SlideShare a Scribd company logo
ผลกระทบทางจรยธรรม และประเดนทางสงคม
ผลกร ทบทางจริยธรรม แล ปร เด็นทางสังคม
  ทเกยวของกบการใชเทคโนโลยสารสนเทศ
  ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
                  นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
    ฝายเวชสารสนเทศ คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธบด มหาวทยาลยมหดล
    ฝ่ายเวชสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
http://www.SlideShare.net/Nawanan ranta@mahidol.ac.th
เมอพูดถงคาวา จรยธรรม
เมื่อพดถึงคําว่า “จริยธรรม”
       เรามกคดถง...?
       เรามักคิดถึง ?
เมื่อพูดถึงคําว่า “จริยธรรม” เรามักคิดถึง...?
•   ความถูกต้อง
•   คุณธรรม
•   ศลธรรม
    ศีลธรรม
•   จรรยาบรรณ
•   ความประพฤติที่ดีงาม เหมาะสม
•   การกระทําที่ถูกกฎหมาย
กรอบมาตรฐานของสังคม
                         กรอบมาตรฐานของสังคม

             ?        ทางเลือกที่ 1


                      ทางเลือกที่ 2
กฎหมาย ในฐานะกรอบมาตรฐานของสังคม

                   กฎหมาย (Law)
             ?       ทางเลือกที่ 1


                     ทางเลือกที่ 2
จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ

          จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ (Professional Code of Ethics)

                ?              ทางเลือกที่ 1


                               ทางเลือกที่ 2
จริยธรรม: ความประพฤติที่สังคมเห็นว่าดีงาม

                      จริยธรรม (Ethics)
                ?         ทางเลือกที่ 1


                          ทางเลือกที่ 2
ความเป็นจริง
                     กฎหมาย
                   จรรยาบรรณ

               ?   ทางเลือกที่ 1   จริยธรรม


                   ทางเลือกที่ 2
หลักจริยธรรม (Ethical Principles) สําคัญด้านสุขภาพ
• Autonomy (หลักเอกสิทธิ์/ความเป็็นอิสระของผู้ป่วย)
• B fi
  Beneficence ((หลกการรกษาประโยชนสูงสุดของผูป่วย))
                  ั     ั ป โ ์                  ้
• Non-maleficence (หลักการไม่ทําอันตรายต่อผ้ป่วย)
                    (หลกการไมทาอนตรายตอผู วย)
   • “First, Do No Harm.”
• Justice (หลักความยุติธรรม)
   • หมายถึงการกระจายทรัพยากรที่มีอยู่จํากัดอย่างเหมาะสม เป็นธรรม
     และเทาเทยมกน
     และเท่าเทียมกัน
ประเด็นทางจริยธรรม กฎหมาย และสังคม
• Ethical, Legal, and Social Issues (ELSI)
   • Ethi l - ในเชิงจริยธรรม
     Ethical ในเชงจรยธรรม
   • Legal - ในทางกฎหมาย
       g               ฎ
   • Social - ที่เกี่ยวกับสังคม
ประเด็นเกี่ยวกับ ELSI ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (1)
• กรณีท่ี 1: บุคคลทัวไปใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งผลกระทบต่อผูอืน
                    ่                                      ้่
  แล ส ม
  และสังคม
ประเด็นเกี่ยวกับ ELSI ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (2)
• กรณีท่ี 2: ผู้ให้บริการทางสุขภาพใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งผลกระทบ
  ต่อผ้ปวยและสังคม
      ู วยแล ส ม
        ่
กรณีที่ 1: บุคคลทั่วไปใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                                         กฎหมาย
กรณีที่ 1: บุคคลทั่วไปใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
   • พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็็กทรอนิกส์์ พ.ศ. 2544 และ
     พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551
       • รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ การรับส่งข้อมูล
         อเลกทรอนกส การใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
         อิเล็กทรอนิกส์ การใชลายมอชออเลกทรอนกส (electronic signature) และกําหนด
                                                                            แล กาหนด
         หลักเกณฑ์ต่างๆ ทีเกี่ยวข้องกับการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (electronic
                           ่
         transaction))
   • พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
       • กําหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามการกระทําความผิดทีเกียวข้องกับ
                                                                ่ ่
         คอมพิวเตอร์ ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหาย กระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจ สังคม และ
         ความมั่นคงของประเทศ รวมทังความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน
                                       ้
พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
การกระทําความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร์์ (Computer-Related Crimes)
                   ่
ตัวอย่าง?
   • อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crimes)
       • เช่่น Hacking, การเปิดเผยข้อมูลทีเป็นความลับ, การดัักฟังข้อมูล
                            ปิ      ้     ี่        ั              ้

   • การกระทําความผิดที่มีคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ (Crimes Using Computers as Tools)
       • เช่น การเผยแพร่ภาพลามก
       • การโพสต์ข้อความทีเป็นภัยต่อความมั่นคง
                           ่
       • การตัดต่อภาพเพื่อให้ผอนเสยหาย
         การตดตอภาพเพอใหผู้ ื่นเสียหาย
พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
มาตรา 3 (บทนิยาม)
• “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อปกรณ์หรือชดอปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่
                                       ุ          ุ ุ
  เชื่อมการทํางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกําหนดคําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และ
  แนวทางปฏบตงานใหอุปกรณ์หรือชดอปกรณ์ทําหน้าที่ประมวลผลข้อมลโดย
  แนวทางปฏิบัติงานให้อปกรณหรอชุดอุปกรณทาหนาทประมวลผลขอมูลโดย
  อัตโนมัติ
• “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใด
  บรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้
              ู
  และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทาง
  อเลกทรอนกสดวย
  อิเล็กทรอนิกส์ด้วย
คําถาม
         สิ่งต่อไ ้ ถือเป็็น “ระบบคอมพิวเตอร์์” ตาม พรบ.นี้หรือไ ?
                ไปนี                                           ไม่
พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
มาตรา 3 (บทนิยาม)
• “ข้อมลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร
         ู                                      ู
  ของระบบคอมพิวเตอร์ ซึงแสดงถึงแหล่งกําเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา
                        ่
  วนท ปริมาณ
  วันที่ ปรมาณ ระยะเวลา ชนดของบรการ หรออน ๆ ทเกยวของกบการ
                          ชนิดของบริการ หรืออืน ที่เกี่ยวข้องกับการ
                                              ่
  ติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์น้นั
• “ผู้ให้บริการ” หมายความว่า
   (1) ผ้ใหบรการแกบุคคลอื่นในการเข้าส่อนเทอร์เน็ต หรอใหสามารถตดตอถงกนโดยปร การ
       ผู ห้บริการแก่บคคลอนในการเขาสู นเทอรเนต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการ
                                          ิ
      อื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่วาจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือ
                                                   ่
      ในนามหรอเพอปร โยชนของบุคคลอน
      ในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบคคลอื่น
   (2) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
ผู้ให้บริการ หมายรวมถึง
  1. ผู้ประกอบกิจการโทรคมนาคมและกิจการกระจายภาพและเสียง
  (Telecommunication and Broadcast Carriers)
  2. ผู้ให้บริการการเข้าถึงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Access Service Provider)
  3. ผู้ให้บริการเช่าระบบคอมพิวเตอร์เพื่อใ บริการโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ
           ้ ิ      ่            ิ   ์ ื ให้้ ิ โป       ป       ์
  (Hosting Service Provider
  4. ผู้ให้บริการร้านอินเทอร์เน็ต
  5. ผู หบรการขอมูลคอมพวเตอรผาน Application ตางๆ เช่น ผู หบรการ
  5 ผ้ให้บริการข้อมลคอมพิวเตอร์ผ่าน A li ti ต่างๆ เชน ผ้ให้บริการ
  เว็บบอร์ด, Blog, e-Commerce ฯลฯ
พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
หมวด 1 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์์
• มาตรา 5 การเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง
  โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มไว้สําหรับตน (Unauthorized access)
                                ี
   • เชน การเจาะระบบ (h ki ) การ h k รหสผานคนอน
       ่              (hacking), hack ั ่      ื่
   • การเข้าถึงทางกายภาพ หรือทางเครือข่ายก็ได้
• มาตรา 6 การเปิดเผยโดยมิชอบซึ่งมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่
  ผู นจัดทําขึ้นเป็นการเฉพาะที่ได้ล่วงร้ ในประการทนาจะเกดความเสยหายแก
  ผ้อื่นจดทาขนเปนการเฉพาะทไดลวงรูมา ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่
  ผู้อื่น
   • เช่่น เปิดเผยรหัสผ่านของผู้อ่ืนโ ไ ่ได้้รับอนุญาต
            ปิ       ั ่            โดยไม่
พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
• มาตรา 7 การเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์์ทีมีมาตรการป้องกันการเข้าถึง
                                                    ่
  โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มไว้สําหรับตน (Unauthorized access)
                                ี
    • เช่น การนําข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไปพยายามถอดรหัสเพืออ่านเนือความ
                                                              ่       ้
• มาตรา 8 การกระทําโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซง
            การกระทาโดยมชอบดวยวธการทางอเลกทรอนกสเพอดกรบไวซง                  ึ่
  ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และ
  ข้้อมูลคอมพิวเตอร์น้ันมิได้้มีไว้้เพือประโยชน์์สาธารณะหรืือเพือใ บุคคลทั่วไ ใ ้
                    ์                  ื่ โ                     ื่ ให้้     ไปใช้
  ประโยชน์ได้
    • เช่น การดักฟังข้อมูลผ่านเครือข่าย
• มาตรา 9 การทําให้เสียหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่วาทั้งหมด
           การทาใหเสยหาย ทําลาย แกไข เปลยนแปลง หรอเพมเตมไมวาทงหมด   ่
  หรือบางส่วน ซึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
                ่
    • เช่น การลบหรือแก้ไขข้อมูลของผู้อื่น โดยมีเจตนาร้าย
พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
• มาตรา 10 การกระทําโดยมิชอบ เพื่อใ การทํางานของระบบคอมพิวเตอร์์ของ
                                      ให้
  ผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปกติได้
    • เช่น Denial of Service (DoS) Attack = การโจมตีให้เว็บล่ม
• มาตรา 11 การส่งข้อมลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บคคลอนโดย
            การสงขอมูลคอมพวเตอรหรอจดหมายอเลกทรอนกสแกบุคคลอื่นโดย
  ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการ
  ใช้้
  ใ ระบบคอมพิวเตอร์์ของบุคคลอืื่นโ
                                 โดยปกติสุข
    • เช่น ส่ง spam e-mail
• มาตรา 13 การจําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําสั่งเพื่อนําไปใช้เป็นเครื่องมือในการ
  กระทาความผดตาม พรบ. น
  กระทําความผิดตาม พรบ นี้
    • เช่น การเผยแพร่ซอฟต์แวร์เจาะระบบ
พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
• มาตรา 14
   (1) นําเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอม หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็น
                    ู่                      ู                         ู
         เท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผอื่นหรือประชาชน
                                                      ู้
   (2) นําเข้าส่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิด
         นาเขาสู ะบบคอมพวเตอรซงขอมูลคอมพวเตอรอนเปนเทจ โดยประการทนาจะเกด
         ความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
   (3) นําเข้าส่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมลคอมพิวเตอร์ใดๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความ
         นาเขาสู ะบบคอมพวเตอรซงขอมูลคอมพวเตอรใดๆ อนเปนความผดเกยวกบความ
         มั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกียวกับการก่อการร้าย
                                                ่
   ((4)) นํําเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่มีลกษณะอันลามกและ
                ้ ่         ิ      ์              ิ      ์     ี ั      ั
         ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้
    (5) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (1)-(4)
พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
• มาตรา 15 ความรับผิดกรณีผให้บริการจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทํา
                                    ู้               ใ                            ใ
  ความผิดตามมาตรา 14 ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน
• มาตรา 16 ผู้ใดนําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซง                    ึ่
  ขอมูลคอมพวเตอรทปรากฏเปนภาพของผู และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการ
  ข้อมลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผ้อื่น และภาพนนเปนภาพทเกดจากการ
  สร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด
  ทัั้งนีี้ โ
            โดยประการทีี่น่าจะทํําให้ผ้อ่ืนนัั้นเสีียชืื่อเสีียง ถูกดูหมิิ่น ถูกเกลีียดชััง หรือ
                                  ใ ู้                                                         ื
  ได้รับความอับอาย
พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
หมวด 2 พนักงานเจ้้าหน้าที่ ้
• มาตรา 18 อํานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่
  (1) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลมาให้ถ้อยคํา ส่งคําชี้แจง หรือส่งหลักฐาน
  (2) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากผู้ให้บริการ
  (3) สั่งให้ผ้ให้บริการส่งมอบข้อมลเกี่ยวกับผ้ใช้บริการที่ต้องเก็บ
      สงใหผู หบรการสงมอบขอมูลเกยวกบผู ชบรการทตองเกบ
  (4) ทําสําเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
  (5) สั่งให้บุคคลซึ่งครอบครองหรือควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ ส่งมอบข้อมูล
  (6) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ขอมูล หรืออปกรณ์ที่เป็นหลักฐาน
      ตรวจสอบหรอเขาถงระบบคอมพวเตอร ข้อมล หรออุปกรณทเปนหลกฐาน
  (7) ถอดรหัสลับของข้อมูล หรือสั่งให้บุคคลทําการถอดรหัสลับ
  (8) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์เท่าที่จําเป็น
พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
• มาตรา 19-21 การยืนคําร้องต่อศาลของพนักงานเจ้าหน้าที่ เกียวกับการปฏิบัติ
                         ่                                        ่
  หน้าที่ตาม พรบ. นี้
• มาตรา 26 ผู้ให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยกว่า
  90 วัน นบแตวนทขอมูลนนเขาสูระบบคอมพวเตอร...
       วน นับแต่วันที่ข้อมลนั้นเข้าส่ ะบบคอมพิวเตอร์
• ผู้ให้บริการจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บริการเท่าที่จําเป็นเพื่อให้สามารถระบุ
  ตัวผู้ใช้บริการนับตั้งแต่เริ่มใช้บริการและต้องเก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 90
  วัน นับตั้งแต่การใช้บริการสิ้นสุุดลง
กรณีที่ 1 (พิเศษ): บุคคลทั่วไปใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
• บุคคลทัวไปใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ แล้วเกิดปัญหาทางสุขภาพ
         ่




         พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
                     คอมพิวเตอร์
ประเด็นปัญหาทางสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
• การยศาสตร์ (Ergonomics)
• ปัญหาทางสายตา
  ปญหาทางสายตา
• ปัญหาทางจิตเวช
   • การติดเกม ติดอินเทอร์เน็ต ติด Social Media
• อันตรายจากพฤติกรรมเสีี่ยงทีี่ไม่ปลอดภัย
• ฯลฯ
บทบาทของพยาบาลต่อปัญหาทางสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับ IT
• ใ ความรู้ + คําแนะนําเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพ
  ให้
    • ให้กับบุคคลทั่วไป
              ุ
    • ในกลุ่มเสี่ยง
•   คดกรอง ประเมนปญหา ในผู วยที่มารับบริการ
    คัดกรอง ปร เมินปัญหา ในผ้ป่วยทมารบบรการ
•   ให้คําแนะนําเพื่อแก้ไขปัญหา
•   เป็นส่วนหนึ่งของทีมในการให้การรักษา
•   ให้้
    ใ ความรู้ + สร้้างความตระหนัก ให้กับสัังคม
                                ั ใ ้
กรณีที่ 2: ผู้ให้บริการทางสุขภาพใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                                   กรอบทางสังคม (กฎหมาย, จริยธรรม)
พยาบาลใช้ระบบสารสนเทศ เกิดผลกระทบอะไรต่อผูปวยได้บ้าง?
                                          ้ ่
•   เสียเวลากับคอมพิวเตอร์์มากเกินไป ไม่ได้ดูแลผู้ป่วยเท่าที่ควร
                                     ไ ไ
•   ไม่ระมัดระวัง ข้อมลส่วนบคคลของผู้ป่วยรั่วไหล
                        ู      ุ
•   ระบบล่ม ไม่ทราบประวัติ ให้การดูแลผู้ป่วยไม่ได้
•   บันทึกข้อมูลผิดพลาด เช่น ผิดคน ผิดตัวยา ผิดด้าน ฯลฯ เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย
•   โปรแกรมคอมพวเตอรมปญหาโดยพยาบาลไมทราบ เชน คานวณ
    โปรแกรมคอมพิวเตอร์มีปัญหาโดยพยาบาลไม่ทราบ เช่น คํานวณ dose ยาผิด          ยาผด
•   มีระบบให้ใช้ แต่ผู้ใช้งาน (user) ไม่ยอมใช้ ใช้ผิดวัตถุประสงค์ หรือใช้วิธีลัด
•   ระบบมีคําแนะนําสําหรับแนวทางการรักษาที่ได้มาตรฐาน ให้กบแพทย์/พยาบาล
                                                                  ั
     • แพทย์/พยาบาล ให้การรักษาตามคําแนะนําของระบบ แต่เกิดปัญหากับผูู้ป่วย
     • แพทย์/พยาบาล ปฏิเสธคําแนะนําของระบบ แล้วเกิดปัญหากับผู้ป่วย
            ์
     • แพทย/พยาบาล ไ ่ใ ้ ส ใ ั ํ ื
           /        ไมใหความสนใจกบคาเตอนของระบบ
พยาบาลใช้ระบบสารสนเทศ เกิดผลกระทบอะไรต่อผูปวยได้บ้าง?
                                          ้ ่
• เสียเวลากับคอมพิวเตอร์์มากเกินไป ไม่ได้ดูแลผู้ป่วยเท่าที่ควร
                                ไ ไ
• สาเหตุ
    •   ระบบออกแบบมาไม่ดี
    •   ระบบทํางานช้าเกิินไป
               ํ       ้
    •   ข้อมูลทีต้องบันทึก เยอะเกินไป
                 ่
    •   ให้ความสําคัญกับการบันทึกมากกว่าการดูแลผูป่วย
                                                 ้
    •   ตดคอมพ? เลนเนต?
        ติดคอมพ์? เล่นเน็ต?
• วิธีป้องกัน
    • มีส่วนร่วมในการออกแบบระบบแต่แรก สื่อสารปัญหาให้ฝ่าย IT ทราบ
    • ให้ความสําคัญกับการดูแลผู้ป่วย มากกว่าการบันทึกข้อมูลผู้ป่วย
พยาบาลใช้ระบบสารสนเทศ เกิดผลกระทบอะไรต่อผูปวยได้บ้าง?
                                          ้ ่
• ไ ระมัดระวัง ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยรั่วไ
  ไม่                                       ไหล
• สาเหตุ
    • ผู้ใช้งานไม่ให้ความสําคัญกับความเป็นส่วนตัวของข้อมูลผู้ป่วย
    • ขาดความรู้เกีี่ยวกัับวิิธีการใช้้งานระบบอย่่างปลอดภััย
                                   ใ                ป
    • จุดอ่อนของระบบสารสนเทศเอง
• วิธีป้องกัน
    • ฝ่าย IT พัฒนาระบบให้ปลอดภัย มีกระบวนการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย
      ฝาย พฒนาระบบใหปลอดภย, มกระบวนการบรหารจดการดานความปลอดภย
      สารสนเทศทั้งระบบ
    • มการใหความรูเกยวกบการรกษาความปลอดภยสารสนเทศ และการคุ้มครอง
        ี ใ ้      ้ ี่ ั      ั      ป     ั
      ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลผู้ป่วย
Privacy & Security ของข้อมูลผู้ปวย
                                ่
• ความเป็็นส่วนตัว (Privacy) คือ ความสามารถของบุคคลในการคุ้มครองและ
                                                        ใ
  ปกปิดตนเองและข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง และเลือกที่จะเปิดเผยเท่าที่ตนประสงค์จะ
  เปิดเผย
• ความปลอดภัยสารสนเทศ (Information Security) คือ การค้มครองขอมูล
  ความปลอดภยสารสนเทศ                               คอ การคุ ครองข้อมล
  สารสนเทศ (information) และระบบสารสนเทศ (information systems) ด้วย
  มาตรการต่่างๆ เพื่อป้องกัันการรัั่วไ การสูญหาย เปลีี่ยนแปลง หรืือความ
                    ื                ไหล          ป       ป
  เสียหายอื่นๆ
ความปลอดภัยสารสนเทศ (Information Security)




  • Confidentiality   ความลับของข้อมูล
  • Integrity         ความถูกตองของขอมูล ไม่ถกแกไข หรอสูญหายโดยมชอบ
                      ความถกต้องของข้อมล ไมถูกแก้ไข ลบ หรือสญหายโดยมิชอบ
  • Availability      ความสามารถใช้งานได้ (เช่น ระบบไม่ล่ม)
มาตรการเพื่อความปลอดภัยของข้อมูลผู้ปวย
                                    ่
• Physical Security           ความปลอดภัยทางกายภาพ
     • ล็อคห้องที่มีระบบสารสนเทศ ให้เข้าถึงยาก
• System Security             ความปลอดภัยของ Server
     • อุดช่องโหว่ -> Update patches ของ Windows หรือโปรแกรมต่างๆ บ่อยๆ
         ุ             p       p                                   ๆ ๆ
     • Antivirus, Firewall, Intrusion Detection/Prevention System, Log files
•   Software Security         ความปลอดภยของตวซอฟตแวรเอง
                              ความปลอดภัยของตัวซอฟต์แวร์เอง
•   Network Security          ความปลอดภัยของระบบเครือข่าย
•   Database Security         ความปลอดภัยใ  ในการเข้้าถึึงระบบฐานข้้อมูล
•   User Security             รหัสผ่าน, การกําหนดสิทธิในระบบ, การตรวจสอบตัวตน,
                              ระวัง Phishing/Social Engineering “หลอกเอาข้อมูล”
• Encryption
      yp                      การเข้ารหัสข้อมูลทีสําคัญ
                                              ู ่
แนวทางการคุ้มครอง Privacy ของข้อมูลผู้ปวย
                                       ่
• นอกเหนือจากมาตรการด้าน Security
   • Informed Consent เกียวกับแนวทางการเก็บบันทึกและเปิดเผยข้อมูลผูู้ป่วย
                              ่                                      ู
   • สร้างวัฒนธรรมที่ให้ความสําคัญกับความเป็นส่วนตัวของข้อมูลผู้ป่วย
   • มกระบวนการสรางความตระหนก สอนผู ช้งาน
     มีกระบวนการสร้างความตระหนัก + สอนผ้ใชงาน
   • มีการกําหนดกฎระเบียบและนโยบายด้านความปลอดภัยสารสนเทศขององค์กร
     และบัังคัับใช้้ (enforce) นโยบายดังกล่าว
                ใ               โ      ั ่
   • มีกระบวนการบริหารจัดการด้าน Privacy และ Security ที่ต่อเนื่อง สม่ําเสมอ




                                               Image: http://www.nurseweek.com/news/images/privacy.jpg
Social Media กับความเสี่ยงใหม่ๆ

   ข้อความจริง บน

• "อาจารย์ครับ เมื่อวาน ผมออก OPD เจอ คุณ... คนไข้... ที่อาจารย์ผ่าไปแล้ว มา
  ฉายรังสีต่อที่... ตอนนี้ Happy ดี ไม่ค่อยปวด เดินได้สบาย คนไข้ฝากขอบคุุณ
  อาจารย์อีกครั้ง -- อีกอย่างคนไข้ช่วงนี้ไม่ค่อยสะดวกเลยไม่ได้ไป กทม. บอกว่าถ้า
  พรอมจะไป Follow up กบอาจารยครบ
  พร้อมจะไป Follow-up กับอาจารย์ครับ"
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสุขภาพ
• พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
• มาตรา 7 ข้อมลด้านสขภาพของบคคล เปนความลบสวนบุคคล ผูใด
             ขอมูลดานสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบคคล ผ้
  จะนําไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทําให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่
  การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมี
  กฎหมายเฉพาะบญญตใหตองเปดเผย แตไมวาในกรณใด ผ้
  กฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย แต่ไม่วาในกรณีใด ๆ ผูใดจะ
                                                 ่
  อาศัยอํานาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือ
  กฎหมายอืื่นเพืื่อขอเอกสารเกีี่ยวกัับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่่ใช่่
                                        ้     ้                  ี
  ของตนไม่ได้
• อนาคตอาจมี พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
  (ปัจจุบันยังไม่ผ่านสภาฯ)
คําประกาศสิทธิผปวย
               ู้ ่
•   เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผูู้ประกอบวิชาชีพด้านสุุขภาพกับผูู้ป่วย ตังอยูู่บนพืนฐ
                                                                            ้        ้ ฐานของความเข้าใจอันดีและเป็นที่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทย
    สภา สภาการพยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้รวมกันออกประกาศรับรองสิทธิของ
                                                                                                               ่
    ผู้ป่วยไว ้ดังต่อไปนี้
    1. ผู้ป่วยทุุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รบบริการด้านสุุขภาพ ตามที่บัญญติไว้ในรัฐธรรมนููญ
          ู                      ฐ         ั                             ญญั
    2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มการเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชือชาติ สัญชาติ
                                                                                  ี                                                ้
    ศาสนา สังคม ลัทธิการเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บป่วย
    3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รบทราบข้อมููลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจน จากผูู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วย
            ู                                           ั
    สามารถเลือกตัดสินใจในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือ จําเป็น
    4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจําเป็นแก่
    กรณี โดยไม่คํานึงว่าผู้ป่วยจะร้อง ขอความช่วยเหลือหรือไม่
    5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็น ผู้ให้บริการแก่ตน
    6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มได้เป็นผู้ให้บริ การแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการ และ
                                                                                ิ
    สถานบริการได้
    7. ผู้ป่วยมีสิทธิทีจะได้รับการปกปิดข้อมูลเกียวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย
                        ่ ไ                       ่                                                                 ไ
    หรือการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย
    8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รบทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทําวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพ
                               ั
    ด้้านสุขภาพ
    9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏใน เวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็น
    การละเมิดสิทธิส่วนตัวของบุคคลอื่น
    10.บดา
    10 บิดา มารดา หรอผูแทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผ้ป่วยที่เป็นเด็กอายยังไมเกน สบแปดปบรบูรณ ผ้บกพรองทางกายหรอจต ซึงไม่สามารถ
                       หรือผ้                   อาจใชสทธแทนผู วยทเปนเดกอายุยงไม่เกิน สิบแปดปีบริบรณ์ ผู กพร่องทางกายหรือจิต ซงไมสามารถ   ่
    ใช้สิทธิด้วยตนเองได้
คําประกาศสิทธิผปวย
               ู้ ่
•   เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผูู้ประกอบวิชาชีพด้านสุุขภาพกับผูู้ป่วย ตังอยูู่บนพืนฐ
                                                                            ้        ้ ฐานของความเข้าใจอันดีและเป็นที่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทย
    สภา สภาการพยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้รวมกันออกประกาศรับรองสิทธิของ
                                                                                                               ่
    ผู้ป่วยไว ้ดังต่อไปนี้
    1. ผู้ป่วยทุุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รบบริการด้านสุุขภาพ ตามที่บัญญติไว้ในรัฐธรรมนููญ
          ู                      ฐ         ั                             ญญั
    2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มการเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชือชาติ สัญชาติ
                                                                                  ี                                                ้
    7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
    ศาสนา สังคม ลัทธิการเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บป่วย
    3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รบทราบข้อมููลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจน จากผูู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วย
            ู                                           ั

    จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่
    สามารถเลือกตัดสินใจในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือ จําเป็น
    4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจําเป็นแก่
    กรณี โดยไม่คํานึงว่าผู้ป่วยจะร้อง ขอความช่วยเหลือหรือไม่
    จะไดรบความยนยอมจากผู วยหรอการปฏบตหนาท
    จะได้รับความยินยอมจากผ้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่
    5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็น ผู้ให้บริการแก่ตน
    6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มได้เป็นผู้ให้บริ การแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการ และ
                                                                                ิ

    ตามกฎหมาย
    สถานบริการได้
    7. ผู้ป่วยมีสิทธิทีจะได้รับการปกปิดข้อมูลเกียวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย
                        ่ ไ                       ่                                                                 ไ
    หรือการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย
    8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รบทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทําวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพ
                               ั
    ด้้านสุขภาพ
    9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏใน เวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็น
    การละเมิดสิทธิส่วนตัวของบุคคลอื่น
    10.บดา
    10 บิดา มารดา หรอผูแทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผ้ป่วยที่เป็นเด็กอายยังไมเกน สบแปดปบรบูรณ ผ้บกพรองทางกายหรอจต ซึงไม่สามารถ
                       หรือผ้                   อาจใชสทธแทนผู วยทเปนเดกอายุยงไม่เกิน สิบแปดปีบริบรณ์ ผู กพร่องทางกายหรือจิต ซงไมสามารถ   ่
    ใช้สิทธิด้วยตนเองได้
คําถาม
• การคุมครองความเป็็นส่วนตัว (Privacy) และความปลอดภัย (Security)
       ้
  ขอ ขอมูล ู วย เข ไ ั ล จรยธรรมใ
  ของข้อมลผ้ปวย เข้าได้กบหลักจริยธรรมใด
             ่
   •   Autonomy?
   •   Beneficence?
   •   Non-Maleficence?
   •   Justice?
พยาบาลใช้ระบบสารสนเทศ เกิดผลกระทบอะไรต่อผูปวยได้บ้าง?
                                          ้ ่
•   เสียเวลากับคอมพิวเตอร์์มากเกินไป ไม่ได้ดูแลผู้ป่วยเท่าที่ควร
                                     ไ ไ
•   ไม่ระมัดระวัง ข้อมลส่วนบคคลของผู้ป่วยรั่วไหล
                        ู      ุ
•   ระบบล่ม ไม่ทราบประวัติ ให้การดูแลผู้ป่วยไม่ได้
•   บันทึกข้อมูลผิดพลาด เช่น ผิดคน ผิดตัวยา ผิดด้าน ฯลฯ เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย
•   โปรแกรมคอมพวเตอรมปญหาโดยพยาบาลไมทราบ เชน คานวณ
    โปรแกรมคอมพิวเตอร์มีปัญหาโดยพยาบาลไม่ทราบ เช่น คํานวณ dose ยาผิด          ยาผด
•   มีระบบให้ใช้ แต่ผู้ใช้งาน (user) ไม่ยอมใช้ ใช้ผิดวัตถุประสงค์ หรือใช้วิธีลัด
•   ระบบมีคําแนะนําสําหรับแนวทางการรักษาที่ได้มาตรฐาน ให้กบแพทย์/พยาบาล
                                                                  ั
     • แพทย์/พยาบาล ให้การรักษาตามคําแนะนําของระบบ แต่เกิดปัญหากับผูู้ป่วย
     • แพทย์/พยาบาล ปฏิเสธคําแนะนําของระบบ แล้วเกิดปัญหากับผู้ป่วย
            ์
     • แพทย/พยาบาล ไ ่ใ ้ ส ใ ั ํ ื
           /        ไมใหความสนใจกบคาเตอนของระบบ
การใช้วธีลัด (workaround) ที่ไม่ได้ตรงตามที่ออกแบบระบบมา
       ิ
ผลของการไม่ให้ความสนใจกับคําเตือนของระบบ
ความรับผิดทางกฎหมาย กรณีใช้ระบบแล้วเกิดผลเสียต่อผูปวย
                                                  ้ ่
ความรับผิดทางกฎหมาย ของบุคลากรทางการแพทย์ มี 3 ส่วนหลัก
  • ความรับผิดทางอาญา (เจตนา หรือประมาทเลินเล่อ)
    ความรบผดทางอาญา            หรอประมาทเลนเลอ)
  • ความรับผิดทางแพ่ง (ละเมิด)
  • การพิจารณาเป็นคดีจริยธรรมในสภาวิชาชีพ


คาถาม
 ํ          ใครตองรบผดทางกฎหมาย ระหวาง ผู้ใชงาน
            ใ ้ ั ิ                    ่       ้
   (
   (แพทย์/พยาบาล)) ผ้พัฒนาระบบสารสนเทศ หรือผ้บริหาร?
                     ู                       ู
ใครต้องรับผิดทางกฎหมาย
ขึ้นอยู่กับว่าสาเหตุอยู่ท่ีใด
                                            ผู้พัฒนาระบบ รับผิด
                      ระบบมีข้อผิดพลาดในการพัฒนา เช่น
                         ใช้สูตรคํานวณ dose ยาผิด




                                                 ทําให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย
                                                                        ู
ใครต้องรับผิดทางกฎหมาย
                                            ถาเปนเหตุสุดวสย ไมไดประมาท
                                            ถ้าเป็นเหตสดวิสัย ไม่ได้ประมาท
ขึ้นอยู่กับว่าสาเหตุอยู่ท่ีใด
                                                 ไม่ต้องรับผิดทางอาญา


                            อุทกภััย -> ระบบล่่ม




                                                   ทําให้การดูแลผูป่วยมีปัญหา
                                                              ู ู้
ใครต้องรับผิดทางกฎหมาย
                                          โรงพยาบาล/ผู รหาร อาจตอง
                                          โรงพยาบาล/ผ้บริหาร อาจต้อง
ขึ้นอยู่กับว่าสาเหตุอยู่ท่ีใด
                                         รับผิดเพราะควรป้องกันปัญหาได้

                           ระบบล่มบ่อย ขาดการ
                             บริหารจัดการทีดี
                                           ่




                                                ทําให้การดูแลผูป่วยมีปัญหา
                                                           ู ู้
ใครต้องรับผิดทางกฎหมาย
                                ผู ชงานอาจตองรบผด
                                ผ้ใช้งานอาจต้องรับผิด
ขึ้นอยู่กับว่าสาเหตุอยู่ท่ีใด

          ผู้ใช้งานใช้ระบบผิด
               วตถุประสงค
               วัตถประสงค์




                                ทําให้การดูแลผูป่วยมีปัญหา
                                           ู ู้
ใครต้องรับผิดทางกฎหมาย
                                  ตามหลก Learned Intermediaries ผู ฒนาระบบไม
                                  ตามหลัก “Learned Intermediaries” ผ้พัฒนาระบบไม่
ขึ้นอยู่กับว่าสาเหตุอยู่ท่ีใด     ต้องรับผิดเพราะต้องมีผใช้งานพิจารณาคําแนะนํานั้นก่อน
                                                          ู้
                                   การให้การรักษา แต่ผู้ใช้งานต้องรับผิดหรือไม่ข้ึนอยู่กับ
                                      ความประมาทเลินเล่อและการใช้ดุลพินิจในฐานะ
                                              ผู้เชี่ยวชาญตามมาตรฐานวิชาชีพ

            ระบบให้คําแนะนําในการรักษาตามมาตรฐาน
            ผู ชงานปฏบตตามคาแนะนา แต่เกิดอันตราย
            ผ้ใช้งานปฏิบัติตามคําแนะนํา แตเกดอนตราย
                              ต่อผู้ป่วย
ใครต้องรับผิดทางกฎหมาย
ขึ้นอยู่กับว่าสาเหตุอยู่ท่ีใด        ผู้ใช้งานต้องรับผิดหรือไม่ขึ้นอยู่กับความประมาทเลินเล่อ
                                         และการใช้ดุลพินิจในฐานะผู้เชี่ยวชาญตามมาตรฐาน
                                                              วชาชพ
                                                              วิชาชีพ


            ระบบให้คําแนะนําในการรักษาตามมาตรฐาน
            ผู้ใช้งานไม่ปฏิบัติตามคําแนะนํา เกิดอันตราย
                         ฏ
                                ต่อผู้ป่วย
ใครต้องรับผิดทางกฎหมาย
ขึ้นอยู่กับว่าสาเหตุอยู่ท่ีใด               ผู้ใช้งานอาจต้องรับผิดเนื่องจาก
                                                     ประมาทเลนเลอ
                                                     ประมาทเลินเล่อ

           ระบบมีข้อความเตือนว่าการสั่งการรักษาบางอย่าง
          อาจมีอันตรายต่อผ้ป่วย ผู้ใช้งานไม่สนใจคําเตือนนั้น
                            ู
            เพียงกดปุ่มข้ามไปให้ผ่านๆ โดยไม่ได้ไตร่ตรองดู
สรุป
• จริยธรรม จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ กฎหมาย คือกรอบของสังคม
  ทกาหนดวาสงใดควรทา หรอไมควรทา
  ที่กําหนดว่าสิ่งใดควรทํา หรือไม่ควรทํา
• การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ว่าโดยบุคคลทั่วไปหรือบุุคลากร
                                         ุ
  ทางการแพทย์ ย่อมมีประเด็นด้านจริยธรรม กฎหมาย และ
  ผลกระทบต่อสังคม เสมอ
• กฎหมายสาคญทเปนกรอบในการกาหนดแนวทางการใช
           สํ ั ี่ ป็        ใ       ํ            ใช้
  เทคโนโลยีสารสนเทศของบุุคคลทั่วไป คือ พรบ.ว่าด้วยการกระทํา
  ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
สรุป
• การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยพยาบาลหรือบุคลากรทาง
  การแพทย อาจสงผลกระทบตอผู วยได และต้องอย่ นพืนฐาน
  การแพทย์ อาจส่งผลกระทบต่อผ้ป่วยได้ และตองอยูบนพนฐาน ้
  ของหลักจริยธรรมและกฎหมาย รวมทั้งต้องหาทางป้องกันปัญหา
  ที่อาจเกิดต่อผู้ป่วยจากการใช้งานระบบสารสนเทศ
• Privacy และ Security เป็็นสอง concepts ที่มีความสําคัญ
  สาหรบบุคลากรทางการแพทยทดูแลผู วย และจาเปนจะตองให
  สําหรับบคลากรทางการแพทย์ที่ดแลผ้ป่วย และจําเป็นจะต้องให้
  ความสําคัญในการคุ้มครองข้อมูลผู้ป่วยอย่างเต็มที่
• ความรับผิดทางกฎหมายจากการใช้งานระบบสารสนเทศอาจ
  แตกต่างกันไ นอยู่กับสาเหตุของปัญหา
              ไปขึ้ึ
สรุป
• ใช้ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลอย่างมีจริยธรรม คํานึงถึง
  กฎหมายทเกยวของ และม่ ประโยชนสูงสดต่อผ้ วย
  กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และมุงประโยชน์สงสุดตอผูป่วย และการ
  ไม่ทําอันตรายต่อผู้ป่วย

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
Janchai Pokmoonphon
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
Nursing Room By Rangsima
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
หรร 'ษๅ
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpsskaew393
 
ตารางการอบรม
ตารางการอบรมตารางการอบรม
ตารางการอบรม
มุกดาวรรณ เดฟ
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
อรยา ม่วงมนตรี
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Nickson Butsriwong
 
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Kunnanatya Pare
 
บทที่ 2 ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ กลไก เครื่องมือและผลกระทบ
บทที่ 2 ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์  กลไก เครื่องมือและผลกระทบบทที่ 2 ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์  กลไก เครื่องมือและผลกระทบ
บทที่ 2 ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ กลไก เครื่องมือและผลกระทบ
Teetut Tresirichod
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
Srion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
Pondpot
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
Teetut Tresirichod
 
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศแบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
Sirigunlaya Wongwisas
 
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)
Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)
Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
ตารางการอบรม
ตารางการอบรมตารางการอบรม
ตารางการอบรม
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ กลไก เครื่องมือและผลกระทบ
บทที่ 2 ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์  กลไก เครื่องมือและผลกระทบบทที่ 2 ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์  กลไก เครื่องมือและผลกระทบ
บทที่ 2 ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ กลไก เครื่องมือและผลกระทบ
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศแบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)
Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)
Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)
 

Similar to ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
IT Laws & Nursing (July 4, 2017)IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอHatairat Srisawat
 
อาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวอาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวMind Candle Ka
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
KruKaiNui
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯKannaree Jar
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯKannaree Jar
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Thalatchanan Netboot
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋AY'z Felon
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋AY'z Felon
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์Kannaree Jar
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์Kannaree Jar
 
Law & Complaints in the Digital Age
Law & Complaints in the Digital AgeLaw & Complaints in the Digital Age
Law & Complaints in the Digital Age
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องKamonchapat Boonkua
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องKamonchapat Boonkua
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1Nukaem Ayoyo
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1Kamonchapat Boonkua
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
Piw ARSENAL
 

Similar to ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
IT Laws & Nursing (July 4, 2017)IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอ
 
อาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวอาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาว
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรม นิว
อาชญากรรม นิวอาชญากรรม นิว
อาชญากรรม นิว
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
Law & Complaints in the Digital Age
Law & Complaints in the Digital AgeLaw & Complaints in the Digital Age
Law & Complaints in the Digital Age
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
 
รายงานเจียบ
รายงานเจียบรายงานเจียบ
รายงานเจียบ
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
 

More from Nawanan Theera-Ampornpunt

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 

More from Nawanan Theera-Ampornpunt (20)

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
 

ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 1. ผลกระทบทางจรยธรรม และประเดนทางสงคม ผลกร ทบทางจริยธรรม แล ปร เด็นทางสังคม ทเกยวของกบการใชเทคโนโลยสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ ฝายเวชสารสนเทศ คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธบด มหาวทยาลยมหดล ฝ่ายเวชสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล http://www.SlideShare.net/Nawanan ranta@mahidol.ac.th
  • 3. เมื่อพูดถึงคําว่า “จริยธรรม” เรามักคิดถึง...? • ความถูกต้อง • คุณธรรม • ศลธรรม ศีลธรรม • จรรยาบรรณ • ความประพฤติที่ดีงาม เหมาะสม • การกระทําที่ถูกกฎหมาย
  • 4. กรอบมาตรฐานของสังคม กรอบมาตรฐานของสังคม ? ทางเลือกที่ 1 ทางเลือกที่ 2
  • 5. กฎหมาย ในฐานะกรอบมาตรฐานของสังคม กฎหมาย (Law) ? ทางเลือกที่ 1 ทางเลือกที่ 2
  • 6. จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ (Professional Code of Ethics) ? ทางเลือกที่ 1 ทางเลือกที่ 2
  • 7. จริยธรรม: ความประพฤติที่สังคมเห็นว่าดีงาม จริยธรรม (Ethics) ? ทางเลือกที่ 1 ทางเลือกที่ 2
  • 8. ความเป็นจริง กฎหมาย จรรยาบรรณ ? ทางเลือกที่ 1 จริยธรรม ทางเลือกที่ 2
  • 9. หลักจริยธรรม (Ethical Principles) สําคัญด้านสุขภาพ • Autonomy (หลักเอกสิทธิ์/ความเป็็นอิสระของผู้ป่วย) • B fi Beneficence ((หลกการรกษาประโยชนสูงสุดของผูป่วย)) ั ั ป โ ์ ้ • Non-maleficence (หลักการไม่ทําอันตรายต่อผ้ป่วย) (หลกการไมทาอนตรายตอผู วย) • “First, Do No Harm.” • Justice (หลักความยุติธรรม) • หมายถึงการกระจายทรัพยากรที่มีอยู่จํากัดอย่างเหมาะสม เป็นธรรม และเทาเทยมกน และเท่าเทียมกัน
  • 10. ประเด็นทางจริยธรรม กฎหมาย และสังคม • Ethical, Legal, and Social Issues (ELSI) • Ethi l - ในเชิงจริยธรรม Ethical ในเชงจรยธรรม • Legal - ในทางกฎหมาย g ฎ • Social - ที่เกี่ยวกับสังคม
  • 11. ประเด็นเกี่ยวกับ ELSI ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (1) • กรณีท่ี 1: บุคคลทัวไปใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งผลกระทบต่อผูอืน ่ ้่ แล ส ม และสังคม
  • 12. ประเด็นเกี่ยวกับ ELSI ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (2) • กรณีท่ี 2: ผู้ให้บริการทางสุขภาพใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งผลกระทบ ต่อผ้ปวยและสังคม ู วยแล ส ม ่
  • 14. กรณีที่ 1: บุคคลทั่วไปใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็็กทรอนิกส์์ พ.ศ. 2544 และ พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 • รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ การรับส่งข้อมูล อเลกทรอนกส การใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์ การใชลายมอชออเลกทรอนกส (electronic signature) และกําหนด แล กาหนด หลักเกณฑ์ต่างๆ ทีเกี่ยวข้องกับการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (electronic ่ transaction)) • พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 • กําหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามการกระทําความผิดทีเกียวข้องกับ ่ ่ คอมพิวเตอร์ ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหาย กระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจ สังคม และ ความมั่นคงของประเทศ รวมทังความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน ้
  • 15. พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 การกระทําความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร์์ (Computer-Related Crimes) ่ ตัวอย่าง? • อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crimes) • เช่่น Hacking, การเปิดเผยข้อมูลทีเป็นความลับ, การดัักฟังข้อมูล ปิ ้ ี่ ั ้ • การกระทําความผิดที่มีคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ (Crimes Using Computers as Tools) • เช่น การเผยแพร่ภาพลามก • การโพสต์ข้อความทีเป็นภัยต่อความมั่นคง ่ • การตัดต่อภาพเพื่อให้ผอนเสยหาย การตดตอภาพเพอใหผู้ ื่นเสียหาย
  • 16. พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 3 (บทนิยาม) • “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อปกรณ์หรือชดอปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่ ุ ุ ุ เชื่อมการทํางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกําหนดคําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และ แนวทางปฏบตงานใหอุปกรณ์หรือชดอปกรณ์ทําหน้าที่ประมวลผลข้อมลโดย แนวทางปฏิบัติงานให้อปกรณหรอชุดอุปกรณทาหนาทประมวลผลขอมูลโดย อัตโนมัติ • “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใด บรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ ู และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทาง อเลกทรอนกสดวย อิเล็กทรอนิกส์ด้วย
  • 17. คําถาม สิ่งต่อไ ้ ถือเป็็น “ระบบคอมพิวเตอร์์” ตาม พรบ.นี้หรือไ ? ไปนี ไม่
  • 18. พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 3 (บทนิยาม) • “ข้อมลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร ู ู ของระบบคอมพิวเตอร์ ซึงแสดงถึงแหล่งกําเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา ่ วนท ปริมาณ วันที่ ปรมาณ ระยะเวลา ชนดของบรการ หรออน ๆ ทเกยวของกบการ ชนิดของบริการ หรืออืน ที่เกี่ยวข้องกับการ ่ ติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์น้นั • “ผู้ให้บริการ” หมายความว่า (1) ผ้ใหบรการแกบุคคลอื่นในการเข้าส่อนเทอร์เน็ต หรอใหสามารถตดตอถงกนโดยปร การ ผู ห้บริการแก่บคคลอนในการเขาสู นเทอรเนต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการ ิ อื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่วาจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือ ่ ในนามหรอเพอปร โยชนของบุคคลอน ในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบคคลอื่น (2) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
  • 19. ผู้ให้บริการ หมายรวมถึง 1. ผู้ประกอบกิจการโทรคมนาคมและกิจการกระจายภาพและเสียง (Telecommunication and Broadcast Carriers) 2. ผู้ให้บริการการเข้าถึงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Access Service Provider) 3. ผู้ให้บริการเช่าระบบคอมพิวเตอร์เพื่อใ บริการโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ้ ิ ่ ิ ์ ื ให้้ ิ โป ป ์ (Hosting Service Provider 4. ผู้ให้บริการร้านอินเทอร์เน็ต 5. ผู หบรการขอมูลคอมพวเตอรผาน Application ตางๆ เช่น ผู หบรการ 5 ผ้ให้บริการข้อมลคอมพิวเตอร์ผ่าน A li ti ต่างๆ เชน ผ้ให้บริการ เว็บบอร์ด, Blog, e-Commerce ฯลฯ
  • 20. พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 หมวด 1 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์์ • มาตรา 5 การเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มไว้สําหรับตน (Unauthorized access) ี • เชน การเจาะระบบ (h ki ) การ h k รหสผานคนอน ่ (hacking), hack ั ่ ื่ • การเข้าถึงทางกายภาพ หรือทางเครือข่ายก็ได้ • มาตรา 6 การเปิดเผยโดยมิชอบซึ่งมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ ผู นจัดทําขึ้นเป็นการเฉพาะที่ได้ล่วงร้ ในประการทนาจะเกดความเสยหายแก ผ้อื่นจดทาขนเปนการเฉพาะทไดลวงรูมา ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ ผู้อื่น • เช่่น เปิดเผยรหัสผ่านของผู้อ่ืนโ ไ ่ได้้รับอนุญาต ปิ ั ่ โดยไม่
  • 21. พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 • มาตรา 7 การเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์์ทีมีมาตรการป้องกันการเข้าถึง ่ โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มไว้สําหรับตน (Unauthorized access) ี • เช่น การนําข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไปพยายามถอดรหัสเพืออ่านเนือความ ่ ้ • มาตรา 8 การกระทําโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซง การกระทาโดยมชอบดวยวธการทางอเลกทรอนกสเพอดกรบไวซง ึ่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และ ข้้อมูลคอมพิวเตอร์น้ันมิได้้มีไว้้เพือประโยชน์์สาธารณะหรืือเพือใ บุคคลทั่วไ ใ ้ ์ ื่ โ ื่ ให้้ ไปใช้ ประโยชน์ได้ • เช่น การดักฟังข้อมูลผ่านเครือข่าย • มาตรา 9 การทําให้เสียหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่วาทั้งหมด การทาใหเสยหาย ทําลาย แกไข เปลยนแปลง หรอเพมเตมไมวาทงหมด ่ หรือบางส่วน ซึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ่ • เช่น การลบหรือแก้ไขข้อมูลของผู้อื่น โดยมีเจตนาร้าย
  • 22. พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 • มาตรา 10 การกระทําโดยมิชอบ เพื่อใ การทํางานของระบบคอมพิวเตอร์์ของ ให้ ผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปกติได้ • เช่น Denial of Service (DoS) Attack = การโจมตีให้เว็บล่ม • มาตรา 11 การส่งข้อมลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บคคลอนโดย การสงขอมูลคอมพวเตอรหรอจดหมายอเลกทรอนกสแกบุคคลอื่นโดย ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการ ใช้้ ใ ระบบคอมพิวเตอร์์ของบุคคลอืื่นโ โดยปกติสุข • เช่น ส่ง spam e-mail • มาตรา 13 การจําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําสั่งเพื่อนําไปใช้เป็นเครื่องมือในการ กระทาความผดตาม พรบ. น กระทําความผิดตาม พรบ นี้ • เช่น การเผยแพร่ซอฟต์แวร์เจาะระบบ
  • 23. พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 • มาตรา 14 (1) นําเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอม หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็น ู่ ู ู เท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผอื่นหรือประชาชน ู้ (2) นําเข้าส่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิด นาเขาสู ะบบคอมพวเตอรซงขอมูลคอมพวเตอรอนเปนเทจ โดยประการทนาจะเกด ความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน (3) นําเข้าส่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมลคอมพิวเตอร์ใดๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความ นาเขาสู ะบบคอมพวเตอรซงขอมูลคอมพวเตอรใดๆ อนเปนความผดเกยวกบความ มั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกียวกับการก่อการร้าย ่ ((4)) นํําเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่มีลกษณะอันลามกและ ้ ่ ิ ์ ิ ์ ี ั ั ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ (5) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (1)-(4)
  • 24. พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 • มาตรา 15 ความรับผิดกรณีผให้บริการจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทํา ู้ ใ ใ ความผิดตามมาตรา 14 ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน • มาตรา 16 ผู้ใดนําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซง ึ่ ขอมูลคอมพวเตอรทปรากฏเปนภาพของผู และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการ ข้อมลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผ้อื่น และภาพนนเปนภาพทเกดจากการ สร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทัั้งนีี้ โ โดยประการทีี่น่าจะทํําให้ผ้อ่ืนนัั้นเสีียชืื่อเสีียง ถูกดูหมิิ่น ถูกเกลีียดชััง หรือ ใ ู้ ื ได้รับความอับอาย
  • 25. พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 หมวด 2 พนักงานเจ้้าหน้าที่ ้ • มาตรา 18 อํานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ (1) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลมาให้ถ้อยคํา ส่งคําชี้แจง หรือส่งหลักฐาน (2) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากผู้ให้บริการ (3) สั่งให้ผ้ให้บริการส่งมอบข้อมลเกี่ยวกับผ้ใช้บริการที่ต้องเก็บ สงใหผู หบรการสงมอบขอมูลเกยวกบผู ชบรการทตองเกบ (4) ทําสําเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ (5) สั่งให้บุคคลซึ่งครอบครองหรือควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ ส่งมอบข้อมูล (6) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ขอมูล หรืออปกรณ์ที่เป็นหลักฐาน ตรวจสอบหรอเขาถงระบบคอมพวเตอร ข้อมล หรออุปกรณทเปนหลกฐาน (7) ถอดรหัสลับของข้อมูล หรือสั่งให้บุคคลทําการถอดรหัสลับ (8) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์เท่าที่จําเป็น
  • 26. พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 • มาตรา 19-21 การยืนคําร้องต่อศาลของพนักงานเจ้าหน้าที่ เกียวกับการปฏิบัติ ่ ่ หน้าที่ตาม พรบ. นี้ • มาตรา 26 ผู้ให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยกว่า 90 วัน นบแตวนทขอมูลนนเขาสูระบบคอมพวเตอร... วน นับแต่วันที่ข้อมลนั้นเข้าส่ ะบบคอมพิวเตอร์ • ผู้ให้บริการจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บริการเท่าที่จําเป็นเพื่อให้สามารถระบุ ตัวผู้ใช้บริการนับตั้งแต่เริ่มใช้บริการและต้องเก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 90 วัน นับตั้งแต่การใช้บริการสิ้นสุุดลง
  • 27. กรณีที่ 1 (พิเศษ): บุคคลทั่วไปใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • บุคคลทัวไปใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ แล้วเกิดปัญหาทางสุขภาพ ่ พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์
  • 28. ประเด็นปัญหาทางสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ • การยศาสตร์ (Ergonomics) • ปัญหาทางสายตา ปญหาทางสายตา • ปัญหาทางจิตเวช • การติดเกม ติดอินเทอร์เน็ต ติด Social Media • อันตรายจากพฤติกรรมเสีี่ยงทีี่ไม่ปลอดภัย • ฯลฯ
  • 29. บทบาทของพยาบาลต่อปัญหาทางสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับ IT • ใ ความรู้ + คําแนะนําเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพ ให้ • ให้กับบุคคลทั่วไป ุ • ในกลุ่มเสี่ยง • คดกรอง ประเมนปญหา ในผู วยที่มารับบริการ คัดกรอง ปร เมินปัญหา ในผ้ป่วยทมารบบรการ • ให้คําแนะนําเพื่อแก้ไขปัญหา • เป็นส่วนหนึ่งของทีมในการให้การรักษา • ให้้ ใ ความรู้ + สร้้างความตระหนัก ให้กับสัังคม ั ใ ้
  • 31. พยาบาลใช้ระบบสารสนเทศ เกิดผลกระทบอะไรต่อผูปวยได้บ้าง? ้ ่ • เสียเวลากับคอมพิวเตอร์์มากเกินไป ไม่ได้ดูแลผู้ป่วยเท่าที่ควร ไ ไ • ไม่ระมัดระวัง ข้อมลส่วนบคคลของผู้ป่วยรั่วไหล ู ุ • ระบบล่ม ไม่ทราบประวัติ ให้การดูแลผู้ป่วยไม่ได้ • บันทึกข้อมูลผิดพลาด เช่น ผิดคน ผิดตัวยา ผิดด้าน ฯลฯ เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย • โปรแกรมคอมพวเตอรมปญหาโดยพยาบาลไมทราบ เชน คานวณ โปรแกรมคอมพิวเตอร์มีปัญหาโดยพยาบาลไม่ทราบ เช่น คํานวณ dose ยาผิด ยาผด • มีระบบให้ใช้ แต่ผู้ใช้งาน (user) ไม่ยอมใช้ ใช้ผิดวัตถุประสงค์ หรือใช้วิธีลัด • ระบบมีคําแนะนําสําหรับแนวทางการรักษาที่ได้มาตรฐาน ให้กบแพทย์/พยาบาล ั • แพทย์/พยาบาล ให้การรักษาตามคําแนะนําของระบบ แต่เกิดปัญหากับผูู้ป่วย • แพทย์/พยาบาล ปฏิเสธคําแนะนําของระบบ แล้วเกิดปัญหากับผู้ป่วย ์ • แพทย/พยาบาล ไ ่ใ ้ ส ใ ั ํ ื / ไมใหความสนใจกบคาเตอนของระบบ
  • 32. พยาบาลใช้ระบบสารสนเทศ เกิดผลกระทบอะไรต่อผูปวยได้บ้าง? ้ ่ • เสียเวลากับคอมพิวเตอร์์มากเกินไป ไม่ได้ดูแลผู้ป่วยเท่าที่ควร ไ ไ • สาเหตุ • ระบบออกแบบมาไม่ดี • ระบบทํางานช้าเกิินไป ํ ้ • ข้อมูลทีต้องบันทึก เยอะเกินไป ่ • ให้ความสําคัญกับการบันทึกมากกว่าการดูแลผูป่วย ้ • ตดคอมพ? เลนเนต? ติดคอมพ์? เล่นเน็ต? • วิธีป้องกัน • มีส่วนร่วมในการออกแบบระบบแต่แรก สื่อสารปัญหาให้ฝ่าย IT ทราบ • ให้ความสําคัญกับการดูแลผู้ป่วย มากกว่าการบันทึกข้อมูลผู้ป่วย
  • 33. พยาบาลใช้ระบบสารสนเทศ เกิดผลกระทบอะไรต่อผูปวยได้บ้าง? ้ ่ • ไ ระมัดระวัง ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยรั่วไ ไม่ ไหล • สาเหตุ • ผู้ใช้งานไม่ให้ความสําคัญกับความเป็นส่วนตัวของข้อมูลผู้ป่วย • ขาดความรู้เกีี่ยวกัับวิิธีการใช้้งานระบบอย่่างปลอดภััย ใ ป • จุดอ่อนของระบบสารสนเทศเอง • วิธีป้องกัน • ฝ่าย IT พัฒนาระบบให้ปลอดภัย มีกระบวนการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย ฝาย พฒนาระบบใหปลอดภย, มกระบวนการบรหารจดการดานความปลอดภย สารสนเทศทั้งระบบ • มการใหความรูเกยวกบการรกษาความปลอดภยสารสนเทศ และการคุ้มครอง ี ใ ้ ้ ี่ ั ั ป ั ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลผู้ป่วย
  • 34. Privacy & Security ของข้อมูลผู้ปวย ่ • ความเป็็นส่วนตัว (Privacy) คือ ความสามารถของบุคคลในการคุ้มครองและ ใ ปกปิดตนเองและข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง และเลือกที่จะเปิดเผยเท่าที่ตนประสงค์จะ เปิดเผย • ความปลอดภัยสารสนเทศ (Information Security) คือ การค้มครองขอมูล ความปลอดภยสารสนเทศ คอ การคุ ครองข้อมล สารสนเทศ (information) และระบบสารสนเทศ (information systems) ด้วย มาตรการต่่างๆ เพื่อป้องกัันการรัั่วไ การสูญหาย เปลีี่ยนแปลง หรืือความ ื ไหล ป ป เสียหายอื่นๆ
  • 35. ความปลอดภัยสารสนเทศ (Information Security) • Confidentiality ความลับของข้อมูล • Integrity ความถูกตองของขอมูล ไม่ถกแกไข หรอสูญหายโดยมชอบ ความถกต้องของข้อมล ไมถูกแก้ไข ลบ หรือสญหายโดยมิชอบ • Availability ความสามารถใช้งานได้ (เช่น ระบบไม่ล่ม)
  • 36. มาตรการเพื่อความปลอดภัยของข้อมูลผู้ปวย ่ • Physical Security ความปลอดภัยทางกายภาพ • ล็อคห้องที่มีระบบสารสนเทศ ให้เข้าถึงยาก • System Security ความปลอดภัยของ Server • อุดช่องโหว่ -> Update patches ของ Windows หรือโปรแกรมต่างๆ บ่อยๆ ุ p p ๆ ๆ • Antivirus, Firewall, Intrusion Detection/Prevention System, Log files • Software Security ความปลอดภยของตวซอฟตแวรเอง ความปลอดภัยของตัวซอฟต์แวร์เอง • Network Security ความปลอดภัยของระบบเครือข่าย • Database Security ความปลอดภัยใ ในการเข้้าถึึงระบบฐานข้้อมูล • User Security รหัสผ่าน, การกําหนดสิทธิในระบบ, การตรวจสอบตัวตน, ระวัง Phishing/Social Engineering “หลอกเอาข้อมูล” • Encryption yp การเข้ารหัสข้อมูลทีสําคัญ ู ่
  • 37. แนวทางการคุ้มครอง Privacy ของข้อมูลผู้ปวย ่ • นอกเหนือจากมาตรการด้าน Security • Informed Consent เกียวกับแนวทางการเก็บบันทึกและเปิดเผยข้อมูลผูู้ป่วย ่ ู • สร้างวัฒนธรรมที่ให้ความสําคัญกับความเป็นส่วนตัวของข้อมูลผู้ป่วย • มกระบวนการสรางความตระหนก สอนผู ช้งาน มีกระบวนการสร้างความตระหนัก + สอนผ้ใชงาน • มีการกําหนดกฎระเบียบและนโยบายด้านความปลอดภัยสารสนเทศขององค์กร และบัังคัับใช้้ (enforce) นโยบายดังกล่าว ใ โ ั ่ • มีกระบวนการบริหารจัดการด้าน Privacy และ Security ที่ต่อเนื่อง สม่ําเสมอ Image: http://www.nurseweek.com/news/images/privacy.jpg
  • 38. Social Media กับความเสี่ยงใหม่ๆ ข้อความจริง บน • "อาจารย์ครับ เมื่อวาน ผมออก OPD เจอ คุณ... คนไข้... ที่อาจารย์ผ่าไปแล้ว มา ฉายรังสีต่อที่... ตอนนี้ Happy ดี ไม่ค่อยปวด เดินได้สบาย คนไข้ฝากขอบคุุณ อาจารย์อีกครั้ง -- อีกอย่างคนไข้ช่วงนี้ไม่ค่อยสะดวกเลยไม่ได้ไป กทม. บอกว่าถ้า พรอมจะไป Follow up กบอาจารยครบ พร้อมจะไป Follow-up กับอาจารย์ครับ"
  • 39. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสุขภาพ • พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 • มาตรา 7 ข้อมลด้านสขภาพของบคคล เปนความลบสวนบุคคล ผูใด ขอมูลดานสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบคคล ผ้ จะนําไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทําให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่ การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมี กฎหมายเฉพาะบญญตใหตองเปดเผย แตไมวาในกรณใด ผ้ กฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย แต่ไม่วาในกรณีใด ๆ ผูใดจะ ่ อาศัยอํานาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือ กฎหมายอืื่นเพืื่อขอเอกสารเกีี่ยวกัับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่่ใช่่ ้ ้ ี ของตนไม่ได้ • อนาคตอาจมี พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (ปัจจุบันยังไม่ผ่านสภาฯ)
  • 40. คําประกาศสิทธิผปวย ู้ ่ • เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผูู้ประกอบวิชาชีพด้านสุุขภาพกับผูู้ป่วย ตังอยูู่บนพืนฐ ้ ้ ฐานของความเข้าใจอันดีและเป็นที่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทย สภา สภาการพยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้รวมกันออกประกาศรับรองสิทธิของ ่ ผู้ป่วยไว ้ดังต่อไปนี้ 1. ผู้ป่วยทุุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รบบริการด้านสุุขภาพ ตามที่บัญญติไว้ในรัฐธรรมนููญ ู ฐ ั ญญั 2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มการเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชือชาติ สัญชาติ ี ้ ศาสนา สังคม ลัทธิการเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บป่วย 3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รบทราบข้อมููลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจน จากผูู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วย ู ั สามารถเลือกตัดสินใจในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือ จําเป็น 4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจําเป็นแก่ กรณี โดยไม่คํานึงว่าผู้ป่วยจะร้อง ขอความช่วยเหลือหรือไม่ 5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็น ผู้ให้บริการแก่ตน 6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มได้เป็นผู้ให้บริ การแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการ และ ิ สถานบริการได้ 7. ผู้ป่วยมีสิทธิทีจะได้รับการปกปิดข้อมูลเกียวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย ่ ไ ่ ไ หรือการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย 8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รบทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทําวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพ ั ด้้านสุขภาพ 9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏใน เวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็น การละเมิดสิทธิส่วนตัวของบุคคลอื่น 10.บดา 10 บิดา มารดา หรอผูแทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผ้ป่วยที่เป็นเด็กอายยังไมเกน สบแปดปบรบูรณ ผ้บกพรองทางกายหรอจต ซึงไม่สามารถ หรือผ้ อาจใชสทธแทนผู วยทเปนเดกอายุยงไม่เกิน สิบแปดปีบริบรณ์ ผู กพร่องทางกายหรือจิต ซงไมสามารถ ่ ใช้สิทธิด้วยตนเองได้
  • 41. คําประกาศสิทธิผปวย ู้ ่ • เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผูู้ประกอบวิชาชีพด้านสุุขภาพกับผูู้ป่วย ตังอยูู่บนพืนฐ ้ ้ ฐานของความเข้าใจอันดีและเป็นที่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทย สภา สภาการพยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้รวมกันออกประกาศรับรองสิทธิของ ่ ผู้ป่วยไว ้ดังต่อไปนี้ 1. ผู้ป่วยทุุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รบบริการด้านสุุขภาพ ตามที่บัญญติไว้ในรัฐธรรมนููญ ู ฐ ั ญญั 2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มการเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชือชาติ สัญชาติ ี ้ 7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ศาสนา สังคม ลัทธิการเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บป่วย 3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รบทราบข้อมููลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจน จากผูู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วย ู ั จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่ สามารถเลือกตัดสินใจในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือ จําเป็น 4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจําเป็นแก่ กรณี โดยไม่คํานึงว่าผู้ป่วยจะร้อง ขอความช่วยเหลือหรือไม่ จะไดรบความยนยอมจากผู วยหรอการปฏบตหนาท จะได้รับความยินยอมจากผ้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่ 5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็น ผู้ให้บริการแก่ตน 6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มได้เป็นผู้ให้บริ การแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการ และ ิ ตามกฎหมาย สถานบริการได้ 7. ผู้ป่วยมีสิทธิทีจะได้รับการปกปิดข้อมูลเกียวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย ่ ไ ่ ไ หรือการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย 8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รบทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทําวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพ ั ด้้านสุขภาพ 9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏใน เวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็น การละเมิดสิทธิส่วนตัวของบุคคลอื่น 10.บดา 10 บิดา มารดา หรอผูแทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผ้ป่วยที่เป็นเด็กอายยังไมเกน สบแปดปบรบูรณ ผ้บกพรองทางกายหรอจต ซึงไม่สามารถ หรือผ้ อาจใชสทธแทนผู วยทเปนเดกอายุยงไม่เกิน สิบแปดปีบริบรณ์ ผู กพร่องทางกายหรือจิต ซงไมสามารถ ่ ใช้สิทธิด้วยตนเองได้
  • 42. คําถาม • การคุมครองความเป็็นส่วนตัว (Privacy) และความปลอดภัย (Security) ้ ขอ ขอมูล ู วย เข ไ ั ล จรยธรรมใ ของข้อมลผ้ปวย เข้าได้กบหลักจริยธรรมใด ่ • Autonomy? • Beneficence? • Non-Maleficence? • Justice?
  • 43. พยาบาลใช้ระบบสารสนเทศ เกิดผลกระทบอะไรต่อผูปวยได้บ้าง? ้ ่ • เสียเวลากับคอมพิวเตอร์์มากเกินไป ไม่ได้ดูแลผู้ป่วยเท่าที่ควร ไ ไ • ไม่ระมัดระวัง ข้อมลส่วนบคคลของผู้ป่วยรั่วไหล ู ุ • ระบบล่ม ไม่ทราบประวัติ ให้การดูแลผู้ป่วยไม่ได้ • บันทึกข้อมูลผิดพลาด เช่น ผิดคน ผิดตัวยา ผิดด้าน ฯลฯ เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย • โปรแกรมคอมพวเตอรมปญหาโดยพยาบาลไมทราบ เชน คานวณ โปรแกรมคอมพิวเตอร์มีปัญหาโดยพยาบาลไม่ทราบ เช่น คํานวณ dose ยาผิด ยาผด • มีระบบให้ใช้ แต่ผู้ใช้งาน (user) ไม่ยอมใช้ ใช้ผิดวัตถุประสงค์ หรือใช้วิธีลัด • ระบบมีคําแนะนําสําหรับแนวทางการรักษาที่ได้มาตรฐาน ให้กบแพทย์/พยาบาล ั • แพทย์/พยาบาล ให้การรักษาตามคําแนะนําของระบบ แต่เกิดปัญหากับผูู้ป่วย • แพทย์/พยาบาล ปฏิเสธคําแนะนําของระบบ แล้วเกิดปัญหากับผู้ป่วย ์ • แพทย/พยาบาล ไ ่ใ ้ ส ใ ั ํ ื / ไมใหความสนใจกบคาเตอนของระบบ
  • 46. ความรับผิดทางกฎหมาย กรณีใช้ระบบแล้วเกิดผลเสียต่อผูปวย ้ ่ ความรับผิดทางกฎหมาย ของบุคลากรทางการแพทย์ มี 3 ส่วนหลัก • ความรับผิดทางอาญา (เจตนา หรือประมาทเลินเล่อ) ความรบผดทางอาญา หรอประมาทเลนเลอ) • ความรับผิดทางแพ่ง (ละเมิด) • การพิจารณาเป็นคดีจริยธรรมในสภาวิชาชีพ คาถาม ํ ใครตองรบผดทางกฎหมาย ระหวาง ผู้ใชงาน ใ ้ ั ิ ่ ้ ( (แพทย์/พยาบาล)) ผ้พัฒนาระบบสารสนเทศ หรือผ้บริหาร? ู ู
  • 47. ใครต้องรับผิดทางกฎหมาย ขึ้นอยู่กับว่าสาเหตุอยู่ท่ีใด ผู้พัฒนาระบบ รับผิด ระบบมีข้อผิดพลาดในการพัฒนา เช่น ใช้สูตรคํานวณ dose ยาผิด ทําให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย ู
  • 48. ใครต้องรับผิดทางกฎหมาย ถาเปนเหตุสุดวสย ไมไดประมาท ถ้าเป็นเหตสดวิสัย ไม่ได้ประมาท ขึ้นอยู่กับว่าสาเหตุอยู่ท่ีใด ไม่ต้องรับผิดทางอาญา อุทกภััย -> ระบบล่่ม ทําให้การดูแลผูป่วยมีปัญหา ู ู้
  • 49. ใครต้องรับผิดทางกฎหมาย โรงพยาบาล/ผู รหาร อาจตอง โรงพยาบาล/ผ้บริหาร อาจต้อง ขึ้นอยู่กับว่าสาเหตุอยู่ท่ีใด รับผิดเพราะควรป้องกันปัญหาได้ ระบบล่มบ่อย ขาดการ บริหารจัดการทีดี ่ ทําให้การดูแลผูป่วยมีปัญหา ู ู้
  • 50. ใครต้องรับผิดทางกฎหมาย ผู ชงานอาจตองรบผด ผ้ใช้งานอาจต้องรับผิด ขึ้นอยู่กับว่าสาเหตุอยู่ท่ีใด ผู้ใช้งานใช้ระบบผิด วตถุประสงค วัตถประสงค์ ทําให้การดูแลผูป่วยมีปัญหา ู ู้
  • 51. ใครต้องรับผิดทางกฎหมาย ตามหลก Learned Intermediaries ผู ฒนาระบบไม ตามหลัก “Learned Intermediaries” ผ้พัฒนาระบบไม่ ขึ้นอยู่กับว่าสาเหตุอยู่ท่ีใด ต้องรับผิดเพราะต้องมีผใช้งานพิจารณาคําแนะนํานั้นก่อน ู้ การให้การรักษา แต่ผู้ใช้งานต้องรับผิดหรือไม่ข้ึนอยู่กับ ความประมาทเลินเล่อและการใช้ดุลพินิจในฐานะ ผู้เชี่ยวชาญตามมาตรฐานวิชาชีพ ระบบให้คําแนะนําในการรักษาตามมาตรฐาน ผู ชงานปฏบตตามคาแนะนา แต่เกิดอันตราย ผ้ใช้งานปฏิบัติตามคําแนะนํา แตเกดอนตราย ต่อผู้ป่วย
  • 52. ใครต้องรับผิดทางกฎหมาย ขึ้นอยู่กับว่าสาเหตุอยู่ท่ีใด ผู้ใช้งานต้องรับผิดหรือไม่ขึ้นอยู่กับความประมาทเลินเล่อ และการใช้ดุลพินิจในฐานะผู้เชี่ยวชาญตามมาตรฐาน วชาชพ วิชาชีพ ระบบให้คําแนะนําในการรักษาตามมาตรฐาน ผู้ใช้งานไม่ปฏิบัติตามคําแนะนํา เกิดอันตราย ฏ ต่อผู้ป่วย
  • 53. ใครต้องรับผิดทางกฎหมาย ขึ้นอยู่กับว่าสาเหตุอยู่ท่ีใด ผู้ใช้งานอาจต้องรับผิดเนื่องจาก ประมาทเลนเลอ ประมาทเลินเล่อ ระบบมีข้อความเตือนว่าการสั่งการรักษาบางอย่าง อาจมีอันตรายต่อผ้ป่วย ผู้ใช้งานไม่สนใจคําเตือนนั้น ู เพียงกดปุ่มข้ามไปให้ผ่านๆ โดยไม่ได้ไตร่ตรองดู
  • 54. สรุป • จริยธรรม จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ กฎหมาย คือกรอบของสังคม ทกาหนดวาสงใดควรทา หรอไมควรทา ที่กําหนดว่าสิ่งใดควรทํา หรือไม่ควรทํา • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ว่าโดยบุคคลทั่วไปหรือบุุคลากร ุ ทางการแพทย์ ย่อมมีประเด็นด้านจริยธรรม กฎหมาย และ ผลกระทบต่อสังคม เสมอ • กฎหมายสาคญทเปนกรอบในการกาหนดแนวทางการใช สํ ั ี่ ป็ ใ ํ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศของบุุคคลทั่วไป คือ พรบ.ว่าด้วยการกระทํา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
  • 55. สรุป • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยพยาบาลหรือบุคลากรทาง การแพทย อาจสงผลกระทบตอผู วยได และต้องอย่ นพืนฐาน การแพทย์ อาจส่งผลกระทบต่อผ้ป่วยได้ และตองอยูบนพนฐาน ้ ของหลักจริยธรรมและกฎหมาย รวมทั้งต้องหาทางป้องกันปัญหา ที่อาจเกิดต่อผู้ป่วยจากการใช้งานระบบสารสนเทศ • Privacy และ Security เป็็นสอง concepts ที่มีความสําคัญ สาหรบบุคลากรทางการแพทยทดูแลผู วย และจาเปนจะตองให สําหรับบคลากรทางการแพทย์ที่ดแลผ้ป่วย และจําเป็นจะต้องให้ ความสําคัญในการคุ้มครองข้อมูลผู้ป่วยอย่างเต็มที่ • ความรับผิดทางกฎหมายจากการใช้งานระบบสารสนเทศอาจ แตกต่างกันไ นอยู่กับสาเหตุของปัญหา ไปขึ้ึ
  • 56. สรุป • ใช้ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลอย่างมีจริยธรรม คํานึงถึง กฎหมายทเกยวของ และม่ ประโยชนสูงสดต่อผ้ วย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และมุงประโยชน์สงสุดตอผูป่วย และการ ไม่ทําอันตรายต่อผู้ป่วย