SlideShare a Scribd company logo
ผู้จัดทำ
นำย วรัญญู ประทิศ ม.5/4 เลขที่1
นำย กองทัพ เอกวิไล ม.5/4 เลขที่2
 หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ( Secondary Storage Device ) การทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์
นั้น เมื่อต้องการเก็บบันทึกข้อมูล หรือกลุ่มคาสั่งต่าง ๆ ไว้ใช้ในอนาคตจะไม่สามารถเก็บ
ไว้ในหน่วยความจาหลักได้ เนื่องจากไม่มีพื้นที่เพียงพอ อีกทั้งข้อมูลที่เก็บจะหายไปเมื่อ
ปิดเครื่อง หากต้องการเก็บข้อมูลที่มากขึ้นและเอาไว้ใช้ประโยชน์ในภายหลัง ก็จาเป็นต้อง
หาอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เช่น หน่วยเก็บข้อมูลสารอง หรือที่
เรียกว่า secondary storage
 1. สื่อเก็บข้อมูลแบบจำนแม่เหล็ก ( Magnetic Disk device ) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลประเภทที่ใช้งานเป็น
ลักษณะของจานบันทึก (disk ) ซึ่งมีหลายประเภทดังนี้
 1.1 ฟล็อปปี้ดิสก์ ( Floppy disks ) สื่อเก็บบันทึกข้อมูลที่ได้รับความนิยมและใช้งานอย่างแพร่หลายสามารถหา
ซื้อใช้ได้ตามร้านขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั่วไป นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ดิสเก็ตต์( diskette ) หรือแผ่นดิสก์การเก็บ
ข้อมูลจะมีจานบันทึก ซึ่งเป็นวัสดุอ่อนจาพวกพลาสติกที่เคลือบสารแม่เหล็กอยู่ด้านในและห่อหุ้มด้วยกรอบพลาสติกแข็งอีก
ชั้นหนึ่ง แผ่นดิสก์ในอดีตจะมีขนาดจานบันทึกที่ใหญ่มากถึง5.25 นิ้ว ปัจจุบันไม่ได้รับความนิยมและเลิกใช้งานแล้วจะเห็นได้
เฉพาะขนาด 3.5 นิ้วแทน ซึ่งมีขนาดเล็กและพกพาสะดวกกว่าโครงสร้างการทางานของแผ่นดิสก์จะต้องมีการจัดข้อมูลโดยการ
ฟอร์แมต ( format ) เมื่อใช้ครั้งแรกก่อนทุกครั้ง (ปัจจุบันบริษัทผู้ผลิตมักจะมีการฟอร์แมตแผ่นมาตั้งแต่อยู่ใน
กระบวนการผลิตแล้ว (ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องทาการฟอร์แมตก่อนใช้งานซ้าอีก)การฟอร์แมตเป็นกระบวนการจัดพื้นที่เก็บ
ไฟล์ข้อมูลก่อนใช้งานหรือพูดง่ายๆ ก็คือ เป็นการเตรียมพื้นที่สาหรับเก็บบันทึกข้อมูลนั่นเอง โครงสร้างของแผ่นจานแม่เหล็ก
เมื่อทาการฟอร์แมตแล้วจะมีลักษณะดังนี้
1.2 ฮำร์ดดิสก์ ( Hard disks ) เป็นอุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูลที่มี
โครงสร้างคล้ายกับดิสเก็ตต์ แต่จุข้อมูลมากกว่าและมีความเร็ว
ในการเข้าถึงข้อมูลสูงกว่า ส่วนใหญ่จะถูกติดตั้งอยู่ภายใน
เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้สาหรับเก็บตัวโปรแกรม
ระบบปฏิบัติการ ( operating system ) รวมถึงโปรแกรม
ประยุกต์อื่น ๆ ฮาร์ดดิสก์ผลิตมาจากวัสดุแบบแข็งจานวนหลาย
แผ่นวางเรียงต่อกันเป็นชั้น จานแม่เหล็กแต่ละจาน เรียกว่า
แพลตเตอร์ ( platter ) ซึ่งอาจจะมีจานวนต่างกันได้ในฮาร์ดดิสก์
แต่ละรุ่น
2.สื่อเก็บข้อมูลแสง ( Optical Storage Device )
เป็นสื่อเก็บข้อมูลสำรองที่ได้รับควำมนิยมมำกใน
ปัจจุบัน ซึ่งใช้หลักกำรทำงำนของแสงเข้ำมำช่วย กำร
จัดเก็บข้อมูลจะคล้ำยกับแผ่นจำนแม่เหล็ก
แต่ต่ำงกันที่กำรแบ่งวงของแทรคจะแบ่งเป็นลักษณะ
คล้ำยรูปก้นหอยและเริ่มเก็บ
บันทึกข้อมูลจำกส่วนด้ำนในออกมำด้ำนนอก และ
แบ่งส่วนย่อยของแทรคออกเป็นเซกเตอร์เช่นเดียวกัน
กับแผ่นจำนแม่เหล็ก
 2.1 CD (Compact Disc) เป็นสื่อเก็บข้อมูลด้วยแสงแบบแรกที่ไดรับความนิยมอย่างแพร่หลายและปัจจุบันก็
ยังเป็นที่นิยมอยู่เนื่องจากมีราคาถูกลงกว่าสมัยก่อนมากซึ่งแยกออกได้ดังนี้
 CD-ROM (Compact disc read only memory) เป็นสื่อเก็บบันทึกข้อมูลที่นิยมใช้สาหรับการเก็บ
บันทึกข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการหรือโปรแกรมประยุกต์เพื่อใช้สาหรับติดตั้งในคอมพิวเตอร์รวมถึงเก็บ
ผลงานไฟล์มัลติมีเดียโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( CAI – computer assisted instruction
) หรือ CD-Training ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียวแต่ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลซ้าได้สามารถจุข้อมูลได้
ถึง 650-750 MB โดยมากแล้วจะเป็นแผ่นที่ปั๊มมาจากโรงงานหรือบริษัทผู้ผลิตมาแล้ว
 CD-RW (Compact disc rewritable) แผ่นชนิดนี้มีลักษณะหน้าตาเหมือนกับแผ่นCD-R ทุกประการแต่
มีข้อดีกว่าคือ นอกจากเขียนบันทึกข้อมูลได้หลายครั้งแล้ว ยังสามารถลบข้อมูลและเขียนซ้าใหม่ได้เรื่อยๆ เหมือนกับการบันทึก
และเขียนซ้าของดิสเก็ตต์อย่างไรก็ตามแผ่น CD-RW ขณะนี้ยังมีราคาสูงกว่า CD-R อยู่พอสมควร จึงเหมาะสาหรับผู้ที่
ต้องการบันทึกข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อยและเก็บข้อมูลไว้ในระยะเวลาอันสั้นไม่ถาวร ซึ่งจะช่วยทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายไป
ได้มาก เพราะสามารถลบทิ้งแล้วเขียนใหม่อีกได้ถึงกว่าพันครั้ง
 3. สื่อเก็บข้อมูลอื่น ๆ ( Other Storage Device )
 อุปกรณ์หน่วนความจาแบบแฟรช ( Flash memory device ) ปัจจุบันนามาใช้บันทึกแทนสื่อเก็บข้อมูลแบบ
ดิสเก็ตต์มากขึ้น เพราะจุข้อมูลได้มากกว่า นิยมใช้กับเครื่องพีซีและคอมพิวเตอร์แบบพกพาทั่วไปมีชื่อเรียกแตกต่างกัน
เช่น flash drive, thumb driveหรือ handy drive โดยสามารถต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์และอ่าน
ค่าข้อมูลนั้นได้โดยตรง
 อุปกรณ์หน่วยความจาแบบแฟรชนี้อาจอยู่ในรูปแบบของ memory card ที่ใช้สาหรับจัดเก็บข้อมูลประเภทภาพถ่าย
หรือข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ในอุปกรณ์ดิจิตอลแบบพกพาทั้งหลายเช่น กล้องถ่ายรูปดิจิตอลหรือพีดีเอซึ่งมีหลายฟอร์แมต(ดังรูป)
เช่นอ Compact Flash (CF), SmartMedia ( เลิกผลิตแล้ว),Secure
Digital และ Multimedia Memory Card (SD/MMC ซึ่งมีขนาดเท่ากัน) และ Memory
Stick โดยการอ่านข้อมูลอาจใช้อุปกรณ์ดิจิตอลนั้นต่อพ่วงเข้ากับคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือใช้อุปกรณ์พิเษษที่เรียกว่า card
reader ช่วยอ่านข้อมูลที่เก็บอยู่ภายในได้เช่นเดียวกัน
หน่วยเก็บข้อมูล
https://www.youtube.com/watch?v=ekj5ogtQDdE
อ้ำงอิง
http://friendsbcom51.blogspot.com/2012/02/input
-device.html

More Related Content

What's hot

หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)
หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)
หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)Supaksorn Tatongjai
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
Cookie Bomber
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
Yoshikuni Yuusuke
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
Yoshikuni Yuusuke
 
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
The'King NuZa
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
chayatorn sarathana
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
Pongsakorn Chawrad
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
Pongsakorn Chawrad
 
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูลใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
Angkan Mahawan
 
Onet-work4-44
Onet-work4-44Onet-work4-44
Onet-work4-44
jiratha borisut
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
vipharat
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
Chinaphop Viriyakit
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
chayatorn sarathana
 
Magnetic disks
Magnetic disksMagnetic disks
Magnetic disks
pakkapon petprasit
 
Unit4 slide
Unit4 slideUnit4 slide
Unit4 slide
Student59001
 

What's hot (18)

หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)
หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)
หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
 
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไขงานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
 
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูลใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
 
Work12
Work12Work12
Work12
 
Devices
DevicesDevices
Devices
 
Onet-work4-44
Onet-work4-44Onet-work4-44
Onet-work4-44
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
 
Magnetic disks
Magnetic disksMagnetic disks
Magnetic disks
 
Unit4 slide
Unit4 slideUnit4 slide
Unit4 slide
 

Viewers also liked

Norsk bibliotekindeks
Norsk bibliotekindeksNorsk bibliotekindeks
Norsk bibliotekindeks
Jannicke Røgler
 
5' S
5' S5' S
Spasticity
SpasticitySpasticity
Spasticity
ThomasUnivalor
 
Rashid's presentaition
Rashid's presentaitionRashid's presentaition
Rashid's presentaition
Rashoodxb
 
How to use the LearningTimes Bb Collaborate Webheads Virtual Office
How to use the LearningTimes Bb Collaborate Webheads Virtual OfficeHow to use the LearningTimes Bb Collaborate Webheads Virtual Office
How to use the LearningTimes Bb Collaborate Webheads Virtual Office
Vance Stevens
 
Numerical Weather Prediction
Numerical Weather PredictionNumerical Weather Prediction
Numerical Weather Prediction
Sourav Kumar Mund
 
Education - K 12 STEM Education - LEAD:WNC 2014
Education - K 12 STEM Education - LEAD:WNC 2014Education - K 12 STEM Education - LEAD:WNC 2014
Education - K 12 STEM Education - LEAD:WNC 2014
LEAD:WNC
 
ESTRUCTURA DE UN PROGRAMA
ESTRUCTURA DE UN PROGRAMA ESTRUCTURA DE UN PROGRAMA
ESTRUCTURA DE UN PROGRAMA
Danny Paredes Cruz
 
Causative Factor(s) of Agglomeration Observed for Lots of Lorcaserin Hydrochl...
Causative Factor(s) of Agglomeration Observed for Lots of Lorcaserin Hydrochl...Causative Factor(s) of Agglomeration Observed for Lots of Lorcaserin Hydrochl...
Causative Factor(s) of Agglomeration Observed for Lots of Lorcaserin Hydrochl...
Alani Selvey
 
Three generations of systems and design thinking
Three generations of systems and design thinkingThree generations of systems and design thinking
Three generations of systems and design thinking
Alex Ryan
 
Codigo matlab Secante
Codigo matlab SecanteCodigo matlab Secante
Codigo matlab Secante
Tensor
 
Ma vie de courgette
Ma vie de courgetteMa vie de courgette
Ma vie de courgette
Francisca50
 
Technology-Driven Disruptions in the Near Future
Technology-Driven Disruptions in the Near FutureTechnology-Driven Disruptions in the Near Future
Technology-Driven Disruptions in the Near Future
Larry Smarr
 
API’s and Identity: Enabling Optum to become the HealthCare cloud
API’s and Identity: Enabling Optum to become the HealthCare cloudAPI’s and Identity: Enabling Optum to become the HealthCare cloud
API’s and Identity: Enabling Optum to become the HealthCare cloud
CA Technologies
 

Viewers also liked (18)

Norsk bibliotekindeks
Norsk bibliotekindeksNorsk bibliotekindeks
Norsk bibliotekindeks
 
metamorfose
metamorfosemetamorfose
metamorfose
 
5' S
5' S5' S
5' S
 
Spasticity
SpasticitySpasticity
Spasticity
 
Rashid's presentaition
Rashid's presentaitionRashid's presentaition
Rashid's presentaition
 
How to use the LearningTimes Bb Collaborate Webheads Virtual Office
How to use the LearningTimes Bb Collaborate Webheads Virtual OfficeHow to use the LearningTimes Bb Collaborate Webheads Virtual Office
How to use the LearningTimes Bb Collaborate Webheads Virtual Office
 
Numerical Weather Prediction
Numerical Weather PredictionNumerical Weather Prediction
Numerical Weather Prediction
 
Education - K 12 STEM Education - LEAD:WNC 2014
Education - K 12 STEM Education - LEAD:WNC 2014Education - K 12 STEM Education - LEAD:WNC 2014
Education - K 12 STEM Education - LEAD:WNC 2014
 
ESTRUCTURA DE UN PROGRAMA
ESTRUCTURA DE UN PROGRAMA ESTRUCTURA DE UN PROGRAMA
ESTRUCTURA DE UN PROGRAMA
 
Causative Factor(s) of Agglomeration Observed for Lots of Lorcaserin Hydrochl...
Causative Factor(s) of Agglomeration Observed for Lots of Lorcaserin Hydrochl...Causative Factor(s) of Agglomeration Observed for Lots of Lorcaserin Hydrochl...
Causative Factor(s) of Agglomeration Observed for Lots of Lorcaserin Hydrochl...
 
Three generations of systems and design thinking
Three generations of systems and design thinkingThree generations of systems and design thinking
Three generations of systems and design thinking
 
Codigo matlab Secante
Codigo matlab SecanteCodigo matlab Secante
Codigo matlab Secante
 
Visninger
VisningerVisninger
Visninger
 
Skrive notater
Skrive notaterSkrive notater
Skrive notater
 
O365 portalen
O365 portalenO365 portalen
O365 portalen
 
Ma vie de courgette
Ma vie de courgetteMa vie de courgette
Ma vie de courgette
 
Technology-Driven Disruptions in the Near Future
Technology-Driven Disruptions in the Near FutureTechnology-Driven Disruptions in the Near Future
Technology-Driven Disruptions in the Near Future
 
API’s and Identity: Enabling Optum to become the HealthCare cloud
API’s and Identity: Enabling Optum to become the HealthCare cloudAPI’s and Identity: Enabling Optum to become the HealthCare cloud
API’s and Identity: Enabling Optum to become the HealthCare cloud
 

Similar to การสำรองข้อมูล

หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
Chinaphop Viriyakit
 
Tape backup
Tape backupTape backup
Tape backup
spans pan
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
spans pan
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
Karn Ung-Anothai
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
Pongsakorn Chawrad
 
Devices
DevicesDevices
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
รัสนา สิงหปรีชา
 
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 3
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 3คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 3
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 3Chaiyaporn Puttachot
 
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4Kru Jhair
 
หน่วยความจำหลัก (Power)_Present 4-7 (Group3)
หน่วยความจำหลัก (Power)_Present 4-7 (Group3)หน่วยความจำหลัก (Power)_Present 4-7 (Group3)
หน่วยความจำหลัก (Power)_Present 4-7 (Group3)Supaksorn Tatongjai
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์1อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์1Pirapap Vongsumran
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
Mark'k Stk
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Pirapap Vongsumran
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Pirapap Vongsumran
 
หน่วยความจำ
หน่วยความจำหน่วยความจำ
หน่วยความจำ
pakkapon petprasit
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
มยุรี แย้มจันทร์ฉาย
 

Similar to การสำรองข้อมูล (17)

หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
 
Tape backup
Tape backupTape backup
Tape backup
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
อุปกรณ์สำรองข้อมูล 2
 
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไขงานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
 
Devices
DevicesDevices
Devices
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 3
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 3คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 3
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 3
 
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
 
หน่วยความจำหลัก (Power)_Present 4-7 (Group3)
หน่วยความจำหลัก (Power)_Present 4-7 (Group3)หน่วยความจำหลัก (Power)_Present 4-7 (Group3)
หน่วยความจำหลัก (Power)_Present 4-7 (Group3)
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์1อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์1
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
หน่วยความจำ
หน่วยความจำหน่วยความจำ
หน่วยความจำ
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 

การสำรองข้อมูล

  • 1.
  • 2. ผู้จัดทำ นำย วรัญญู ประทิศ ม.5/4 เลขที่1 นำย กองทัพ เอกวิไล ม.5/4 เลขที่2
  • 3.  หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ( Secondary Storage Device ) การทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ นั้น เมื่อต้องการเก็บบันทึกข้อมูล หรือกลุ่มคาสั่งต่าง ๆ ไว้ใช้ในอนาคตจะไม่สามารถเก็บ ไว้ในหน่วยความจาหลักได้ เนื่องจากไม่มีพื้นที่เพียงพอ อีกทั้งข้อมูลที่เก็บจะหายไปเมื่อ ปิดเครื่อง หากต้องการเก็บข้อมูลที่มากขึ้นและเอาไว้ใช้ประโยชน์ในภายหลัง ก็จาเป็นต้อง หาอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เช่น หน่วยเก็บข้อมูลสารอง หรือที่ เรียกว่า secondary storage
  • 4.  1. สื่อเก็บข้อมูลแบบจำนแม่เหล็ก ( Magnetic Disk device ) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลประเภทที่ใช้งานเป็น ลักษณะของจานบันทึก (disk ) ซึ่งมีหลายประเภทดังนี้  1.1 ฟล็อปปี้ดิสก์ ( Floppy disks ) สื่อเก็บบันทึกข้อมูลที่ได้รับความนิยมและใช้งานอย่างแพร่หลายสามารถหา ซื้อใช้ได้ตามร้านขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั่วไป นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ดิสเก็ตต์( diskette ) หรือแผ่นดิสก์การเก็บ ข้อมูลจะมีจานบันทึก ซึ่งเป็นวัสดุอ่อนจาพวกพลาสติกที่เคลือบสารแม่เหล็กอยู่ด้านในและห่อหุ้มด้วยกรอบพลาสติกแข็งอีก ชั้นหนึ่ง แผ่นดิสก์ในอดีตจะมีขนาดจานบันทึกที่ใหญ่มากถึง5.25 นิ้ว ปัจจุบันไม่ได้รับความนิยมและเลิกใช้งานแล้วจะเห็นได้ เฉพาะขนาด 3.5 นิ้วแทน ซึ่งมีขนาดเล็กและพกพาสะดวกกว่าโครงสร้างการทางานของแผ่นดิสก์จะต้องมีการจัดข้อมูลโดยการ ฟอร์แมต ( format ) เมื่อใช้ครั้งแรกก่อนทุกครั้ง (ปัจจุบันบริษัทผู้ผลิตมักจะมีการฟอร์แมตแผ่นมาตั้งแต่อยู่ใน กระบวนการผลิตแล้ว (ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องทาการฟอร์แมตก่อนใช้งานซ้าอีก)การฟอร์แมตเป็นกระบวนการจัดพื้นที่เก็บ ไฟล์ข้อมูลก่อนใช้งานหรือพูดง่ายๆ ก็คือ เป็นการเตรียมพื้นที่สาหรับเก็บบันทึกข้อมูลนั่นเอง โครงสร้างของแผ่นจานแม่เหล็ก เมื่อทาการฟอร์แมตแล้วจะมีลักษณะดังนี้
  • 5. 1.2 ฮำร์ดดิสก์ ( Hard disks ) เป็นอุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูลที่มี โครงสร้างคล้ายกับดิสเก็ตต์ แต่จุข้อมูลมากกว่าและมีความเร็ว ในการเข้าถึงข้อมูลสูงกว่า ส่วนใหญ่จะถูกติดตั้งอยู่ภายใน เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้สาหรับเก็บตัวโปรแกรม ระบบปฏิบัติการ ( operating system ) รวมถึงโปรแกรม ประยุกต์อื่น ๆ ฮาร์ดดิสก์ผลิตมาจากวัสดุแบบแข็งจานวนหลาย แผ่นวางเรียงต่อกันเป็นชั้น จานแม่เหล็กแต่ละจาน เรียกว่า แพลตเตอร์ ( platter ) ซึ่งอาจจะมีจานวนต่างกันได้ในฮาร์ดดิสก์ แต่ละรุ่น
  • 6. 2.สื่อเก็บข้อมูลแสง ( Optical Storage Device ) เป็นสื่อเก็บข้อมูลสำรองที่ได้รับควำมนิยมมำกใน ปัจจุบัน ซึ่งใช้หลักกำรทำงำนของแสงเข้ำมำช่วย กำร จัดเก็บข้อมูลจะคล้ำยกับแผ่นจำนแม่เหล็ก แต่ต่ำงกันที่กำรแบ่งวงของแทรคจะแบ่งเป็นลักษณะ คล้ำยรูปก้นหอยและเริ่มเก็บ บันทึกข้อมูลจำกส่วนด้ำนในออกมำด้ำนนอก และ แบ่งส่วนย่อยของแทรคออกเป็นเซกเตอร์เช่นเดียวกัน กับแผ่นจำนแม่เหล็ก
  • 7.  2.1 CD (Compact Disc) เป็นสื่อเก็บข้อมูลด้วยแสงแบบแรกที่ไดรับความนิยมอย่างแพร่หลายและปัจจุบันก็ ยังเป็นที่นิยมอยู่เนื่องจากมีราคาถูกลงกว่าสมัยก่อนมากซึ่งแยกออกได้ดังนี้
  • 8.  CD-ROM (Compact disc read only memory) เป็นสื่อเก็บบันทึกข้อมูลที่นิยมใช้สาหรับการเก็บ บันทึกข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการหรือโปรแกรมประยุกต์เพื่อใช้สาหรับติดตั้งในคอมพิวเตอร์รวมถึงเก็บ ผลงานไฟล์มัลติมีเดียโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( CAI – computer assisted instruction ) หรือ CD-Training ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียวแต่ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลซ้าได้สามารถจุข้อมูลได้ ถึง 650-750 MB โดยมากแล้วจะเป็นแผ่นที่ปั๊มมาจากโรงงานหรือบริษัทผู้ผลิตมาแล้ว
  • 9.  CD-RW (Compact disc rewritable) แผ่นชนิดนี้มีลักษณะหน้าตาเหมือนกับแผ่นCD-R ทุกประการแต่ มีข้อดีกว่าคือ นอกจากเขียนบันทึกข้อมูลได้หลายครั้งแล้ว ยังสามารถลบข้อมูลและเขียนซ้าใหม่ได้เรื่อยๆ เหมือนกับการบันทึก และเขียนซ้าของดิสเก็ตต์อย่างไรก็ตามแผ่น CD-RW ขณะนี้ยังมีราคาสูงกว่า CD-R อยู่พอสมควร จึงเหมาะสาหรับผู้ที่ ต้องการบันทึกข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อยและเก็บข้อมูลไว้ในระยะเวลาอันสั้นไม่ถาวร ซึ่งจะช่วยทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายไป ได้มาก เพราะสามารถลบทิ้งแล้วเขียนใหม่อีกได้ถึงกว่าพันครั้ง
  • 10.  3. สื่อเก็บข้อมูลอื่น ๆ ( Other Storage Device )  อุปกรณ์หน่วนความจาแบบแฟรช ( Flash memory device ) ปัจจุบันนามาใช้บันทึกแทนสื่อเก็บข้อมูลแบบ ดิสเก็ตต์มากขึ้น เพราะจุข้อมูลได้มากกว่า นิยมใช้กับเครื่องพีซีและคอมพิวเตอร์แบบพกพาทั่วไปมีชื่อเรียกแตกต่างกัน เช่น flash drive, thumb driveหรือ handy drive โดยสามารถต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์และอ่าน ค่าข้อมูลนั้นได้โดยตรง
  • 11.  อุปกรณ์หน่วยความจาแบบแฟรชนี้อาจอยู่ในรูปแบบของ memory card ที่ใช้สาหรับจัดเก็บข้อมูลประเภทภาพถ่าย หรือข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ในอุปกรณ์ดิจิตอลแบบพกพาทั้งหลายเช่น กล้องถ่ายรูปดิจิตอลหรือพีดีเอซึ่งมีหลายฟอร์แมต(ดังรูป) เช่นอ Compact Flash (CF), SmartMedia ( เลิกผลิตแล้ว),Secure Digital และ Multimedia Memory Card (SD/MMC ซึ่งมีขนาดเท่ากัน) และ Memory Stick โดยการอ่านข้อมูลอาจใช้อุปกรณ์ดิจิตอลนั้นต่อพ่วงเข้ากับคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือใช้อุปกรณ์พิเษษที่เรียกว่า card reader ช่วยอ่านข้อมูลที่เก็บอยู่ภายในได้เช่นเดียวกัน