SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
บรูไนดารุสซาลาม
(Brunei Darussalam)
สีเหลืองหมายถึง พระมหากษัตริย์ของประเทศบรูไน ดารุสซาลาม
– สีขาว และสีดาที่พาดทแยงมุมบนตัวธง หมายถึง มุขมนตรีหรือรัฐมนตรี
ภายในประเทศ
– ตราสัญลักษณ์แผ่นดินของประเทศบรูไน ซึ่งประทับตราตรงกลางธงชาติ
หมายถึง ความมีสันติภาพ ความเจริญรุ่งเรือง และสัญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม
ภายในประเทศบรูไน ดารุสซาลาม
ชื่อทางการ : เนการา บรูไน ดารุสซาลาม
(Negara Brunei Darussalam )
แปลว่า ดินแดนแห่งความสงบสุข
ที่ตั้ง : ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียวในทะเลจีนใต้
ทิศตะวันออก ตะวันตกและทิศใต้ติดเขตซาราวัก ประเทศมาเลเซีย
พื้นที่
5,765 ตารางกิโลเมตร ความยาวชายฝั่งทะเล 161 กิโลเมตร
แบ่งเป็น 4 เขต คือ Brunei-Muara, Belait, Temburong
และ Tutong
เมืองหลวง
บันดาร์เสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan) อยู่ในเขต Brunei-Muara
ประชากร 415,717 คน ( 2555)
เชื้อชาติ มาเลย์ 250,967 คน (ร้อยละ 67)
จีน 56,187 คน (ร้อยละ 15)
และอื่นๆ 67,424 คน (ร้อยละ 18)
อัตราการเติบโตของประชากร 3.5 % ต่อปี
สัญชาติ:ชาวบรูไน (Bruneian)
ศาสนา: ศาสนาประจาชาติ คือ อิสลาม 67% และศาสนาอื่น
ได้แก่ พุทธ 13% คริสต์ 10% และอื่นๆ 10%
ภาษา: ภาษามาเลย์ (Malay หรือ Bahasa Melayu)
เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็น ภาษาอังกฤษ และจีน
ทรัพยากรธรรมชาติ ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ ไม้ซุง
สกุลเงิน : ดอลลาร์บรูไน (Brunei Dollar : BND)
อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ
(ซื้อ) 25.41 บาท/ 1 ดอลลาร์บรูไน
(ขาย) 25.41 บาท/ 1 ดอลลาร์บรูไน
วันสาคัญ
วันประกาศอิสรภาพ 1 มกราคม พ.ศ.2527
วันคล้ายวันประสูติสมเด็จพระราชาธิบดีฯ 15 กรกฎาคม
ระบอบการปกครอง : สมบูรณาญาสิทธิราชย์
โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีฮัจญี ฮัสซานัลโบลเกียห์ มูอิซซัดดิน
วัดเดาละห์ (His Majesty Sultan Haji Hassanal
Bolkiah Mu’izzaddin Waddaulah)
ทรงเป็นองค์พระประมุขของประเทศตั้งแต่วันที่ 5 ตุลาคม
2510
ประเทศบรูไนดารุสซาลาม ได้เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนเมื่อวันที่ 8 มกราคม
พ.ศ. 2527
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจบรูไน
ระบบเศรษฐกิจของบรูไนเป็นแบบตลาดเสรี ภายใต้การดูแลของรัฐ รายได้หลักของ
ประเทศมาจากน้ามัน ประมาณ 48% และก๊าซธรรมชาติ ประมาณ 43% นับเป็นประเทศ
ผู้ผลิตน้ามันรายใหญ่อันดับ 4 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากอินโดนีเซีย เวียดนาม
และมาเลเซีย คือประมาณ 2 แสนบาร์เรลต่อวัน และผลิตก๊าซธรรมชาติได้มากเป็น
อันดับ 4 ของโลก คือประมาณ 1.2 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน โดยมีบริษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ
(Brunei National Petroleum Company Sedirian Berhad หรือ
Petroleum Brunei) ซึ่งจัดตั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2544 เป็นหน่วยงานกาหนด
นโยบายน้ามันและก๊าซ โดยมุ่งเน้นสร้างความมั่งคั่งด้วยการนารายได้จากน้ามันไปลงทุน
ในต่างประเทศ หรือร่วมทุนกับต่างประเทศ โดยดาเนินการผ่าน Brunei
Investment Agency (BIA) ในรูปการถือหุ้นหรือซื้อพันธบัตรในยุโรป สหรัฐฯ
ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และเวียดนาม โดยส่วนใหญ่อาศัยผู้เชี่ยวชาญจากสิงคโปร์เป็นผู้ให้
คาปรึกษา
เนื่องจากสินค้าส่งออกหลักของบรูไน คือ น้ามันและก๊าซธรรมชาติ (ส่งออกถึงร้อย
ละ 90 ของการส่งออกทั้งหมด) ทาให้บรูไนมีดุลการค้าเกินดุลมาโดยตลอด สินค้าส่วนใหญ่
ส่งออกไปยังญี่ปุ่น อังกฤษ ไทย สิงคโปร์ ไต้หวัน สหรัฐ ฟิลิปปินส์ และสาธารณรัฐเกาหลี
ตามลาดับ ในขณะที่สินค้านาเข้าส่วนใหญ่มาจากสิงคโปร์ อังกฤษ สหรัฐฯ และมาเลเซีย
โดยเป็นสินค้าประเภทเครื่องจักรอุตสาหกรรม รถยนต์ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ และ
สินค้าเกษตร เช่น ข้าวและผลไม้
บรูไนมีอุตสาหกรรมอื่นนอกเหนือจากน้ามันและก๊าซธรรมชาติอยู่บ้าง ได้แก่ การผลิตอาหาร
เครื่องมือ และเสื้อผ้า เพื่อส่งออกไปยังประเทศในยุโรปและอเมริกา ทั้งนี้รัฐบาลบรูไนมุ่งที่
จะพัฒนาอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารและผลิตเครื่องดื่ม เสื้อผ้าและสิ่งทอ เฟอร์นิเจอร์ที่
ทาจากไม้ วัสดุก่อสร้างที่ไม่ใช่โลหะ กระจกรถยนต์ เป็นต้น แต่ยังคงประสบอุปสรรคด้าน
การขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะช่างฝีมือ ซึ่งต้องอาศัยแรงงานจากต่างประเทศเป็นหลัก
และตลาดภายในประเทศที่มีขนาดเล็ก
นโยบายเศรษฐกิจ
ปัจจุบัน รัฐบาลกาลังพยายามพัฒนาภาคเศรษฐกิจอื่นเพื่อเปลี่ยนแปลงจาก
เศรษฐกิจที่พึ่งพาน้ามันและก๊าซเป็นหลักไปสู่โครงสร้างทางเศรษฐกิจที่มีความ
หลากหลายมากขึ้น เนื่องจากมีการคาดการณ์ว่า ปริมาณน้ามันสารองที่ยืนยันแล้ว
(proven reserve) ของบรูไนจะหมดลงในราวปี 2558ประกอบกับภาวะ
เศรษฐกิจถดถอยในเอเชียตั้งแต่ปี 2543 ทาให้บรูไนเร่งปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
และใช้มาตรการต่างๆเพื่อสร้างความหลากหลายทางเศรษฐกิจ
1.จัดตั้งสภาที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจนาโดยเจ้าชายโมฮาเหม็ดโบลเกียห์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศโดยมีแนวทางในการส่งเสริมให้
ภาคเอกชนมีบทบาทมากขึ้นในการพัฒนาเศรษฐกิจ
2. ปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ จากเดิมที่เน้นนโยบายการให้สวัสดิการ
มาเป็นการส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศและการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
โดยให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น และมีการขยายฐานการจัดเก็บ
ภาษี
3. ปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์การลงทุนในต่างประเทศของ BIA โดยหันมาลงทุนใน
ธุรกิจด้านใหม่ๆที่มีความเสี่ยงต่า เช่น การซื้อหุ้นในกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศและ
โทรคมนาคม หรือธุรกิจสายการบิน
4. ตามแผนพัฒนาประเทศฉบับที่ 8 (The Eighth National Development Plan:
8th NDP)ซึ่งดาเนินการระหว่างปี 2544-2548 รัฐบาลบรูไนได้ตั้งเป้าหมายอัตราการเติบโตของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ที่ 5-6% โดยเน้นการสร้างสมดุลของงบประมาณให้ดีขึ้น
และกาหนดมาตรการในการพัฒนาและฟื้นฟูเศรษฐกิจแบบยั่งยืน สร้างการขยายตัวและความเข้มแข็ง
ให้กับอุตสาหกรรมน้ามันและก๊าซ รวมทั้งการพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ พัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคม และทรัพยากรมนุษย์รวมทั้งอุตสาหกรรมขนาดกลางและเล็ก ขยายความร่วมมือระหว่าง
ภาครัฐและเอกชน แปรรูปรัฐวิสาหกิจบางกิจการ และสร้างความแข็งแกร่งในระบบการเงินและการ
คลัง นอกจากนี้ ยังยึดแนวคิดของระบบธรรมาภิบาล (Good Governance) และมุ่งเน้นการ
เสริมสร้างความแข็งแกร่งของภาคเอกชน
5. ส่งเสริมการลงทุนร่วมกับต่างชาติ สนับสนุนการเปิดเสรีการค้า และสร้าง
บรรยากาศการลงทุนที่เอื้ออานวยความสะดวกต่อนักลงทุนทั้งภายในและ
ต่างประเทศ
6. พัฒนาประเทศให้เป็นศูนย์กลางการค้าและการท่องเที่ยว (Service Hub for Trade
and Tourism – SHuTT 2003 Vision) และตั้งเป้าหมายในการเป็นศูนย์กลางการขนถ่าย
สินค้าที่สาคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งเป็นเป้าหมายหนึ่งในโครงการความร่วมมือของ
กลุ่มBrunei Indonesia Malaysia Philippines – East ASEAN Growth
Area (BIMP-EAGA)
7. สร้างความเข้มแข็งของระบบการเงิน เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศและเอื้ออานวยต่อ
โครงการพัฒนาเศรษฐกิจและสาธารณูปโภคพื้นฐาน และกาหนดแผนพัฒนาประเทศให้เป็น
ศูนย์กลางด้านการเงินระหว่างประเทศ (Brunei International Financial
Center: BIFC) เพื่อพัฒนาการให้บริการทางการเงินระหว่างประเทศ กระจายความ
หลากหลายทางเศรษฐกิจ และสร้างโอกาสในการทางานให้กับประชาชน
นอกจากนี้ รัฐบาลยังส่งเสริมการพัฒนาของภาคเอกชนซึ่งถือเป็นแกนหลักในการบรรลุ
เป้าหมายทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยได้ออกกฎหมาย Investment Incentive
Act (1975) และได้จัดตั้งกระทรวงอุตสาหกรรมและทรัพยากรพื้นฐาน (Ministry
of Industry and Primary Resources)ในปี2532 ทั้งนี้ รัฐบาลมีเป้าหมายที่
จะดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ โดยการให้สิทธิประโยชน์ด้านการลงทุนแก่ธุรกิจตลอด
ทั้งวงจร ตั้งแต่ช่วงเริ่มจัดตั้ง ช่วงการเจริญเติบโต ช่วงอิ่มตัว และช่วงขยายงาน โดยกิจกรรม
ทางอุตสาหกรรม สามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ
1. อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงทางอาหารแห่งชาติ
2. อุตสาหกรรมสาหรับตลาดภายในประเทศ
3. อุตสาหกรรมที่ใช้ทรัพยากรภายในประเทศ
4. อุตสาหกรรมเพื่อตลาดส่งออก
Brunei
Vision(วิสัยทัศน์)
• ก่อนการกาหนดวิสัยทัศน์แห่งบรูไน ได้มีการสารวจ วิเคราะห์ตามภาวะการ
แข่งขันที่รุนแรงในตลาดโลก โดยเฉพาะหลังจากที่จีนและเวียดนามประสบ
ความสาเร็จอย่างสูงในการเข้าสู่ตลาดการค้าเสรี การเพิ่มขีดความสามารถ
ในการแข่งขันของบรูไนจึงเป็นสิ่งจาเป็น และหนทางหนึ่งคือ การขยายฐาน
การผลิตไปต่างประเทศ จากการวิเคราะห์แบบ SWOTในภาพรวมถึง
ศักยภาพด้านการลงทุนของบรูไนในด้านจุดแข็ง จุดอ่อนโอกาส และ
อุปสรรค มีข้อสรุปดังนี้
จุดแข็ง
• บรูไนเป็นประเทศที่มีกาลังซื้อสูงและมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจรัฐบาลพยายามที่
จะผลักดันให้มีโครงการต่างๆ เกิดขึ้นในภาคอุตสาหกรรมที่นอกเหนือจากน้ามัน
โดยเฉพาะภาคการค้าปลีก และการค้าส่ง การก่อสร้างและการคมนาคมขนส่ง
โดยหวังว่าอุตสาหกรรมเหล่านี้จะมีส่วนผลักดันเศรษฐกิจของประเทศต่อไปใน
อนาคต
จุดอ่อน
• ขั้นตอนและกระบวนการสั่งซื้อ และการขนส่งสินค้าของบรูไนไม่ค่อยคล่องตัว
โดยเฉพาะบริษัทขนาดใหญ่ที่มีชาวสิงคโปร์ร่วมลงทุนอยู่ด้วย การนาเข้ามักจะ
ขึ้นอยู่กับนักธุรกิจสิงคโปร์ ซึ่งต้องมีการขนส่งผ่านทางสิงคโปร์ก่อน
โอกาส
• รัฐบาลมีนโยบายในการสนับสนุนด้านสาธารณูปโภคพื้นฐานอุปกรณ์ และการหา
ตลาด รวมถึงการให้กู้ยืมเงินทุนเพื่อการลงทุนและงดเว้นภาษี
อุปสรรค
• เรือบรรทุกสินค้าไปบรูไนมีสินค้าเฉพาะเที่ยวไป แต่ไม่มีสินค้าในเที่ยวกลับ ทาให้
ต้นทุนการขนส่งสินค้าเพิ่มสูงขึ้น
พันธกิจ
• เพิ่มประสิทธิภาพของผู้บริหาร การตัดสินใจจากรัฐบาลของสมเด็จ-พระราชาธิบดี
ในการแสวงหาความเป็นผู้นาที่ยอดเยี่ยม และการกากับดูแลที่ดีสาหรับการรักษา
ความปลอดภัยแห่งชาติ และการพัฒนาอย่างยั่งยืนในบริบทของปรัชญาชาว
มุสลิมมาเลย์
บทบาทและหน้าที่
• มีความเป็นมืออาชีพ และความสามารถในกระบวนการทานโยบาย
• ความมีประสิทธิภาพของผู้นาการบริหารในทุกกระทรวงและหน่วยงาน
• การประสานงานที่มีประสิทธิภาพ และการอานวยความสะดวกระหว่างหน่วยงาน
ทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมชน
วิสัยทัศน์ของบรูไน
• เน้นการหาวิธีการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยพึ่งพาเศรษฐกิจที่ไม่ใช่น้ามันทดแทน ซึ่ง
ในแผนฉบับนี้ตั้งเป้าให้บรูไนสามารถขึ้นติดอันดับหนึ่งในสิบของประเทศที่มี
GDP ต่อหัวสูงสุดในโลกภายในปี พ.ศ. 2578 จากปัจจุบันบรูไนติดอันดับที่ 30
รวมทั้งให้ความสาคัญกับการพัฒนาในระยะยาว ซึ่งกุญแจสาคัญอยู่ที่ด้าน
การศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อจากัดในการบรรลุวิสัยทัศน์ของบรูไน
• แม้ว่ารัฐบาลบรูไนจะเข้าใจถึงความจาเป็นในการสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
ในระยะยาว แต่การปฏิบัติก็ยังคงเป็นเรื่องยาก เช่น ด้านการท่องเที่ยว ซึ่งแม้บรูไน
จะมีศักยภาพในด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์แต่การเป็นประเทศมุสลิมแบบ
อนุรักษนิยมที่เข้มงวดต่อกฎระเบียบในการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ก็อาจส่งผล
ต่อความพยายามส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ และอากาศแบบเมืองร้อน
เป้าหมาย
• บรูไนดารุสซาลามมีเป้าหมายต้องการจะเห็นการได้รับการยอมรับจากทุกที่ใน
ความสาเร็จของผู้มีการศึกษา และทักษะสูงมีคุณภาพชีวิตที่ดี เศรษฐกิจมีการ
เติบโตเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีและอย่างยั่งยืนมีความจงรักภักดีต่อสุลต่าน
และประเทศบรูไน เชื่อในคุณค่าของศาสนาอิสลาม มีความอดทนและความ
สามัคคีในสังคม เพื่อตอบสนองความท้าทายและประสบความสาเร็จในปี
พ.ศ.2578 (ค.ศ. 2035)
ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ นโยบาย วิสัยทัศน์บรูไน พ.ศ. 2578
(Wawasan 2035)
• ยุทธศาสตร์การศึกษา ที่จะเตรียมเยาวชนสาหรับงานและความสาเร็จในโลกที่มี
การแข่งขัน และมีความรู้เป็นพื้นฐานเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
• ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ ที่จะสร้างเศรษฐกิจใหม่ให้แก่ประชากรและขยายโอกาส
ทางธุรกิจภายในประเทศบรูไน โดยการส่งเสริมการลงทุนทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ ทั้งด้านอุตสาหกรรมน้ามันและก๊าซธรรมชาติ และกลุ่มเศรษฐกิจ
นอกเหนือจากอุตสาหกรรมน้ามันและก๊าซธรรมชาติ
• ยุทธศาสตร์ความมั่นคง ที่จะคุ้มกันความมั่นคงทางการเมืองและอานาจ
อธิปไตยของประเทศ รวมทั้งสมรรถนะด้านการป้องกัน และการทูต สมรรถนะใน
การที่จะตอบโต้การคุกคามของโรคภัยและความหายนะทางธรรมชาติ
• ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบองค์การ ที่จะเสริมหลักธรรมมา-ภิบาลทั้งในภาค
สาธารณะและเอกชน รวมถึงการบริการสาธารณะที่มีคุณภาพสูง โครงสร้างการ
ควบคุมตามกฎหมายที่ปฏิบัติได้และทันสมัยและการดาเนินการของรัฐบาลที่มี
ประสิทธิภาพ ซึ่งลดทอนระบบราชการที่สลับซับซ้อน
• ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น ที่จะเสริมโอกาสให้แก่วิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดย่อม รวมทั้งช่วยให้ชาวบรูไนเชื้อสายมาเลย์สามารถบรรลุความ
เป็นผู้นาทางธุรกิจและอุตสาหกรรม โดยการพัฒนาความแข็งแกร่งด้านการแข่งขัน
เพิ่มมากขึ้น
• ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จะสร้างความมั่นใจว่าการลงทุนจะ
เป็นไปอย่างต่อเนื่อง โดยผ่านความร่วมมือระหว่างภาคสาธารณะและเอกชนใน
การพัฒนา และคงไว้ซึ่งโครงสร้างพื้นฐานระดับมาตรฐานโลก โดยให้ความสาคัญ
เป็นพิเศษด้านการศึกษา สุขภาพ และอุตสาหกรรม
• ยุทธศาสตร์การประกันสังคม ที่จะสร้างความมั่นใจว่าประเทศชาติจะรุ่งเรือง
ประชากรทั้งหมดจะได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเหมาะสม
• ยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม ที่จะสร้างความมั่นใจว่าธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และ
แหล่งที่อยู่ทางวัฒนธรรมจะได้รับการอนุรักษ์อย่างถูกต้องเหมาะสม ทั้งยังจะช่วย
ดูแลให้มีสุขภาพที่ดีและปลอดภัยสอดคล้องกับหลักการปฏิบัติของนานาประเทศ
ในระดับสูงสุด
นวัตกรรม 4.0
• ความท้าทายสาคัญที่ประเทศบรูไนกาลังจะต้องเผชิญในอีกราว 25 ปีนับ
จากนี้ คือ การหมดลงของน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติซึ่งเปรียบเสมือน
ขุมทองที่สร้างรายได้เข้าประเทศมาอย่างยาวนาน ดังนั้น สิ่งที่ผู้นา
ประเทศและรัฐบาลบรูไนจาเป็นต้องเตรียมรับมืออย่างเร่งด่วนเพื่อ
ชดเชยกับรายได้จานวนมหาศาลที่กาลังจะหายไปในอนาคต คือ การ
ปรับเปลี่ยนและปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศให้มีความ
หลากหลายมากยิ่งขึ้น (Economic diversification) เพื่อลด
การพึ่งพาน้ามันและก๊าซธรรมชาติสูงอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และช่วย
ให้เศรษฐกิจสามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืนในระยะยาว โดยได้กาหนด
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาประเทศที่มีชื่อว่า "วิสัยทัศน์บรูไน 2578
• รัฐบาลบรูไนมุ่งให้ความสาคัญเป็นลาดับแรกๆ คือ การติดเขี้ยวเล็บและ
สร้างความเข้มแข็งให้แก่ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานทางเลือก รวมไปถึงการพัฒนา
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับภาคเกษตรเพื่อใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ ทั้งป่าไม้ประมง และแร่ทรายขาว ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด รวมทั้งการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล ซึ่งเหล่านี้
ล้วนเป็นสิ่งที่รัฐบาลบรูไนต้องการผลักดันและสร้างรากฐานที่แข็งแกร่ง
เพื่อเป็นหลักประกันในการสร้างความมั่งคั่งและส่งเสริมการเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจในยุคที่ไร้น้ามัน
สิ่งที่โดดเด่น
• Halal Industry Innovation Centre (HIIC) หรือศูนย์
พัฒนานวัตกรรม อุตสาหกรรมฮาลาล ก่อตั้งขึ้นในปี 2556 มี
วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการค้นคว้าวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ฮาลาล
รวมถึงเป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาธุรกิจฮาลาลทั้งในด้านการผลิต
และ logistics ปัจจุบัน HIIC มีความร่วมมือทางวิชาการและการ
วิจัยกับหลายประเทศ อาทิ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และ สหรัฐอเมริกา
• “ฮาลาล” เป็นคามาจากภาษาอารบิก หมายความว่า การผลิต การ
ให้บริการ หรือการจาหน่ายใด ๆ ที่ไม่ขัดต่อบัญญัติของศาสนา ดังนั้น
เราจึงอาจกล่าวได้ว่า “อาหารฮาลาล” คือ อาหารที่ได้ผ่านกรรมวิธีใน
การทา ผสม ปรุง ประกอบ หรือแปรสภาพ ตามศาสนบัญญัตินั่นเอง
เป็นการรับประกันว่า ชาวมุสลิมโดยทั่วไปสามารถบริโภคอาหาร หรือ
อุปโภคสินค้าหรือบริการต่าง ๆ ได้โดยสนิทใจ เราสามารถสังเกต
ผลิตภัณฑ์ว่าเป็น “ฮาลาล” หรือไม่นั้น ได้จากการประทับตรา “ฮา
ลาล” ที่ข้างบรรจุภัณฑ์นั้นเป็นสาคัญ
เอทานอล
• ญี่ปุ่นและบรูไนเปิดตัวโรงงานผลิตเอทานอล ซึ่งเป็นความร่วมมือ
ระหว่างโรงงานมิตซูบิชิแก๊สเคมิคอลกับรัฐวิสาหกิจของบรูไน
โดยผลิตเมทานอลเพื่อใช้ในการผลิตสีและพลาสติก ส่งออกไป
ญี่ปุ่น จีนและอีกหลายประเทศ ซึ่งหวังว่าจะมีส่วนช่วยพัฒนา
อุตสาหกรรมโดยใช้ก๊าซธรรมชาติของบรูไน
• เชื้อเพลิงเอทานอล คือ เอทานอล (เอทิลแอลกอฮอล์)ชนิดเดียวกันกับที่ใช้ทา
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งส่วนใหญ่นามาใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์ ในรูปแบบ
สารเติมแต่งในผลิตภัณฑ์น้ามันเบนซิน เป็นเชื้อเพลิงที่สามารถผลิตได้จากวัสดุ
ทางการเกษตร พืชที่ในการผลิตเอทานอลส่วนใหญ่ได้แก่ อ้อย มัน
สาปะหลัง ข้าวโพด และมันฝรั่ง ปัจจุบันยังมีข้อถกเถียงอยู่เป็นจานวนมาก
สาหรับการใช้เอทานอลเพื่อทดแทนน้ามัน เนื่องจากความกังวลต่อความมั่นคง
ทางอาหารในด้านปริมาณและราคาเพราะต้องนาผลผลิตบางส่วนมาใช้ในการ
ผลิตเอทานอลโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้าวโพด การพัฒนาการผลิตเอทานอลจาก
เซลลูโลส อาจเป็นทางเลือกที่ดีสาหรับอนาคต
อ้างอิง
• https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%A
D%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%AD
%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A5
• http://www.ubu.ac.th/web/files_up/18f2015082611291031.pdf
• https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9
7%E0%B8%A8%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%84%E0%B8%99#.E0.B9.80.E0
.B8.A8.E0.B8.A3.E0.B8.A9.E0.B8.90.E0.B8.81.E0.B8.B4.E0.B8.88
• http://www2.dede.go.th/news_energy/pdf/270553-04.pdf

More Related Content

What's hot

#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดียPpor Elf'ish
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีAnchalee BuddhaBucha
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนguest0299389a
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)Kiat Chaloemkiat
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย Gain Gpk
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 

What's hot (20)

#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 

บรูไน