพวกทีอ่านบทวิจารณ์ทางลบ ก็จะจําว่าตัวเองไม่ค่อยชอบภาพยนตร์นั5นเท่าใดนัก โดยคําตอบทีได้ในคราวหลัง ไม่สัมพันธ์กับทีตัวเองให้คะแนนไว้ครั5งแรกเท่าใดนัก จะเห็นได้ไม่ยากว่าการโฆษณาแบบกระหนํา การแนะนําแบบปากต่อปาก และความเห็นจาก บุคคลทีสาม เช่น นักวิจารณ์ ล้วนแล้วเป็นปัจจัยทีส่งผลต่อความทรงจํา และมีโอกาสสร้างความจําใหม่ที เป็น "ความทรงจําเทียม" ให้กับผู้บริโภคได้ นีก็คือการตลาดยุคใหม่และเป็น "อินเซ็ปชัน" ในโลกความจริง ! อีกเทคนิคหนึงเรียกว่า เมมเมรีมอร์ฟิง (memory morphing) หรือ "การแปลงความทรงจํา" เทคนิคนี5มีพลังขนาดทําให้กลุ่มเป้ าหมายหลงเชือว่า เคยมีประสบการณ์บางอย่างมาแล้ว ทั5งๆ ทีไม่เคยเกิด เหตุการณ์นั5นเกิดขึ5นจริงๆ มาก่อนเลย คือไม่ได้แค่งงๆ สับสนแบบเดียวกับเทคนิคแรก คําว่า morphing ใน วงการภาพยนตร์ หมายถึง เทคนิคพิเศษทีใช้เปลียนภาพสิงหนึง ให้กลายไปเป็นภาพของอีกสิงหนึง เช่น เปลียนจากภาพใบหน้านักแสดงคนหนึงให้กลายไปเป็นใบหน้าของนักแสดงอีกคนหนึง หรือกลายไปเป็น ใบหน้าของสัตว์ เป็นต้น ตัวอย่างการทดลองแบบนี5เช่น มีการทดลองอยู่คราวหนึงทีอาศัยนักจิตวิทยามาพูดคุยและ ตะล่อมแบบไม่ให้รู้ตัว จนทําให้ผู้เข้าร่วมการทดลองทีเป็นผู้ใหญ่มากถึง 25% สับสนและเชือว่า ตัวเองเคย หลงในห้างสรรพสินค้าตอนอายุ 5 ขวบ ทั5งทีไม่เคยมีเรืองเช่นนั5นเกิดขึ5นกับกลุ่มคนทีเข้าร่วมการทดลองเลย อีกการทดลองหนึงยิงสนุก ทีมวิจัยนําเอาป้ ายโฆษณาบั^ก บันนี (Bug Bunny) ไปติดเอาภายใน ดิสนีย์แลนด์ให้เห็นได้ชัดถนัดตา ผลก็คือนักท่องเทียวผู้ใหญ่ราว 16% เมือตอบแบบสอบถาม ก็แสดง ความสับสนและเชือว่าตัวเองเคยเจอกับบั^ก บันนีในดิสนีย์แลนด์มาก่อน สมัยมาเทียวตอนยังเป็นเด็ก ซึง เป็นไปไม่ได้เลย เพราะบั^ก บันนี เป็นแคแร็กเตอร์การ์ตูนในเครือบริษัท วอร์เนอร์ ซึงไม่มาปรากฏตัว ในดิสนีย์แลนด์แน่ เรืองความทรงจําเทียมแบบนี5เคยเป็นเรืองขึ5นโรงขึ5นศาลมาแล้วจํานวนไม่น้อยในประเทศ สหรัฐอเมริกา ถึงขนาดมีการตั5งมูลนิธิผู้ป่วยโรคความจําผิดเพี5ยน (False Memory Syndrome Foundation) ทีมีสมาชิกเป็นผู้ได้รับความเสียหายจากความจําแบบผิดๆ ทีจิตแพทย์เป็นผู้ฝังเอาความทรง จํานั5นไว้ในสมองผู้ป่วยขณะรักษา โดยมักทําให้ผู้ป่วยทีเป็นหญิงหลงผิดคิดไปว่า เคยโดนพ่อล่วงเกินทาง เพศขณะตนเองเป็นเด็ก ไม่น่าเชือว่าเราจะอยู่ในยุคทีเชือถือเชือใจอะไรไม่ได้เต็มทีอีกต่อไปแล้ว เราเชือใจไม่ได้แม้แต่... ความทรงจําของตัวเอง !!!
  • 3. ตีพิมพ์ครั5งแรก 19 มี.ค. 2557 ใน หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ เซ็กชันจุดประกาย คอลัมน์โลกในมือคุณ